Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 รร 1 นวัตกรรม บึงบอระเพ็ดวิทยา new

1 รร 1 นวัตกรรม บึงบอระเพ็ดวิทยา new

Description: 1 รร 1 นวัตกรรม บึงบอระเพ็ดวิทยา new

Search

Read the Text Version

รายงานผลงาน ๑โรงเรียน ๑นวตั กรรม ประจาปี ๒๕๖๔ เทคโนโลยีดิจิทลั เพื่อการบริหาร และการจดั การสถานศึกษาท่ีเป็น มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม โรงเรียนบงึ บอระเพด็ วิทยา สงั กดั สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต ๔๒

คาํ นาํ สาํ นักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา ส่งเสริมและกระตนุ้ การพัฒนาวชิ าชพี ทมี่ งุ่ ให้สถานศึกษาทุกสังกัด ที่มกี ารจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและอดุ มศกึ ษาตํา่ กว่าปริญญาตรี ทั้งของรฐั และเอกชน ได้ให้ความสาํ คัญ และตืน่ ตัวในการคิดสร้างสรรค์นวตั กรรมทางการศึกษาทเี่ หมาะสม กับบรบิ ท เป้าหมายการพัฒนา และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานศกึ ษาอย่างแท้จริง โดยใชก้ ระบวนการมีสว่ นรว่ มระหวา่ งผเู้ รียน ครู ผ้บู ริหารสถานศึกษา และทกุ ฝา่ ยท่ีเกีย่ วข้องโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพฒั นา โดยไดด้ ําเนินการคัด สรรผลงาน“หน่ึงโรงเรียน หนึ่งนวตั กรรม”เป็นประจําทกุ ปี ทั้งนี้ เพ่อื ใหไ้ ด้ผลงานนวัตกรรมตน้ แบบท่ีมี คณุ ภาพ มีคณุ ค่าทางวิชาการ และเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา มกี ารถอดบทเรียน ความสาํ เรจ็ ของผลงานนวัตกรรมต้นแบบเผยแพร่ ไปยังสถานศกึ ษา และผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ในรูปแบบตา่ ง ๆ ทห่ี ลากหลาย โรงเรยี นบงึ บอระเพด็ วิทยา พรอ้ มท้งั คณะกรรมการสถานศกึ ษา คณะครูและบุคลากรทางการ ศึกษาตลอดท้งั นกั เรียน เลง็ เห็นความสําคัญของการสง่ เสริมและกระตนุ้ การพฒั นาวชิ าชพี ตลอดทั้ง การคดิ สร้างสรรคน์ วัตกรรมทางการศึกษาทเี่ หมาะสม กบั บริบท เปา้ หมายการพัฒนา และสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของสถานศกึ ษาอย่างแท้จริง โดยได้จัดทําหน่ึงโรงเรยี น หนึ่งนวัตกรรม เร่ืองเทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั เพื่อการบรหิ ารและการจัดการสถานศึกษาที่เปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อม ซ่ึงเป็นรปู แบบการบรหิ าร และการจัดการสถานศกึ ษาทเ่ี นน้ ผลลัพธ์ (Result - Based) อยา่ งเปน็ ระบบ เป็นการบริหารจัดการและ การสร้างภาพลักษณใ์ หม่ (Brand Image) ของหนว่ ยงาน โดยยดึ หลักสมรรถนะ คณุ ธรรม ความฉลาด ทางอารมณ์ ความโปร่งใส ภาวะผนู้ ํา และผนู้ ําการเปล่ยี นแปลงของผ้บู ริหาร ทงั้ น้ีไดจ้ ดั ทาํ เป็นรายงาน เอกสารนําเสนอผลงาน เพ่ือให้สาํ นักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภาพิจารณาต่อไป (นายปญั ญา พรหมบตุ ร) ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นบึงบอระเพ็ดวทิ ยา

สารบญั หนา้ เรอื่ ง ๑ ๒  ข้อมูลท่วั ไป ๓  บทสรุป ๖  ความเปน็ มาและความสาํ คัญ  วัตถปุ ระสงค์ ๖  กระบวนการพัฒนาผลงานหนง่ึ โรงเรยี น หนึ่งนวัตกรรม ๗ ๑๒ ๑. สภาพปัญหากอ่ นการพฒั นา ๑๓ ๒๑ ๒. การออกแบบนวัตกรรมเพ่อื การพัฒนา ๒๑ ๓. ขน้ั ตอนการดําเนินงานพัฒนา ๒๒ ๔. ผลงานทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการดาํ เนินงาน ๒๓ ๕. สรุปสิง่ ท่ีเรียนรูแ้ ละการปรบั ปรงุ ใหด้ ขี น้ึ ๒๔ ๖. การขยายผลและเผยแพร่ผลการพัฒนา ๒๖ ข้อเสนอแนะและแนวทางการพฒั นาอย่างตอ่ เน่อื ง จุดเดน่ หรอื ลักษณะพิเศษของผลงานนวัตกรรม บรรณานกุ รม ภาคผนวก

แบบ นร. ๑ การนําเสนอผลงาน “หนงึ่ โรงเรยี น หนงึ่ นวตั กรรม” ประจาํ ปี ๒๕๖๔ ๑. หน้าปก ประกอบด้วย ๑) ชื่อผลงานหน่ึงโรงเรียน หน่ึงนวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารและการจัดการสถานศึกษาที่ เป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อม ๒) การสง่ ผลงานหนง่ึ โรงเรยี น หนึ่งนวตั กรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ที่ตรงกับผลงาน )  เปน็ ผลงานทไ่ี มเ่ คยส่งเข้ารบั การคดั สรรกบั คุรุสภา เป็นผลงานที่เคยสง่ เข้ารบั การคัดสรรกับคุรสุ ภา ปี ....... เรื่อง ........แตไ่ ม่ได้รับรางวัลของครุ สุ ภา เปน็ ผลงานที่เคยไดร้ บั รางวลั ของคุรุสภาและมกี ารนาํ มาพัฒนาเพม่ิ เติม หรอื ต่อยอดนวตั กรรม (ต้องกรอกแบบ นร. ๒) ๓) ประเภทผลงานหนง่ึ โรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ทีต่ รงกับผลงาน) (เลอื กได้เพยี ง ๑ ดา้ นเทา่ นัน้ ) การจัดการเรยี นรู้ ส่ือและเทคโนโลยเี พอื่ การเรียนรู้  การบริหารและการจดั การสถานศึกษา การส่งเสริมและพัฒนาผู้เรยี นให้เต็มศักยภาพ การวัดและประเมนิ ผล อืน่ ๆ โปรดระบุ ..................................................................... ๔) ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ชื่อผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา (นาย/นาง/นางสาว/อ่นื ๆ) นายปญั ญา นามสกุล พรหมบตุ ร เลขบัตรประชาชน ๓๓๒๐๓๐๐๒๗๗๖๔๖ ตาํ แหน่ง ผ้อู าํ นวยการสถานศกึ ษา วิทยะฐานะ ชํานาญการพิเศษ โทรศพั ท์เคลือ่ นท่ี ๐๙๗๙๒๑๐๑๙๗ E-mail : [email protected] ๕) ผปู้ ระสานงาน  (นาย/นาง/นางสาว/อนื่ ๆ) ภานพุ งศ์ นามสกลุ มลู พรมมี เลขบัตรประชาชน 5601090000109 ตาํ แหน่ง ครู วิทยะฐานะ ชํานาญการ โทรศัพท์เคล่อื นท่ี 081-6445782 .E-mail : [email protected] ๖) คณะผ้รู ่วมพฒั นาผลงานนวัตกรรม ( ครู /นักเรยี น/ผู้ท่ีมสี ่วนเก่ียวข้อง จํานวนตามจริง )  (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ)........................................ นามสกลุ .................................................................. เลขบตั รประชาชน ............................ ตาํ แหน่ง...............................วิทยะฐานะ............................................. โทรศพั ทเ์ คล่อื นท่.ี ...........................................E-mail : ………………………………………………………………………  (นาย/นาง/นางสาว/อนื่ ๆ)........................................ นามสกลุ ................................................................. เลขบตั รประชาชน ............................ ตาํ แหน่ง...............................วิทยะฐานะ............................................. โทรศัพทเ์ คลอ่ื นที.่ ...........................................E-mail : ……………………………………………………………………… ๗) ข้อมลู สถานศึกษา ชอื่ สถานศึกษา บงึ บอระเพ็ดวิทยา เลขท่ี ๑๕ ถนน............................................. ตําบล/แขวง. พระนอน .อาํ เภอ/เขต เมือง จังหวัด นครสวรรค์ รหสั ไปรษณีย์ ๖๐๐๐๐ .โทรศพั ท์ ๐๕๖-๘๘๘๐๗๖๔ โทรสาร ๐๕๖-๘๘๘๐๗๖๔ ๘) สังกัด ๑. สพป. .........................เขต...........  ๒. สพม. เขต ๔๒ จังหวดั นครสวรรค์ ๓. สอศ. ๔. สช. ๗. กศน. ๘. การศกึ ษาพเิ ศษ ๕. กทม. ๖. อปท. ............. ๙. อ่นื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................... หมายเหตุ : กรณุ าบันทึกขอ้ มูลลงใน https://school.ksp.or.th (KSP-School) กรณียังไมไ่ ดส้ มัครสมาชิก หรอื ลืมรหสั เข้าระบบ กรณุ าเผ่ือเวลาอย่างนอ้ ย 3 วนั ทาํ การ เพื่อใหส้ ามารถส่งผลงานไดท้ ัน ภายในวันท่ี ๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔

-๒- ๒. บทสรุป เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการบริหารและการจัดการสถานศึกษาที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาคุณภาพการบริหารและการจัดการสถานศึกษา 2) เพื่อขับเคล่ือนนวัตกรรมการบริหารจัด การศึกษาในสถานศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 3) เพ่ือการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และลดการใช้วัสดุสิ้นเปลืองใน สถานศึกษาอย่างยั่งยืน การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารและการจัดการสถานศึกษาที่เป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อมน้ี โรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยาได้นํามาใช้ในการบริหารและการจัดการในโรงเรียน กับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนของโรงเรียนทุกคน ครอบคลุมทั้งด้านงานวิชาการ ด้านบริหารงาน งบประมาณ ด้านบริหารงานท่ัวไป และด้านบริหารงานบุคคล ผ่านนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีใช้ Google Apps for Education ประกอบด้วย Google appsheet , classroom , Google Forms , Gmail , Drive และ applications ทั่วไปเช่น Zoom, Kahoot , Line Notify , Facebook โดยคํานึงถึงผลกระทบต่อ ส่ิงแวดล้อม และแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งเป็นประเด็นท่ีสําคัญสําหรับโรงเรียนบึงบอระเพ็ด วิทยา ท่ีมีเอกลักษณ์ของโรงเรียน คือ “รักษ์ส่ิงแวดล้อม” พร้อมกันนั้นยังใส่ใจด้านปัญหาส่ิงแวดล้อม และมี นโยบาย “คาร์บอนต่ํา ลดโลกร้อน” โดยการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลประยุกต์ใช้กับการบริหารและการจัดการ สถานศึกษา และนํามาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนทุกระดับช้ันเรียน เป็นแก้ปัญหาในการลดปริมาณ เอกสารในการปฏิบัติงาน ซึ่งการนําเคร่ืองมือส่ือสาร เช่น IPAD หรือ Computer Notebook หรือ Projector ฉายภาพแสดงขึ้นจอในห้องประชุม พร้อมส่งไฟล์เอกสารประกอบวาระการประชุมโดยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ e-mail ตลอดท้ังจัดหา Flash driver หรือ External Hard disk มาจัดเก็บข้อมูลแทนการจัดเก็บแบบ กระดาษแทนนั้น ยังไม่เพียงพอที่จะช่วยให้การบริหารและการจัดการสถานศึกษาประสบความสําเร็จในด้าน ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มมากนัก แต่เม่ือนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพื่อการบริหารและการจัดการสถานศึกษา โดยใช้ Google Apps for Education และ applications ท่ัวไปเช่น appsheet, Kahoot , Line Notify , Facebook พบว่า ระบบการบริหารและการจัดการในโรงเรียนบงึ บอระเพด็ วิทยา ทัง้ ผู้บริหาร ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการ ศึกษา และนักเรียน เกิดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในการทํางานร่วมกัน และมีกิจกรรมการเรียนการสอนใน โรงเรียนอย่างหลากหลาย มีความสะดวกรวดเร็ว ส่งผลให้ครูผู้สอนมีความรู้และทักษะไอซีทีในระดับสูง รวมถึง ความเข้าใจในการพัฒนาการของการใช้ส่ือเทคโนโลยีในการเรียนการสอน ตลอดทั้งมีสมรรถนะด้านไอซีที มี วิสัยทัศน์ก้าวไกล สามารถเป็นผู้แนะนําแก่ผู้เรียนได้ อีกทั้งยังใช้คอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีสารสนเทศเป็น เคร่ืองมือหลักสําคัญสําหรับครูผู้สอนเพ่ือเข้าถึงทรัพยากรการเรียนการเตรียมแผนการสอน ให้การบ้าน และ ติดต่อส่ือสารกับผู้ปกครองนักเรียน ครูผู้สอนคนอื่นๆตลอดถึงผู้บริหารด้วย และท่ีสําคัญการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในการบริหารและการจัดการในสถานศึกษานั้น ยังสามารถช่วยให้ โรงเรยี นประหยัดการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ทีม่ คี วามสนิ้ เปลอื ง การลดการใช้กระดาษอย่างตอ่ เน่ือง การลดการใช้ สารเคมีท่ีเกิดจากปากกาเขียนกระดาน รวมถึงยังสามารถช่วยลดระยะเวลาในการทํางานให้กับครูผู้สอนได้ อย่างดีย่ิงข้ึน ทําให้บริเวณโรงเรียนร่มรื่น สถานที่ทํางานสะอาด และเป็นระเบียบ ลดภาระงบประมาณ โดยรวม เพ่ิมประสิทธิภาพการทํางานภายใน สร้างความสะดวกในการทํางาน สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับสังคม ตลอดท้ังยังช่วยให้เกิดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งช่วยลดโลกร้อนและสามารถเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมใน การทาํ งานโดยลดการใชว้ สั ดุส้ินเปลอื งในสถานศกึ ษาอยา่ งยั่งยนื อีกด้วย

-๓- ๓. ความเปน็ มาและความสาํ คัญ ปัญหาภาวะโลกรอ้ นที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงศตวรรษท่ีผ่านมา ทําให้หลายประเทศให้ความสําคัญ ต่อการลดผลกระทบท่ีเกิดขึ้น ซ่ึงกว่า 90 เปอร์เซ็นต์มาจากก๊าซเรือนกระจก จากการใช้พลังงานถ่านหินและ ฟอสซิล รวมทัง้ การทาํ ลายป่าไม้ซ่ึงเป็นแหล่งสรา้ งสมดุลตามธรรมชาติท่ีสาํ คัญท่ีสุด โดยในความรว่ มมอื ระหวา่ ง ประเทศ ขององค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ UNIDO (United Nations Industrial Development Organization) ไดอ้ อก Green Industry เพ่ือช่วยเหลือประเทศที่กําลงั พัฒนาให้มีความมั่นคง ทางด้านเศรษฐกิจ โดยการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรและใช้แหล่งพลังงานคาร์บอนต่ําเป็นการสร้าง งานใหม่ในขณะท่ียังคงรักษาสิ่งแวดล้อมช่วยให้เข้าถึงเทคโนโลยีสะอาด รวมท้ังนําข้อตกลงด้านส่ิงแวดล้อมไป ปฏิบัติ โดยให้ความช่วยเหลือสนับสนุนด้านเทคนิคและผู้เช่ียวชาญ เพื่อส่งเสริมรูปแบบการผลิตท่ีนําไปสู่การ พัฒนาอย่างยั่งยืน ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศที่มีการใช้พลังงานมากที่สุดได้มีมาตรการชื่อ UCS Blueprint 2030 ทีเ่ น้นการเพมิ่ ประสิทธิภาพการใชพ้ ลงั งาน หรอื Energy efficiency สาํ หรับอาคารบา้ นเรือน สถานประกอบการธุรกิจ และโรงงาน โดยต้ังเป้าท่ีจะยุติการใช้แหล่งพลังงานจากฟอสซิลลงในปี 2030 และใช้ พลังงานหมุนเวียนทดแทน ส่วนกลุ่มสหภาพยุโรปหรือ EU ก็ได้ออกมาตรการท่ีเรียกว่า EMC Factory เพ่ือลด การใช้ทรัพยากรลงในขณะที่ยังคงไว้ซ่ึงการเติบโตทางเศรษฐกิจและเพิ่มการจ้างงาน โดยมุ่งเน้นท่ีการเพ่ิม ประสทิ ธิภาพการใชพ้ ลังงานและทรพั ยากรในการผลิตยานยนต์ รถไฟและเครือ่ งบิน โดยการพัฒนาเทคโนโลยีท่ี ใช้ในกระบวนการผลิต และการออกแบบและบริหารจัดการโรงงานสีเขียว ซ่ึงการทําธุรกิจเพ่ือให้องค์กรอยู่ได้ อย่างย่ังยืนนั้น ต้องคํานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นหลัก ทั้งความรับผิดชอบภายใน อาทิ การบริหาร ความเส่ียง การเตรียมความพร้อม การเพิ่มคุณภาพ การลดต้นทุน การลดของเสีย และกฎหมายท่ีเกี่ยวกับการ ดําเนินธุรกิจ โดยไม่ละท้ิงความรับผิดชอบภายนอกในเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม การ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า การตื่นตัวในการสร้างนวัตกรรม และการสร้างช่ือเสียง (Brand Image) สาํ หรับผลิตภณั ฑ์ท่เี ป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อม การวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์เปน็ ปัจจยั สําคัญในการนําพาประเทศไปส่กู ารเป็น ประเทศ พฒั นาแลว้ ซ่ึงเป็นเป้าหมายในอกี 20 ปี ข้างหน้า โดย คนไทยในอนาคต ต้องเปน็ มนษุ ยท์ ีส่ มบรู ณ์ มคี วามพร้อม ทั้ง กาย ใจ สติปัญญา สามารถเรียนรู้ ได้ตลอดชีวิต มีทักษะในศตวรรษท่ี 21 สู่การเป็นคนไทย ที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกรรม นักคิด และผู้ประกอบการ บนฐานของการรู้คุณค่า ความเป็นไทย มีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย ความรบั ผิดชอบต่อสังคม และมีสุขภาวะท่ีดี ซึ่งการบรรลุเป้าหมายดังกล่าวจําเป็นต้องมีแนวทางการพัฒนาเพื่อ รองรับบริบททาง เศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปโดยต้องมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วง ชีวิต ควบคกู่ ับการปฏริ ูปที่สําคัญทงั้ ในส่วนของการปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม เพ่ือให้ คนมีความดอี ยใู่ น ‘วถิ ’ี การดําเนินชีวิตและมีจิตสํานึกร่วมในการสร้างสังคมที่น่าอยู่ และมีการปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม ในทุก ระดับต้ังแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการ เรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษท่ี 21 มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปล่ียนบทบาทครู การเพ่ิม ประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือพัฒนาผู้เรียน ให้ สามารถกํากับการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับตนเองได้อย่างต่อเนื่องแม้จะออกจากระบบการศึกษาแล้ว รวมถึง พัฒนา ส่งเสริม และรักษากลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษของประเทศให้มีจํานวนเพียงพอ ที่จะผลักดันการเติบโต บนฐานเทคโนโลยีและนวัตกรรมและการปฏริ ูประบบเสริมสรา้ งความรอบร้แู ละจติ สาํ นึกทางสุขภาพ เพือ่ ให้คน ไทยมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะที่ดีได้ด้วยตนเอง พรอ้ มกับการสร้างครอบครัวที่เข้มแข็งอบอุ่นซึ่งเป็นการ วางรากฐานการส่งต่อ เด็กท่ีมีคุณภาพสู่การพัฒนาในช่วงอายุถัดไป โดยการส่งเสริมการเกิดท่ีมีคุณภาพ การ สร้างครอบครัวทเ่ี หมาะสมกบั คนรุ่นใหม่ การพัฒนาสภาพแวดลอ้ มที่เออื้ ตอ่ การสรา้ งครอบครวั อบอนุ่ เขม้ แขง็

-๔- ปัจจุบันรัฐบาลไทย ส่งเสริมการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในทุกด้าน เพ่ือผลักดันสู่ ดิจิทัลไทย แลนด์ 4.0 จึงมีความจําเป็นอย่างย่ิงท่ีโรงเรียนต้องพัฒนาทักษะของนักเรียนท่ีเป็นเยาวชนของชาติในอนาคต ด้านการใช้ไอซีที มาเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยให้บูรณาการความรู้ด้านเทคโนโลยีและทักษะ การจัดการสารสนเทศเพื่อพฒั นาความสามารถในการวิเคราะห์ การแก้ปญั หาและการทาํ งานเป็นทมี อกี ทัง้ ใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง สร้างกลไกเพื่อให้เกิดประโยชน์และมี ประสิทธิภาพสูงสุด เพราะต้องตระหนักว่า ในปัจจุบันนี้เทคโนโลยี Internet of Things (IoT) Internet of Things (IoT) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมอุปกรณ์และเคร่ืองมือต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ รถยนต์ ตู้เย็น โทรทัศน์ และอ่ืน ๆ เข้าไว้ด้วยกัน โดยเครื่องมือต่าง ๆ จะสามารถเชื่อมโยงและ สื่อสารกันได้โดยผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ต ในอนาคตเยาวชนและผู้คนทั่วไปจะเร่ิมคุ้นเคยกับเทคโนโลยีที่ทําให้พวกเขา สามารถ ควบคุมส่ิงของต่าง ๆ ทั้งจากในบ้าน และที่ทํางาน ซ่ึงหากมีทักษะและความเช่ียวชาญ จําทําให้นักเรียนหรือ เยาวชนคิดคน้ นวตั กรรมที่มปี ระโยชน์ต่อชาติอยา่ งมากมาย บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในโลกยุคปัจจุบันได้พัฒนามาถึงขั้นท่ีมีความซับซ้อน และ หลากหลาย จนกระทั่งเป็นเครื่องมือท่ีสําคัญของโลก ของประเทศ ไปจนถึงการใช้ชีวิตประจําวันของ ประชาชน ประเทศไทยมีพัฒนาการในการนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารไปใช้ประโยชน์ อย่าง กว้างขวางและ หลากหลาย ทั้งในการบริหารจัดการและการให้บริการของ ภาครัฐ การใช้ลดต้นทุนและเพ่ิม ประสิทธิภาพในภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม การใช้ในกระบวนการเรียนรู้เพ่ือประโยชน์ ทางด้านการศึกษา ตลอดจนการใชใ้ นภาคประชาสังคมเพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดขี ้ึน โดยการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทขี่ ยายตัวอย่างรวดเร็ว องค์กรตา่ งๆ ทวั่ โลกตื่นตัวและรณรงคใ์ นเรือ่ งการสร้างความตระหนักใน ปัญหาส่ิงแวดล้อม และเพ่ือแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งเป็นประเด็นท่ีสําคัญสําหรับองค์กร รัฐบาลและสังคมท่ีมีความเอ้ืออาทรด้านปัญหาส่ิงแวดล้อม และการใช้วิธีปฏิบัติท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม องคก์ รทุกองค์กรจึงมีความต้องการดําเนินการในใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือตอบสนองความต้องการและ การใช้งานความรับผิดชอบต่อสังคม สอดคล้องกับกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร ได้มีการ กําหนดกรอบนโยบาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554 – 2563 ของประเทศไทย (ICT 2020) ยุทธศาสตร์ “การพัฒนา และประยุกต์ ICT เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม” กําหนดเป้าหมาย ดังนี้ 1) ทุกภาคส่วนในสังคมมีความตระหนักถึงความสําคัญและ บทบาทของ ICT ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมท่ีเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม (ICT for Green) และมีส่วนร่วมใน กระบวนการพัฒนา 2) สร้างสภาพแวดล้อมในการพัฒนา และใช้ ICT ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green ICT) เพอ่ื ลดผลกระทบเชงิ ลบที่มตี อ่ ส่งิ แวดล้อมอันเกิดจากการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ ICT ดว้ ยอัตราท่ีเพิม่ ข้ึนของ การใช้ประโยชน์จากระบบและ เทคโนโลยีสารสนเทศในสถาบันการศึกษา กลายเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาขนาด ใหญ่ของสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้แล้ว จากการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของไอซีทีไม่ว่าจะเป็นด้านของการเรียน การสอนและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตลอดท้ังกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร มี แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมขึ้น เพ่ือใช้เป็น กรอบในการผลักดันให้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นกลไก สาํ คัญในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ ซ่ึงรวมถึงการปรบั เปล่ยี นกระบวนทัศนท์ างความคดิ ใน ทุก ภาคส่วน การปฏิรูปกระบวนการทางธุรกิจ การผลิต การค้า และการบริการ การปรับปรุง ประสิทธิภาพการ บริหารราชการแผ่นดิน และการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน อันจะนําไปสู่ ความม่ันคง มั่งค่ัง และ ยั่งยืนของประเทศไทยตาม นโยบายของรฐั บาลในท้ายท่ีสุด โรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยา ตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อส่ิงแวดล้อม จึงมีความคิดริเริ่มเพื่อส่งเสริม ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการพิจารณา เพ่ือลดภาระ งบประมาณของสถานศึกษา อีกทั้งการบริหารและการจัดการสถานศึกษาของโรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยาน้ัน

-๕- มีภารกิจมากมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และในกระบวนการทํางานน้ัน ต้องใช้วัสดุส้ินเปลืองซ่ึงล้วน ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมทั้งส้ิน โดยมองกิจกรรมการเรียนการสอนของครูและนักเรียนว่า การพิมพ์และการ ใชว้ ัสดสุ ้ินเปลืองนั้น โรงเรียนต้องตระหนัก และพิจารณาผลกระทบของสภาพแวดลอ้ ม ท่ีใช้พลังงาน สิ้นเปลือง การใช้วัสดุส้ินเปลือง ซ่ึงมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมท่ีชัดเจนในแง่ของการใช้พลังงานที่เพ่ิมข้ึน ตลอดทั้งการใช้ งานการพิมพ์(Print) และการใช้วัสดุส้ินเปลืองในโรงเรียนควรได้รับการจัดการและการวางแผนในระยะยาว พร้อมกับการรับรู้ ตระหนัก ของครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยการดําเนินการการพิมพ์และการใช้วัสดุ สิ้นเปลือง แนวปฏิบัติเดิมของโรงเรียนระบุให้ใช้กระดาษให้คุ้มค่าหน่ึงหน้าขึ้นไป โดยคัดแยกเอกสารที่ใช้งาน ไปเพียงหน้าเดียว และจดั ต้ังจุดเก็บกระดาษใช้แล้วหน้าเดียว ในพื้นท่ีส่วนกลาง และประชาสัมพันธ์ให้ทุกคน ในหน่วยงานรับทราบถึงบริเวณ หรือสถานที่ท่ีใช้สําหรับการรวบรวมกระดาษใชแ้ ล้วหน้าเดียว ตลอดท้ังรณรงค์ ให้คนในหน่วยงาน นํากระดาษที่ได้จากการรวบรวม ไปใช้กระดาษหน้าสอง Reused เป็นกระดาษโน้ตหรือ สมุดโน้ต แทนการใช้โพสต์อิท และบันทึกข้อความที่ไม่เป็นทางการหรือบันทึกข้อความท่ีทําเพ่ือ ติดต่อภายใน กลุ่มงานต่างๆ ให้พิจารณานํากระดาษท่ีใช้งานไป เพียงหน้าเดียวมาใช้ นอกจากน้ียังปรับเปล่ียนพฤติกรรม การพิมพ์ เอกสารสําหรับการตรวจสอบ ให้ใช้กระดาษท่ีใช้งานไปเพียงหน้าเดียวมาใช้แทน กระดาษดี และลด ความละเอียดของหมึกลง หลีกเล่ียงการใช้กระดาษปะหน้าโทรสาร ชนิดเต็ม แผ่น และหันมาใช้กระดาษ ขนาดเล็กท่ีสามารถตัดพับ บนโทรสาร ซองเอกสาร สามารถนํากลับมาใช้งานได้อีก โดยให้ ใช้กระดาษท่ีคัด แยกไว้หน้าเดียว นํามาปิดหน้าซองถึง ผู้รับใหม่ได้อีก และมีการคัดแยกประเภทของกระดาษที่ใช้งาน และคัด แยก ประเภทกระดาษขยะ ทุกครั้งก่อนทิ้ง แตถ่ ึงอย่างไรก็ยังต้องใช้วัสดสุ ิ้นเปลืองแต่ละปีการศึกษาเป็นจํานวน มาก และพบว่าเอกสารส่วนใหญ่มีต้นกําเนิดมาจากคอมพิวเตอร์ ใช้โปรแกรมป้อนข้อมูลเอกสาร น่ันคือ เอกสารเกือบทุกชิ้นเคยเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์มาก่อน เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ไฟล์ข้อมูล ข้อความ เวิร์ดโปรเซสเซอร์ อีเมล์ รูปภาพ เสียง หรือระบบมัลติมีเดีย ฯลฯ สามารถส่งผ่านในช่องสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว การเดินทางของคล่ืนสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ใช้ความเร็วเท่ากับแสง การจัดส่งอีเมล์และข้อความบนเครือข่ายมี ต้นทุนโดยรวมถูกกว่าวิธีการอื่น เพราะด้วยกลไกของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนท่ีได้ทําการปรับปรุงให้มี ประสิทธิมากข้ึน ทําให้การส่งเอกสารระหว่างกันทําได้ง่าย การส่งหนังสือเวียนเพ่ือทราบ สามารถทําได้สะดวก นอกจากหนงั สอื เวียนท่ัวไปแลว้ ยงั สามารถสง่ หนงั สือเชิญประชมุ การนดั หมาย การกําหนดการ การส่งรายงาน การประชุมเพ่ือตรวจแก้ไขหรือรับทราบ การทํางานร่วมกันบนพื้นฐานการใช้เอกสารร่วมกัน เป้าหมายเหล่าน้ี ล้วนแล้วแต่สามารถทําได้ และลดการใช้กระดาษได้ทั้งสิ้น ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันยัง สามารถดําเนินการจัดการเอกสารแบบรูปภาพ (document image) กล่าวคือ ถ้ามีเอกสารส่ิงพิมพ์จาก ภายนอกเข้ามาในองค์กร เอกสารช้ินนี้เป็นกระดาษ เราสามารถสแกนเป็นรูปภาพ แล้วจัดส่งเวียนภายใน องค์กรแบบรูปภาพได้ ที่สําคัญการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ทําได้สะดวกข้ึน เพราะการจัดเก็บเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์จํานวนมาก โดยการเวียนลงบนแผ่นซีดี หรือแผ่นดีวีดี ซ่ึงหนึ่งแผ่นสามารถเก็บเอกสารได้เป็น จํานวนมาก อีกทั้งระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ยังลดการใช้ตู้เอกสารที่กินเน้ือท่ี และสิ้นเปลืองการดูแลรักษา อกี ท้ังปัจจุบันได้มี applications ท่หี ลากหลาย สามารถนํามาประยุกต์ใชใ้ นการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา เพ่ือ เปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม ดังนั้นโรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยา จึงเล็งเห็นประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล เพราะมีเป้าหมายที่จะลด การใช้พลังงานและลดการปล่อยคาร์บอนในโรงเรียนและอุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้องในโรงเรียนท้ังหมด ตลอดท้ัง กจิ กรรมการเรียนการสอน และการบริหารจัดการภายในโรงเรียน การเรยี นรู้ในห้องเรียน เป็นต้น โดยโรงเรียน สนับสนุนให้ผู้ที่เก่ียวข้องมีการใช้แอพพลิเคชั่นไอซีที (applications ICT) ร่วมกันเพื่อลดการใช้วัสดุสิ้นเปลือง ตัวอย่างเช่น สนับสนุนการทํางานร่วมกันแบบออนไลน์ เปลี่ยนจากการสอนแบบด้ังเดิมและการศึกษาเพ่ือการ เรียนรู้ท่ีเป็นออนไลน์มากขึ้นแสดงให้เห็นว่าการใช้งานแอพพลิเคชั่นไอซีที (applications ICT) ที่เพ่ิมขึ้นจะมี

-๖- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยลง นอกจากนี้การใช้เทคโนโลยีจะช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนให้เกิด ประสิทธิภาพ โดยสามารถนําเทคนิคและวิธีการท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับผู้เรียน และสามารถตอบสนองความ แตกต่างระหว่างบุคคลได้ดี ตลอดท้ังใช้เป็นสอื่ การเรียนด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถมีสว่ นรว่ มในการทํากิจกรรม ในการเรียนการสอน ให้ส่ิงเร้าด้วยข้อคําถามเพื่อให้ผู้เรียนตอบสนอง มีการเสรมิ แรงต่อการตอบสนองที่ถูกต้อง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นสนใจที่จะเรียนต่อไปผู้เรียนใช้บทเรียนซํ้ากี่คร้ังก็ได้ตามความสามารถและ ความสนใจเป็นหลัก โดยอาศัยศักยภาพของเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยประยุกต์ใช้เพื่อเป็นเคร่ืองช่วยแก้ปัญหา การเรียนการสอน ช่วยสร้างแรงจูงใจให้บทเรียนมีความน่าสนใจย่ิงข้ึน รวมถึงกิจกรรมการสอบในระบบ ออนไลน์ ระบบการบริหารจัดการในโรงเรียนโดยใช้ ICT เป็นองค์ประกอบหลักในการประสานงาน ท้ังน้ี โรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยาได้ประยุกต์ใช้นวัตกรรม Google Apps for Education ในโรงเรียนตั้งแต่ปี การศึกษา 2561 จนถึงปัจจุบัน โดยตระหนักถึงผลกระทบท่ีมีต่อส่ิงแวดล้อม โดยใช้ ICT ท่ีเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบเชิงลบที่มีต่อส่ิงแวดล้อมมาโดยตลอด ซ่ึงปัจจุบันโรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยาเปิด ทําการสอนต้ังแต่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมีนักเรียนทั้งหมด 167 คน จํานวน 7 ห้องเรยี น มขี า้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 17 คน ๔. วตั ถุประสงค์ 1) เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการบริหารและการจัดการสถานศกึ ษา 2) เพื่อขบั เคลือ่ นนวัตกรรมการบริหารจัดการศกึ ษาในสถานศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล 3) เพ่อื การอนรุ ักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม และลดการใชว้ สั ดุส้นิ เปลืองในสถานศกึ ษาอยา่ งย่ังยนื ๕. กระบวนการพฒั นาผลงานหนึ่งโรงเรียน หนง่ึ นวตั กรรม ๑) สภาพปญั หาก่อนการพัฒนา กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนของครูและนักเรียนของโรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยานั้น จําเป็นต้อง ใช้ทรัพยากรในการดําเนินการ เช่นมีการพิมพ์และการใช้วัสดุสิ้นเปลือง เช่น กระดาษ หมึก หรือตลับหมึก เป็น จํานวนต่อปีในมูลค่าสูง ไม่คุ้มค่ากับงบประมาณ ดังนั้นโรงเรยี น จึงพิจารณาลดการใช้วัสดุส้ินเปลือง ลดการซื้อ อุปกรณท์ ี่มีผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมทช่ี ดั เจนในแง่ของการใช้พลังงานท่เี พ่ิมขึ้น จัดการขยะและผลกระทบอ่ืน ๆ ไม่ว่าจะเป็นกระดาษและ วัสดุส้ินเปลืองอื่น ซึ่ง การใช้งานการพิมพ์และการใช้วัสดุสิ้นเปลืองใน โรงเรียนควร ได้รับการจัดการและการวางแผนในระยะยาว พร้อมกับการรับรู้ ตระหนัก ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทกุ คน การดําเนนิ การภายในสาํ นกั งานของกลุม่ บรหิ ารต่างๆ ในโรงเรยี น ประกอบดว้ ย เอกสาร ส่ิงพิมพ์ จาํ นวนมากในทกุ ๆ วนั บนโต๊ะทํางานของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทุกคน มกี ระดาษท่เี ปน็ เอกสารเขา้ ออกอยูต่ ลอดเวลา ส่ิงพิมพ์หรือกระดาษ เอกสารเหลา่ น้ันได้รับการคัดลอก ถ่ายสาํ เนา หรอื ดาํ เนนิ การสง่ ตอ่ ระหวา่ งกนั โดยมีภาระงานท่ีจะเวียนให้ทราบวันละหลายเรอื่ ง แตล่ ะเรือ่ งต้องไดร้ ับการ สาํ เนาและส่งกระจาย ออกไป เพือ่ ใหร้ ับทราบ และปฏบิ ัติ เอกสารบางช้นิ ต้องนาํ เกบ็ รวบรวมไวเ้ ป็นหมวดหมู่ เปน็ แฟม้ เพอื่ การ อา้ งองิ หรอื ใช้งานในวันข้างหนา้ กจิ กรรมการเรยี นการสอนตอ้ งใช้กระดาษในการสําเนาในปริมาณสูงเช่นกัน แม้วา่ โรงเรียนจะไดส้ ง่ เสรมิ ใหค้ ณะครูและบคุ ลากรใชน้ วัตกรรมหรือระบบงานสารบรรณอิเลคทรอนคิ ส์ เพ่ือลด ปริมาณการใชก้ ระดาษ ไดก้ าํ หนดมาตรฐานการเพอ่ื ลดปรมิ าณการใชก้ ระดาษ โดยเน้นการใช้กระดาษ 2 หนา้ และนํากระดาษที่ใชแ้ ล้วมาใช้ซํา้ ในการร่างหนงั สือโตต้ อบต่างๆ หรือใชใ้ นการพิมพ์หนังสอื แจ้งภายในหนว่ ยงาน ใหใ้ ชก้ ระดาษ 2 หนา้ หรอื แบ่งกระดาษใหแ้ ต่ละฝ่ายบรหิ ารจดั การ การถ่ายเอกสารให้แต่ละคร้งั มขี อ้ ตกลง

-๗- รว่ มกันว่าตอ้ งรับผิดชอบในจํานวนการใชก้ ระดาษท่ีเพมิ่ ขึ้นและลดลงของแตล่ ะฝ่าย แตก่ ต็ ้องใชว้ สั ดุส้ินเปลอื ง เป็นจาํ นวนมาก ซงึ่ ตอ้ งใช้งบประมาณเปน็ จํานวนมากดว้ ยเชน่ กัน ๒) การออกแบบนวตั กรรมเพ่อื การพฒั นา กระดาษมีส่วนสัมพันธ์กับชีวิตประจําวันของการทํางาน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นับเป็นผลกระทบของ การใช้วัสดุสิ้นเปลืองที่มีผลตอ่ สิ่งแวดล้อม ยิ่งมีความต้องการกระดาษมากขึ้น จําเป็นต้องตัดต้นไม้หรือถากถาง พื้นที่ป่า เพื่อปลูกต้นไม้โตเร็วสําหรับนําเย่ือไม้มาทํากระดาษมากข้ึนเท่าน้ัน หากแต่ทุกวันน้ีคนไทยใช้กระดาษ เฉล่ียคนละ 60 กิโลกรัม ต่อปี และมีอัตราเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ โดยทั่วประเทศมีความต้องการกระดาษทุกชนิด รวมกันประมาณ 3.25 ล้านตันต่อปี ในขณะที่มีกําลังผลิต 4 ล้านตันต่อปี ซ่ึงในกระบวนการผลิตกระดาษ 1 ตันต้องใช้ต้นไม้มากถึง 17 ต้น ใช้กระแสไฟฟ้ามากถึง 4,100 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง ใช้น้ําถึง 31,500 ลิตร และ ปล่อยคลอรีนท่ีใช้ในการฟอกกระดาษเป็นของเสียกว่า 7 กิโลกรัม น่ันหมายความว่า ในการสนองตอบความ ต้องการใช้กระดาษของคนไทยให้เพียงพอ เราต้องตัดต้นไม้ถึงปีละประมาณ 55 ล้านต้น สําหรับการผลิต กระแสไฟฟ้า 1 กิโลวัตต์ ชั่วโมง จะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 0.71 กิโลกรัมและต้นไม้ 1 ต้นดูดซับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ได้ปีละ 15 กิโลกรัม แม้ว่าความเป็นจริงแล้วเราทุกคนสามารถช่วยกันลดการตัดต้นไม้ รวมทง้ั การใช้นํา้ และพลังงานไฟฟา้ ในการผลติ กระดาษลงได้ ด้วยการนํากระดาษท่ใี ชแ้ ลว้ หมนุ เวียนกลบั มาผลิต เป็นกระดาษใหม่ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ถึงร้อยละ 50 ซึ่งเป็นการช่วยลดปัญหาโลกร้อนไปในตัว รวมท้ังช่วยลดปริมาณขยะในสํานักงาน บ้านเรือนด้วย ท้ังนี้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดท้ังในทาง เศรษฐกิจ ส่งิ แวดลอ้ ม และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ในปจั จุบันด้วยกลไกของเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ ในองคก์ ร ทําให้การสง่ เอกสารระหว่างกันทาํ ไดง้ ่าย การส่ง หนงั สอื เวียนเพ่อื ทราบ สามารถทาํ ไดด้ ้วยการประกาศไว้บนเว็บทเ่ี ป็นเว็บเฉพาะกจิ นอกจาก หนงั สอื เวยี นท่วั ไปแล้ว ยงั สามารถสง่ หนังสอื เชญิ ประชุม การนัดหมาย กาํ หนดการ การสง่ รายงานการประชุม เพ่อื ตรวจแกไ้ ขหรือรบั ทราบ การทํางานร่วมกนั บนพื้นฐานการใช้ เอกสารรว่ มกนั เปา้ หมายเหล่านีล้ ว้ นแล้วแต่ สามารถทําได้ และเป็นการลดการใช้กระดาษไดท้ ้ังสนิ้ ด้วย เทคโนโลยที ่ีก้าวหนา้ อย่างรวดเร็ว ปัจจบุ นั ยัง สามารถดําเนนิ การจัดการเอกสารแบบรปู ภาพ (document image) กล่าวคือ ถ้ามีเอกสารสิ่งพิมพ์จาก ภายนอกเขา้ มาในองคก์ ร เอกสารชนิ้ นี้เปน็ กระดาษ เราสามารถสแกนเป็นรปู ภาพ แล้วจดั สง่ เวยี นภายใน องค์กรแบบรูปภาพได้การจัดเกบ็ เอกสาร อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ าํ ไดส้ ะดวกขึ้น โรงเรียนบึงบอระเพ็ดวทิ ยาได้สร้างความเข้าใจและเตรียมการใหข้ ้าราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา ทุกคน ในองคก์ รตระหนักและหนั มาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใหม้ ากข้ึน ให้มีทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั หรือ Digital literacy ซึ่งหมายถงึ ทักษะในการนาํ เคร่ืองมอื อุปกรณ์ และเทคโนโลยดี จิ ิทลั ทมี่ ีอยู่ใน ปจั จบุ ัน เชน่ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และส่ือออนไลน์ มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ สูงสุด ในการสอื่ สาร การปฏิบตั ิงาน และการทาํ งานร่วมกนั หรอื ใช้เพือ่ พัฒนากระบวนการทํางาน หรอื ระบบงานในองคก์ รใหม้ คี วามทันสมยั และมีประสทิ ธิภาพ โดยทักษะดังกลา่ วครอบคลมุ ความสามารถ ๔ มติ ิ คือ การใช้ (Use) เขา้ ใจ (Understand) การสรา้ ง (create) และเขา้ ถงึ (Access) เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธภิ าพ พรอ้ มลดการใชว้ สั ดุส้ินเปลือง โดยเฉพาะกระดาษลง ดังนนั้ โรงเรียนจงึ ไดป้ รบั เปลยี่ นการสง่ เรอ่ื งแจ้งเพอ่ื ทราบทางจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ e-mail และการใช้ระบบ Scan เอกสารเก็บในรูปไฟล์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ลดการแจกเอกสารในการประชมุ โดยการนาํ เครอื่ งมือสอ่ื สาร เชน่ IPAD หรอื Computer Notebook หรือ Projector ฉายภาพแสดงขนึ้ จอในห้องประชมุ พร้อมสง่ ไฟล์เอกสารประกอบวาระการ ประชมุ โดยจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ e-mail ประยุกต์ใชร้ ปู แบบในการสรา้ งแบบสอบถาม โดยใช้ระบบ Online กจิ กรรมการเรยี นการสอนทุกสาระการเรยี นรูต้ อ้ งมีขอ้ สอบออนไลน์ เพ่ือลดการใช้กระดาษ ตลอดทง้ั จัดหา

-๘- Flash driver หรือ External Hard disk มาจดั เก็บข้อมูลแทนการจดั เกบ็ แบบกระดาษแทน โดยจดุ เดน่ ของ การสร้างสิง่ แวดล้อมท่ีไร้กระดาษในโรงเรยี นบงึ บอระเพด็ วิทยาอีกประการหนึง่ คือ เอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทาํ ให้ สถานทที่ ํางานสะอาด และเปน็ ระเบยี บมากข้ึน ไม่จําเปน็ ตอ้ งมสี งิ่ รกตาปรากฏให้เห็น เมือ่ เอกสารสง่ิ พมิ พเ์ ก็บ ในรปู เทคโนโลยดี ิจิตอล จึงทาํ ใหม้ ขี อ้ เด่นอกี ประการคือ การเรยี กคน้ ทง้ั น้ีเพราะระบบ Search engine ใน ปจั จุบนั สามารถเรยี กค้นได้ทุกคาํ ท่ีเก็บไว้ ระบบบริหารจดั การในโรงเรียนที่ลดการใช้กระดาษจงึ เป็นเป้าหมาย ทสี่ ําคญั ของโรงเรียนที่จะเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการทํางานภายใน ลดคา่ ใชจ้ า่ ยโดยรวม สร้างความสะดวกในการ ทาํ งาน สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดใี หก้ ับสังคม และยังสรา้ งความเจริญก้าวหนา้ ให้กับประเทศชาติอกี ด้วย การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารหรอื เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ในการบริหารการจัดการ สถานศึกษา ทเ่ี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม เป็นความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีและการเปล่ยี นแปลงของความรู้เปน็ ไป อยา่ งรวดเร็วและไมม่ ที ส่ี ิ้นสดุ โดยครูผสู้ อนตอ้ งพฒั นาตนเองเพือ่ ก้าวผ่านเขา้ สู่โลกแหง่ การเรยี นรแู้ บบใหม่ การ ปรบั กระบวนการเรียนการสอนให้สอดคลอ้ งกับพฤติกรรมของผู้เรยี นท่ีเปลี่ยนแปลงไป และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยสี มัยใหม่มาเปน็ เครอื่ งมือกระตนุ้ การเรียนรขู้ องผเู้ รียน นับเป็นความทา้ ทายสาหรับครผู สู้ อนเปน็ อยา่ งย่ิง ในการเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารการจัดการสถานศึกษา ที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม จาก การศึกษาวิจัยของ Gartner พบว่า เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวต้ิง มีแนวโน้มเป็นอันดับหนึ่งของเทคโนโลยี สารสนเทศ (Top IT Technology Trends) ในปี ค.ศ. 2010 และจัดเป็นกลยุทธ์ที่มีศักยภาพสามารถส่งผล กระทบท่ีสําคัญต่อองค์กร และเป็นที่คาดการณ์ว่าในปี ค.ศ. 2015 เทคโนโลยีน้ีจะมีความสมบูรณ์พร้อมใช้งาน อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยการประมวลผลจะเสนอในรปู แบบการบรกิ ารบนพ้ืนฐานการจัดสรรทรัพยากรตามการ ใช้งานจริง ซึ่งเป็นการประมวลผลผ่านระบบออนไลน์ โดยไม่คํานึงถึงเรื่องการจัดการทรัพยากรโครงสร้าง พื้นฐานด้านไอที ทําให้ประหยัดงบประมาณในการลงทุนด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ บุคลากร และยังช่วยลดระยะเวลาในการทํางานและการเรียนรู้ภายในองค์กรหรือสถาบันการศึกษาต่าง ๆ อีก ด้วย ทั้งนี้ การใช้เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติง้ ได้ถูกนํามาใช้สาํ หรับการประมวลผลรวมถึงการจัดสรรทรัพยากร บนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และมีบทบาทสําคัญในการลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม จากการใช้งานด้าน ICT (Green Cloud Computing) ซึ่งหากผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลผ่านเทคโนโลยีดังกล่าวได้อย่างถูกต้อง ดว้ ยพฤตกิ รรมการใชง้ านของผ้ใู ช้ก็จะช่วยให้เป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดล้อมมากขนึ้ เช่นกนั การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสารในการจัดการเรียนการสอนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จึงได้นําเสนอการใช้ Google Apps for Education ซ่ึงเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการศึกษาเป็นเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีช่วยเสริมประสิทธิภาพและประสิทธิผล สําหรับการจดั การเรยี นการสอนในยคุ ดจิ ิทัล และยงั เป็นการใหบ้ รกิ ารทีฟ่ รไี มม่ ีค่าใชจ้ ่าย สามารถทํางานรว่ มกัน ได้ทุกที่ทุกเวลา ทุกรูปแบบของการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในลักษณะของการสร้าง การแชร์ และการแก้ไขข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างตลอดเวลา (Real Time) ภายใต้การจัดเก็บ การรวบรวม และการบันทึก ข้อมูลลงบนเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวต้ิง อีกท้ังยังสามารถใช้งานได้กับอุปกรณ์ท่ีหลากหลาย อาทิ เครื่อง คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต รวมถึงสมาร์ทโฟน โดยมีบริการหลักของ Google Apps for Education ท่ีสามารถใช้ งานร่วมกันได้ คือ Education ได้หลายกลุ่มดังนี้ กลุ่มท่ี 1 บุรุษไปรษณีย์ออนไลน์ (Gmail) โดยให้พนื้ ท่ีสาหรับ จัดเก็บข้อมูลได้ถึง 30GB มีการค้นหาท่ีมีประสิทธิภาพ มีป้ายกํากับและตัวกรองช่วยทําให้ข้อมูลมีระเบียบ กล่องจดหมายไม่ใช่เพียงแค่การติดต่อหรือส่ือสารแบบการส่งข้อความเท่านั้น แต่ยังสามารถส่งได้ทั้งข้อความ เสียง และวิดีโอแชท มีระบบป้องกันสแปมเมลที่ผิดกฎหมาย รวมถึงไม่มีโฆษณาที่สร้างความไม่พอใจให้กับ ผู้ใช้งาน กลุ่มที่ 2 ชั้นเรียนออนไลน์ (Class Room) โดยสามารถให้อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาติดต่อสื่อสาร กันในช้ันเรียน สั่งงาน ติดตามผลงาน ส่งความคิดเห็น ทํางานไปพร้อมกันได้ดียิ่งขึ้นผ่านระบบคลาวด์ และไม่ เปลืองการใช้ทรัพยากรกระดาษของสถาบันการศึกษา กลุ่มที่ 3 การทํางานร่วมกันในเอกสารรูปแบบต่าง ๆ

-๙- โดยให้ผู้สอนและนักเรียนสามารถสร้างและแก้ไขเอกสาร สเปรตชีต และงานนําเสนอได้ในเบราว์เซอร์ของ ผู้ใช้งาน รวมถึงรองรับการทํางานได้หลายคนในเวลาเดียวกัน และการเปล่ียนแปลงท้ังหมดจะถูกบันทึกไว้โดย อัตโนมัติ กลุ่มท่ี 4 พ้ืนท่ีจัดเก็บข้อมูลบนคลาวด์ (Drive) โดยให้ผู้สอนและนักเรียนสามารถบันทึกข้อมูลไว้ใน ไดรฟ์ซ่ึงเก็บข้อมูลได้หลายรูปแบบ อาทิ ข้อความ เสียง และวิดีโอ รวมถึงเข้าถึงข้อมูลได้จากอุปกรณ์ทุก ประเภท และแชร์ข้อมูลให้กับผู้ใช้งานหลายคนได้ทันที โดยไม่ต้องส่งไฟล์แนบหรือรวมไฟล์หลายเวอร์ชันเข้า ด้วยกันอีกต่อไป กลุ่มที่ 5 ปฏิทินนัดหมาย (Calendar) โดยให้ผู้สอนและนักเรียนสามารถสร้างและแก้ไข ปฏิทินนัดหมายร่วมกันได้ผ่านระบบคลาวด์ รวมถึงประยุกต์ใช้ในการกําหนดเวลาเรียน ตารางนัดหมาย และ เชิญบุคคลอื่นเข้าร่วมกิจกรรมตามท่ีกําหนดในปฏิทิน อีกทั้งยังมีระบบจัดการการตอบรับสําหรับผู้ที่ถูกเชิญให้ เข้ารว่ มกิจกรรมตามที่กําหนด กลุ่มที่ 6 การสร้างเว็บไซต์ (Site) พื้นท่ีทํางานใช้แบ่งปันสาหรับช้ันเรียน ผู้เรียน สามารถสร้างเว็บไซต์ของโครงการได้ โดยท่ีไม่ต้องเขียนโค้ดโปรแกรมให้ยุ่งยาก ทํางานได้ง่ายเหมือนการทํา เอกสาร สามารถเปิดใช้งานได้ทุกแห่งผ่านบราว์เซอร์ รวมถึงยังสามารถฝังปฏิทินนัดหมาย (Calendar) แผนที่ (Map) วิดีโอ (Hangouts) สเปรตชีท งานนําเสนอ และอีกมากมายของบริการใน Google Apps ดังน้ัน หาก ครูผู้สอนมีการประยุกต์และเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ีมีการทํางานบนเทคโนโลยีคลาวด์ คอมพิวต้ิงในการจัดการเรียนการสอนข้างต้นแล้ว จะสามารถช่วยให้ครูผู้สอนประหยัดเวลาในการทํางานได้ ด้วยการติดต่อสื่อสารและทํางานร่วมกันในช้ันเรียน อีกท้ังเทคโนโลยีดังกล่าวยังมีความพร้อมในการใช้งานสูง นอกจากน้ีแล้วยังมีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ีใช้สําหรับประเมินผู้เรียนบนอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่าน ระ บ บ เค รือ ข่ าย อิ น เท อ ร์เน็ ต ฟ รีไม่ มี ค่ าใช้ จ่ าย โด ย ค รูผู้ ส อ น ส าม ารถ เข้ าไป ตั้ งคํ าถ าม ได้ ที่ https://create.kahoot.it โดยทําการสมัครสมาชิกเพ่ือเข้าใช้งาน จากน้ันผู้สอนเข้าไปต้ังคําถามต่าง ๆ ตามที่ ต้องการในรูปแบบ 4 ตัวเลือกใน 1 ข้อ โดยสามารถตั้งค่าได้หลายชุดคําถาม ส่วนนักเรียนสามารถเข้าไปตอบ คําถามได้ที่ https://kahoot.it บนอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีนักเรียนใช้งาน โดยการใส่รหัส Game Pin ท่ีปรากฏบน หน้าจอของผู้สอนแสดงให้กับนกั เรียนเห็น จากนั้นใส่ช่ือของนักเรียนทเ่ี ป็นผูต้ อบคําถาม นักศกึ ษาทตี่ อบคาํ ถาม จะต้องอ่านคําถามบนหน้าจอท่ีผู้สอนแสดงให้เห็น ส่วนการตอบคําถามนักเรียนจะต้องตอบคําถามบนอุปกรณ์ ต่าง ๆ ท่ีนักเรียนใช้งานอยู่ในรูปแบบของสัญลักษณ์และสีท่ีเป็น 4 ตัวเลือก เมื่อส้ินสุดการตอบคําถามในแต่ละ ข้อผู้สอนสามารถทราบจํานวนนักศึกษาที่ตอบคําถามถูกและผิดพร้อมทราบคะแนนสะสมในแต่ละข้อ เม่ือ นักเรียนตอบคําถามครบทุกข้อแล้ว ผู้สอนสามารถดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลสรุปผลการตอบคําถามและคะแนน ของนกั เรยี น เพ่ือใช้สาํ หรบั ประเมินผลการเรียนในแต่ละคร้งั ของนักเรียนทีต่ นเองสอนได้ จะเหน็ ไดว้ ่าการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลในการบริหารการจัดการสถานศกึ ษา โดยเฉพาะกิจกรรมการเรยี น การสอนนัน้ สามารถสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดกระบวนการเรียนรแู้ ละเกิดความสนุกสนานในการศกึ ษา ซงึ่ เปน็ สว่ น หน่ึงของการพัฒนานกั เรียนใหม้ ีทักษะ 3R’s ประกอบดว้ ยการอ่าน (Reading) การเขยี น (Writing) และการ คํานวณ (Arithmetic) รวมถึงทกั ษะ 4C’s ประกอบดว้ ยการคิดวิเคราะห์และการแก้ไขปญั หา (Critical thinking and problem solving) ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละมีนวัตกรรมใหม่ (Creativity and Innovation) การส่อื สาร (Communication) และการทาํ งานร่วมกนั (Collaboration) ตามเปา้ หมายการเรียนรใู้ นศตวรรษ ท่ี 21 (21st century Outcome) คอื ทกั ษะชีวติ และการประกอบอาชพี (Life and Career Skills) ทักษะ การเรยี นรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) และทกั ษะดา้ นขอ้ มูลข่าวสาร การส่ือสารและ เทคโนโลยี (Information Media and Technology Skills) ส่วนผสู้ อนจะเปน็ ผู้ให้คาํ แนะนารวมถงึ การชีแ้ นะ กบั นักเรยี นในการค้นคว้าหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรูต้ า่ ง ๆ ควบคูก่ ับการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ นอกจากน้ี การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการบรหิ ารและการจัดการสถานศกึ ษา ยงั สามารถชว่ ย ให้โรงเรยี นประหยดั การใชท้ รัพยากรตา่ ง ๆ ทมี่ คี วามสนิ้ เปลือง อาทิ การลดการใชก้ ระดาษ การลดการใช้ สารเคมที ่เี กดิ จากปากกาเขียนกระดาน การลดคา่ ใชจ้ า่ ยเกีย่ วกับการดแู ลและการบํารงุ รักษาอปุ กรณ์ รวมถงึ ยัง

- ๑๐ - สามารถช่วยลดระยะเวลาในการทํางานให้กบั ผู้สอนไดอ้ ย่างดยี ่ิงข้ึน อย่างไรกต็ ามการเลอื กใชผ้ ลิตภณั ฑ์ ทางดา้ น ICT และการเลอื กใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั นน้ั ถือว่าเป็นความทา้ ทายรปู แบบใหม่ทจี่ ะทําใหผ้ ู้บริหาร สถานศกึ ษารวมถึงผู้สอนเกดิ การปรับเปลย่ี นตัวเองและหาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาใชส้ าํ หรับการจัดการเรียน การสอน รวมถึงการสง่ เสรมิ ดา้ นการกําหนดนโยบาย การสรา้ งความตระหนัก การมสี ว่ นรว่ มของบุคลากร การ ขบั เคล่ือน การติดตามและประเมินผลของโรงเรียนในการรว่ มกนั ผลักดนั ใหเ้ กดิ ความตระหนักของการใช้ ทรพั ยากรภายในสถานศึกษา เพื่อแสดงให้เห็นถึงการมีส่วนรว่ มตอ่ ความรบั ผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อมอย่างยง่ั ยืน ต่อไป การบริหารและการจัดการสถานศึกษา หมายถึงการดาํ เนินงานของกล่มุ บคุ คล ซ่งึ อาจเป็นการ ดาํ เนินงานของผบู้ รหิ ารรว่ มกบั ครูหรือบคุ คลากรในโรงเรยี น อธกิ ารบดหี รอื ผบู้ ริหารร่วมกบั อาจารย์ใน มหาวิทยาลยั รฐั มนตรกี ระทรวงศึกษาธิการร่วมกบั อธบิ ดีกรมต่าง ๆ และครูอาจารยใ์ นสถาบันการศกึ ษาต่าง ๆ ละกลมุ่ บคุ คลเหลา่ น้ตี า่ งรว่ มมอื กนั พัฒนาคนใหม้ คี ณุ ภาพทั้งส้ิน การจะพฒั นาคนใหม้ คี ณุ ภาพไดน้ น้ั จะตอ้ งมี การดําเนนิ การในการเรยี นการสอน การจดั กจิ กรรม การวัดผล การจดั อาคารสถานท่แี ละพัสดุครภุ ัณฑ์ การสรร หาบุคคลมาทาํ การสอนในสถาบนั การศึกษา การปกครองนักเรยี นเพอื่ ใหน้ กั เรยี นเปน็ คนดีมวี ินยั และอน่ื ๆ ซ่งึ การดาํ เนนิ งานเหล่านี้เรียกวา่ “ภาระกิจทางการบรหิ ารการศึกษา” หรือ “’งานบริหารการศึกษา” นั่นเอง โดย มีจดุ มงุ่ หมายเพอ่ื การพัฒนาผู้เรียน การบรหิ ารจดั การในสถานศกึ ษามที งั้ หมด 4 ดา้ น 1) ดา้ นวิชาการ งาน วชิ าการถือได้ว่าเป็นหัวใจสําคญั ของสถานศกึ ษา ตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี ก้ไข เพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545 มุ่งใหก้ ระจายอํานาจในการบรหิ ารจัดการไปยังสถานศึกษา ดว้ ยเจตนารมณ์ที่จะ ให้สถานศึกษาดําเนนิ การต่างๆ ได้อยา่ งอิสระ สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผูเ้ รียน สถานศกึ ษา ชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน สามารถพัฒนาหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้ มีการวดั ผลประเมนิ ผลเพอ่ื ความกา้ วหน้า รวมทง้ั การ พัฒนาคุณภาพนักเรียน ชุมชน ทอ้ งถ่ิน ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 2) ดา้ นงบประมาณ การบรหิ ารงานงบประมาณ ของสถานศึกษามุง่ เนน้ ความเป็นอสิ ระ ในการบรหิ ารจดั การมีความคล่องตวั โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยดึ หลกั การ บริหารแบบมงุ่ เน้นผลสัมฤทธ์ิ และบรหิ ารงบประมาณแบบมงุ่ เนน้ ผลงานให้มกี ารจดั หาผลประโยชนจ์ าก ทรพั ย์สนิ ของสถานศกึ ษา รวมทั้งจัดหารายได้จากบรกิ าร อาจเป็นสหกรณ์ รา้ นคา้ หรอื การจัดตั้งกองทนุ มาใช้ บริหารจัดการเพ่อื ประโยชน์ทางการศึกษา สง่ ผลใหเ้ กดิ คณุ ภาพทีด่ ขี ้นึ ตอ่ ผเู้ รียน 3) ด้านบุคลากร การ บริหารงานบุคคลในสถานศึกษา เป็นภารกจิ สาํ คัญทมี่ ุ่งส่งเสริมใหส้ ถานศึกษาสามารถปฏบิ ัติงานเพือ่ ตอบสนอง ภารกจิ ของสถานศึกษา เพอ่ื ดําเนนิ การด้านการบรหิ ารงานบุคคลให้เกดิ ความรวดเร็ว และคลอ่ งตัว อยา่ งอสิ ระ ภายใต้กฎหมาย ระเบยี บของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาได้รบั การพัฒนาใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ มขี วญั กําลงั ใจ ซึ่งจะสง่ ผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของผู้เรยี นเปน็ สาํ คัญ 4) ดา้ นการ บริหารท่วั ไป การบรหิ ารทัว่ ไปเปน็ งานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการจัดระบบบริหารองค์กร ใหบ้ ริการบริหารงาน อนื่ ๆ บรรลผุ ลตามมาตรฐาน คณุ ภาพและเป้าหมายทกี่ ําหนดไว้ โดยมบี ทบาทหลักในการประสานงานส่งเสริม สนบั สนนุ และการอาํ นวยความสะดวกต่างๆ ในการให้บรกิ ารการศึกษาทกุ รูปแบบ มงุ่ พฒั นาใหม้ กี ารใช้ นวตั กรรมและเทคโนโลยอี ย่างเหมาะสม สง่ เสรมิ ในการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตาม หลักการบรหิ ารงานทีม่ งุ่ เน้นผลสมั ฤทธขิ์ องงานเปน็ หลัก ตลอดจนการมีสว่ นร่วมของบคุ คล ชุมชน และองคก์ ร ทเี่ กี่ยวขอ้ ง เพือ่ ให้การจัดการศึกษามีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล ดังนั้น การพฒั นาการบริหารและการจดั การสถานศกึ ษา มุ่งเนน้ การบริหารงานให้มีประสิทธภิ าพเกิด ประสทิ ธิผลกับภารกจิ งานท้ัง 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นวชิ าการ ดา้ นงบประมาณ ด้านการบริหารท่วั ไป ด้านบุคลากร โดยยึดหลกั การบรหิ ารงานทม่ี งุ่ เนน้ ผลสมั ฤทธิข์ องงานเป็นหลกั และเนน้ การมสี ว่ นร่วมของบคุ คล ชุมชน และ องค์กรทเี่ ก่ียวขอ้ งเพ่ือร่วมกันพัฒนาการศกึ ษา มีจดุ ม่งุ หมายเพือ่ การพฒั นาผูเ้ รียนให้มีคุณภาพ ตลอดทงั้ ให้ สถานศึกษามีการจดั การศกึ ษาทีม่ ปี ระสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผลสงู สุด

- ๑๑ - เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพ่ือการ การบริหารและการจดั การ บรหิ ารและการจัดการ สถานศกึ ษา สถานศึกษาทเ่ี ปน็ มติ รกบั - งานวชิ าการ สิ่งแวดล้อม - งานงบประมาณ - งานบริหารทวั่ ไป - งานบริหารบคุ คล Technology Digital - Google Apps for Education - Google Forms - Kahoot - Line Notify - Gmail , Deep - Data studio - Zoom กรอบแนวคดิ เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพื่อการบริหารและการจดั การสถานศึกษาท่ีเปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม ๓) ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งานพัฒนา โรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยาได้ทําการปรับปรุงพัฒนาระบบเครือข่ายอินเตอร์ทั้งระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wireless LAN) เน่ืองจากต้องอํานวยความสะดวกท้ังต่อคณะครูผู้สอน บุคลากรทางการ ศึกษา และนักเรียนทุกคนในโรงเรียน โดยสามารถให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในโรงเรียนท่คี รอบคลุมพน้ื ท่ีได้ทั่ว ทั้งโรงเรียนมากกว่าระบบ LAN เพราะไม่จําเป็นต้องใช้สายสัญญาณในการเช่ือมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ต และ ลดข้อจํากัดเรื่องจุดเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตแบบเดิมที่เป็นแบบ LAN ท่ีต้องผ่านสายสัญญาณและลดค่าใช้จ่ายใน การจัดซ้ือสายสัญญาณอินเทอร์เน็ตภายในโรงเรียนลงได้อย่างมาก โดยได้ศึกษาถึงการเลือกใช้อุปกรณ์ที่มี คุณภาพและเหมาะสมกับราคาเพียงพอต่อจํานวนนักเรียนท่ีเข้าใช้ในเวลาเดียวกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย ตัดสินใจเลือกใช้โครงการเครือข่ายสารสนเทศเพ่ือพัฒนาการศึกษา (Inter University Network) หรือท่ี เรียกว่า เครือข่าย “UniNet” และของ บริษัท ทีโอที จํากัด พร้อมกันน้ีได้ใช้อุปกรณ์ Mikrotik Router ใน การบริหารสัญญาณอินเตอร์เน็ต โดยได้ดําเนินการดังนี้ 1) ศึกษาพื้นฐานการเช่ือมต่ออุปกรณ์ Mikrotik Router, Router OS การใช้งาน WinBox and MAC-WinBox การใช้งาน WebFig and Quick Set การ ต้ังค่า Default configuration การใช้งานเมนูต่างๆ และการตั้งค่าอุปกรณ์พื้นฐาน การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แบบต่างๆ DHCP Client , Static IP, PPOE การสร้าง Hotspot ให้บริการอินเทอร์เน็ตโรงเรียน การสร้าง User เบ้ืองต้นภายในอุปกรณ์ การใช้งาน Usernam เบื้องต้น การสร้างหน้า Login ,การ์ด Login Account การจัดเก็บ Log ลง syslog Serve การจัดการ DNS และ Firewall และการใช้งานQueues 2) ทํา Hotspot

- ๑๒ - บน MikroTik นําสัญญาณอินเตอร์เน็ตเข้าเป็น BridgeMode มาเข้า MikroTik และ LoadBalance เข้า MikroTik พร้อมทั้ง แจกอินเตอร์เน็ตจาก Port ให้กับ Hub Switch ไปยังตัวกระจายสัญญาณให้กับอุปกรณ์ ตา่ งๆ.ในพ้นื ท่ีให้ครอบคลมุ บรเิ วณโรงเรียน 3) ดําเนินการติดตั้งและตรวจสอบสญั ญาณ 4) ประเมินผลจนเปน็ ท่ี น่าพอใจ ระบบ Login เข้าสูก่ ารใชง้ าน WiFi ในโรงเรียนบงึ บอระเพ็ดวทิ ยา การประยุกต์ใช้ Google Apps for Education เคร่ืองมือที่ให้บริการฟรีของ Google ที่จะนํามาใช้ ในการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ Gmail, Google Voice Search, Google Drive, Google Calendar, Google Docs, Google Site และGoogle Video โดยเลือกใช้เคร่ืองมือให้เหมาะสมกับระบบการบริหาร จัดการภายในโรงเรียนทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีลําดับข้ันตอนการดําเนินการ พัฒนาดังน้ี 1) จัดทําแผนเพิ่มประสิทธิภาพการลดการใช้กระดาษในงานสํานักงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ถึงปัจจุบัน และกําหนดนโยบาย ตลอดทั้งมาตรการลดการใช้กระดาษสําหรับงานสํานักงานถือปฏิบัติร่วมกัน 2) มอบหมายผู้รับผิดชอบในการดําเนินงานตามกิจกรรม 3) สํารวจข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษในปีที่ผ่านมา 4) ดําเนินการตามโครงการ 5) รายงานผลการดําเนินตามโครงการ ส่วนของมาตรการการบริหารและการ จัดการสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมน้ัน ได้ดําเนินการดังนี้ 1) มีการกําหนด นโยบายด้านส่ิงแวดล้อมท่ีมีความชัดเจน และครอบคลุมประเด็นด้านส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ได้แก่ การปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐาน การลดการใช้วัสดุสิ้นเปลือง การใช้อย่างพลังงานประหยัด และการสร้างความรู้ความ ตระหนัก 2) การมีส่วนร่วมของบุคลากรภายในและพ้ืนที่บริเวณโรงเรียนเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ ลดผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อม การพัฒนาระบบบริหารจัดการโดยการประยุกต์ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารและการ จัดการสถานศึกษา ตลอดทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่าน Google Apps for Education โรงเรียนได้ แบ่งวิธีดําเนินการออกเป็น 6 ข้ันตอน ดังต่อไปน้ี 1) ศึกษาทฤษฎี และงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง 2) ร่างกรอบแนวคิด ข้ันต้น 3) กําหนดกลุ่มตัวอย่าง 4) สร้างและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล 5) เก็บรวบรวมข้อมูล และ 6) ปรับปรุงแก้ไขและสรุปผล ซ่ึงมีรายละเอียดดําเนินการ ดังน้ี ข้ันตอนที่ 1 ศึกษาทฤษฏี บทความเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยทําการศึกษาบทความเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับทฤษฎีหรือรูปแบบระบบ บริหารจัดการโดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสังเคราะห์รูปแบบการบริหารและการจัดการสถานศึกษา ดังหัวข้อ ต่อไปน้ี 1) พระราชบัญญัติการศึกษา และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) 2) การบริหารและการจัดการ สถานศึกษา 3) Information Technology และ 4) Google Apps for Education ขั้นตอนที่ 2 ร่างกรอบ แนวคิดการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้การจัดกิจกรรมเป็นฐานผ่าน Google Apps for Education ขั้นตอนท่ี 3 กําหนดกลุ่มประชากรและเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง (Purposive

- ๑๓ - Sampling) โดยใช้กลมุ่ ตัวอย่างที่เป็นครูผู้สอนท่ีชํานาญคอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการสอน และ มีประสบการณ์ทํางานไม่ต่ํากว่า 3 ปี เป็นผู้ใช้นวัตกรรมท่ีประยุกต์จาก Google Apps for Education และ อ่ืนๆ ท่ีสร้างข้ึนมา ข้ันตอนที่ 4 สร้างและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และประเมินความเหมาะสมของ นวัตกรรม โดยใช้แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามหลักของ Likert 5 ระดับ ได้แก่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด ข้ันตอนท่ี 5 เก็บรวบรวมข้อมูล หลังจากครูผู้สอนได้ใช้ และให้ทาํ แบบสอบถามประเมนิ ความคิดเห็น นําคําตอบมาทําการวิเคราะห์ข้อมลู หาค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน ข้ันตอนที่ 6 ปรับปรุงแก้ไขกรอบแนวคิดและสรุปผล ปรับปรุงแก้ไขตามคําแนะนําของครูผู้ใช้และ สรปุ ผลการประเมินความคิดเหน็ พร้อมทัง้ พัฒนานวัตกรรมเพอ่ื นําไปใช้จริงตอ่ ไป ๔) ผลงานทีเ่ กิดขึน้ จากการดําเนนิ งาน 1. ผลงานด้านบรหิ ารวิชาการ โรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยา ได้นําคุณลักษณะที่โดดเด่นของ Google Classroom ซ่ึงเป็นการรวม เอาบริการของ Google ท่ีมีอยู่ อย่าง Drive, Docs และ Gmail เข้ามารวมไว้ด้วยกัน และนําเสนอออกมาเป็น ระบบเดียวแบบครบวงจร เพื่อเป็น เครื่องมือให้ครูผู้สอนได้สามารถใช้ประโยชน์ในการส่ังงานและเก็บรวบรวม ผลงานต่างๆของนักเรียน อีกท้ังยังจะช่วยให้นักเรียนสามารถส่งงานได้ทันทีผ่านทางออนไลน์ ในขณะท่ี ครผู ้สู อนเองก็ สามารถตรวจการบา้ น พร้อมให้ขอ้ เสนอแนะแบบเรียลไทมไ์ ด้อกี ด้วย โดยครผู ู้สอนสามารถสร้าง หน้าห้องเรียนขึ้นมา และเพ่ิม นักเรียนของตนเข้าไปได้เอง หรือจะแชร์โค้ดให้กับกลุ่มนักเรียน เพ่ือให้พวกเขา ทาํ การแอดตัวเองเข้ามาก็ได้ โดยประโยชน์โดยรวมของ Google Classroom มีดงั น้ี 1) คณุ ครสู รา้ งห้องเรียน ออนไลน์ของวิชาน้ัน ๆ ขึ้นมา 2) เพ่ิมรายช่ือนักเรียนจากบัญชีของกูเกิลเข้ามาอยู่ในห้องเรียน 3) คุณครู สามารถนํารหัสผา่ นใหน้ ักเรยี นนาํ ไปกรอกเพอ่ื เข้าหอ้ งเรยี นเองได้ 4) คณุ ครตู ั้งโจทยก์ ารบ้านให้นกั เรยี นทาํ โดย สามารถแนบไฟล์และกําหนดวันส่งการบ้านได้ 5) นักเรียนเข้ามาทําการบ้านใน Google Docs และส่งเข้า Google Drive ของคุณครู 7) คุณครูสามารถเข้ามาดูจํานวนนักเรียนท่ีส่งการบ้านภายในกําหนดแล้วและยัง ไม่ได้ส่งได้ 8) คุณครูตรวจการบ้านของนักเรียนแต่ละคน พร้อมทั้งให้คะแนนและคําติชม ด้วยคุณลักษณะท่ี โดดเด่นของ Google Classroom ดังกล่าว ทําให้ครูผู้สอนได้นําไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนอย่าง หลากหลายโดยประยกุ ตร์ ว่ มกับ Google Forms ภาษาสคริปต์ และ ใช้ Google site ในการควบคมุ ระบบ ใช้ Google Forms และ Google site เปน็ หน้าหลักในการบรหิ ารและจดั การระบบ ระหวา่ ง Admin กับ User

- ๑๔ - ใช้ Google App sheet สร้าง แอพพลิเคชนั่ แนะนาํ โรงเรยี น และสร้างเครอ่ื งมือในการบริหารสถานศกึ ษา ใช้ Zoom ในการประชุมการบริหารจดั การเรียนการสอน 1.1 การนเิ ทศการสอน การนเิ ทศเป็นงานท่ตี ้องเปล่ียนแปลงด้วยระบบองคร์ วม เพื่อนําไปสเู่ ป้าหมายให้เด็กไทยได้เรียนร้ตู ลอด ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ให้ครูเปล่ียนจาก Teaching เป็น Learning และให้สังคมมีส่วนร่วมในการสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ เป็นพลังสําคัญนําไปสู่การเปล่ียนแปลงผู้นําการเปลี่ยนแปลง ทําให้ครูเปลี่ยนวิธีการสอนให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ ด้วยความเข้าใจมากกว่าการจํา และให้ทุกคนมีส่วนร่วม โดยมีเป้าหมายที่คุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษาโดยการเข้าสู่กระบวนการร่วมมอื เพ่อื แกป้ ญั หากับสถานศึกษาและครูอย่างแท้จริง โรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยาเลือกใช้ Google Forms ประยุกต์ใช้งานร่วมกับภาษา script มาเป็น เครื่องมอื และให้ผนู้ ิเทศใช้สมารท์ โฟนในการกรอกขอ้ มูลผลการนิเทศของครูแต่ละคนมายังผรู้ วบรวมข้อมลู ซึ่ง สะดวก รวดเร็ว และประหยดั การใช้วสั ดุส้ินเปลือง และเปน็ ท่นี า่ พอใจอย่างยิ่ง

- ๑๕ - ใช้ Google Forms รว่ มกับ ภาษา script (สครปิ ต์) ในการนิเทศครู และประมวลผลสรุปการนิเทศรายบคุ คล 1.2 กจิ กรรมการเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 เราควรเปล่ียนให้ทุกๆท่ีกลายเป็นโรงเรียน เพราะ การเรียนรู้ยังต้องดําเนินอยู่แม้นักเรียนไม่สามารถไปโรงเรียนตามปกติ การท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศ มาตรการปิดโรงเรียน สํานักงานการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไดอ้ อกมาตรการด้านการเรียนรู้มารองรับ ดว้ ยการ เรียนทางไกลรูปแบบต่างๆ โดยพิจารณาจากเง่ือนไขความพร้อมด้านอุปกรณ์ ความพร้อมของพ่อแม่ และความ พร้อมตามช่วงวัยของเด็ก นอกจากเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีส่วนช่วยเรื่องการเรียนรู้แล้ว เทคโนโลยี สารสนเทศยังเข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยเฉพาะการจัดการศึกษาสมัยใหม่จําเป็นต้องอาศัยข้อมูล ข่าวสารเพ่ือการวางแผน การดําเนินการ การติดตามและประเมินผลเพ่ือช่วยให้กิจกรรมการเรียนการสอนมี ประสิทธิมากขึ้น โดยโรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยาได้จัดทําระบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ในหลากหลาย รูปแบบเพ่ือให้เข้าถึงนักเรียนที่มีศักยภาพการเรียนรู้ที่แตกต่างกันตามวัยและช่วงชั้นของนักเรียนด้วย เช่น Google Classroom , Microsoft , zoom , google meet ใช้ Google Forms , Google Site รว่ มกับ ภาษา script (สครปิ ต์) ในการเชค็ ชื่อนกั เรยี น และสรุปผลการเข้าเรยี น ขาด ลา มาสาย

- ๑๖ - ใช้ Google Forms ร่วมกับ ภาษา script (สครปิ ต)์ ในการสรา้ งใบสมคั รเขา้ เรียนในระบบออนไลน์และจองวชิ าเรียน 1.3 งานวัดและประเมนิ ผล โรงเรียนเลือกใช้ Google Forms , Microsoft Forms , line และเว็บของ Kahoot มาเป็น เครื่องมือ และให้ครูผู้สอนออกข้อสอบ ท้ังสอบก่อนเรียน และทดสอบหลังเรียน พร้อมทั้ง การทดสอบกลาง ภาค การทดสอบปลายภาคในทุกสาระวิชา โดยใช้กับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความพร้อม เก่ียวกับอุปกรณ์สมาร์ทโฟนทุกรายวิชา ตลอดท้ังมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีความพร้อมด้วยเช่นกัน โดยสรา้ งลิงค์ ด้วยระบบ QR code และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี ผลที่ได้สะดวก รวดเร็ว และประหยัดการใช้วัสดุ ส้นิ เปลอื ง และเป็นที่นา่ พอใจอยา่ งยง่ิ ขอ้ สอบวชิ าคณติ ศาสตร์ ขอ้ สอบวิชาการงานอาชพี ข้อสอบวิชาออกแบบเทคโนโลยี ข้อสอบวชิ าเคมี ขอ้ สอบวชิ าภาษาไทย ข้อสอบวิชาภาษาองั กฤษ

- ๑๗ - ข้อสอบวิชาสขุ ศกึ ษา ข้อสอบวชิ าภาษาไทย ขอ้ สอบวชิ าภาษาต่างประเทศ 2. ผลงานดา้ นบริหารงบประมาณ การวางแผนงบประมาณในโรงเรยี นบงึ บอระเพด็ วิทยา มีการบูรณาการระบบ ICT ใหต้ รงกบั ความ ต้องการใน การจดั การบริหารงานงบประมาณและจดั ทํารายงานผลระบบสารสนเทศ นาํ ระบบ e-budgeting เพอ่ื ใช้ในการวางแผนงบประมาณโดยกําหนดให้มีการขอใชเ้ งนิ งบประมาณ ทําการบันทกึ ขอ้ มลู การวางแผน งบประมาณ โรงเรียนเลอื กใช้ Google Forms มาเป็นเครื่องมือในการตดิ ตามขอ้ มลู โดยให้ใชส้ มาร์ทโฟน หรอื คอมพวิ เตอรใ์ นการกรอกขอ้ มลู ของครแู ต่ละคนมายงั ผูร้ วบรวมขอ้ มลู ซึ่งสะดวก รวดเรว็ และประหยดั การใช้วสั ดุสิ้นเปลือง และใช้ adobe Acrobat ใช้ในการระบคุ ําสงั่ มอบหมายงาน ผลเป็นท่นี ่าพอใจอยา่ งยิง่ สรา้ ง certificate ด้วย Google Forms เมอ่ื ครรู ับผดิ ชอบโครงการสง่ แผนงานโครงการครบตามเวลา และใช้ Google Forms สรา้ งระบบทะเบยี นหนังสอื ส่งสาํ หรบั กลุ่มงานในสถานศกึ ษา นาํ Adobe acrobat ในสมารท์ โฟน เกษียนหนังสอื ราชการส่งั การระบบออนไลน์ แลว้ เก็บและแชร์ไฟล์บน driver

- ๑๘ - 3. ผลงานด้านการบรหิ ารงานท่ัวไป โรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยา มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการบริหารจัดการ โดยการบริหาร จัดการเทคโนโลยีด้านต่างๆมาใช้เพื่อการศึกษา ซ่ึงประโยชน์ที่ได้รับคือ ช่วยให้สะดวก หรือง่ายขึ้น และลด ความผิดพลาด สําหรับงานท่ีซับซ้อนยุ่งยากได้ โดยด้านการบริหารงานท่ัวไปนั้น นํามาใช้กับข้าราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนทุกคน เช่นแบบสอบถามในกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน แผนที่เย่ียมบ้าน นกั เรียน การเช็คชื่อเข้าแถวของนักเรยี น การตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน บันทึกการเยย่ี มบ้านนักเรียน การวิเคราะหผ์ เู้ รียนรายบุคคล โดยใช้ภาษา script ร่วมกบั Google Forms และ Line notify เปน็ ตน้ ใช้ Google studio สร้างจุดพกิ ัดบ้านนกั เรียนทุกระดับชั้นเพื่อเปน็ ขอ้ มูลให้ครูวางแผนเย่ยี มบ้าน ใช้ Google Forms ร่วมกบั script (สคริปต์) ออกแบบฟอร์มบนั ทึกเยีย่ มบ้านนักเรียน พร้อมแนบภาพถา่ ย สามารถรายงาน และแปรผลเป็นเอกสาร PDF อตั โนมตั ิ ใช้ Google Forms รว่ มกบั script (สครปิ ต์) สร้างฟอร์ม SDQ (ครู,นกั เรยี น,ผู้ปกครอง) EQ, และแบบประเมิน พฤตกิ รรมพหปุ ัญญาใหค้ รู และแปรผลเป็นเอกสาร PDF อัตโนมตั ิ

- ๑๙ - 4. ผลงานดา้ นการบริหารบคุ คล ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรคโควิด 19 การดําเนินการขับเคล่ือนงานก็ยังต้องดําเนิน ต่อไป นโยบายของรัฐบาลท่ีต้องการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับระบบราชการ โดยปฏิรูประบบราชการ เร่ิมจาก การปรับโครงสร้างหน่วยงานในการบริหารระบบราชการ และมีมาตรการต่าง ๆ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการพัฒนาและบริหารกําลังคนนั้นคือ ข้าราชการซ่ึงเป็นหัวใจสําคัญเป็นพลังผลักดันและขับเคลื่อน การนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT : Information and Communication Technology) เข้า มาใชใ้ นการพัฒนาและบริหารกําลังคนเป็นสิ่งที่จําเป็น และให้ประสิทธิผลในการบริหารจัดการสูง โดยโรงเรียน บึงบอระเพ็ดวิทยาได้นําเทคโนโลยีดิจิทัล มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานบุคคลเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ และ ได้ผลเป็นอย่างดี เช่น ระบบรายงานการสอนออนไลน์ของครู ระบบการเช็คลา ป่วย มาสายหรือไปราชการ ระบบการรายงานการไปอบรม ระบบแจ้งเตือนเวรยามทาง line notify ระบบอวยพรวันเกิดอัตโนมัติ และ ระบบเก็บข้อมูลข้าราชการครูบุคลากรด้วย google appsheet โดยได้ประยุกต์ Google Classroom มาใช้ ในการอบรมและพัฒนาครู ทั้งการให้ความรู้ ตอบปัญหาภารกิจงาน และใช้ google Forms , Line notify, Kahoot ในวาระการประชุมเพื่อซักซ้อมความเข้าใจในวาระการประชมุ อย่างสมํา่ เสมอ ใช้ Kahoot และ Zoom ในการนเิ ทศครูผู้ชว่ ย การจดั การเรยี นการสอน และการประชุมครู ใช้ Google Forms ร่วมกับ ภาษา script (สครปิ ต)์ รายงานการอบรม และ รายงาน PLC แปรผลเป็น เอกสาร PDF อัตโนมัติ

- ๒๐ - ใช้ Google Forms ร่วมกับ script (สคริปต์) ออกแบบใหค้ รทู ั่วประเทศทดสอบความรู้รบั เกยี รติบัตร ใช้ Line Notify ออกแบบแจ้งเตือนเวรยาม เวรประจาํ วัน ปฏิทนิ งานประจําวัน และ แจ้งเตือนวันเกิด ๕) สรปุ สงิ่ ท่เี รยี นรแู้ ละการปรับปรงุ ใหด้ ีข้นึ เมื่อมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้รูปแบบในการสร้างแบบสอบถาม โดยใช้ Google Apps for Education ในระบบ Online กําหนดให้กิจกรรมการเรียนการสอนทุกสาระการเรียนร้ตู ้องมีข้อสอบออนไลน์ เพ่ือ ลดการใช้กระดาษ หรือใช้จัดการในภารกิจงานทุกด้านของการบริหารและจัดการสถานศึกษา พบว่า มีการส่ือสารใน องค์กรที่รวดเร็ว การตอบรับหรือส่งต่อมีประสิทธิภาพอยู่ในลําดับมากท่ีสุด ลดการใช้วัสดุส้ินเปลือง สถานท่ีทํางาน สะอาด และเป็นระเบียบ ลดค่าใช้จ่ายโดยรวมอยู่ในลําดับมาก และเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานภายใน สร้างความ สะดวกในการทํางาน สรา้ งสิง่ แวดลอ้ มทด่ี ีใหก้ ับสังคม เรยี งตามลําดับ องคค์ วามรูท้ ี่ไดจ้ ากการพฒั นาโดยการนําเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในการบรหิ ารและจัดการสถานศึกษา สําหรับการ จดั การเรียนการสอน ได้แก่ 1) ช่วยใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรไู้ ด้เรว็ ขน้ึ 2) ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเข้าใจบทเรยี นเป็นรปู ธรรม 3) ชว่ ยให้ บรรยากาศการเรียนรู้ สนุกสนาน 4) ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ 5) ช่วยลดเวลาในการสอน 6) ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย และองค์ความรู้ท่ีได้จากการพัฒนาโดยการนําเทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารและจัดการสถานศึกษา สําหรับผู้เรียน ไดแ้ ก่ 1) ทําให้ผู้เรียนมโี อกาสใช้ความสามารถของตนเอง ในการเรยี นรูอ้ ย่างเต็มท่ี 2) ผู้เรียนมีโอกาสตดั สนิ ใจเลอื ก เรียนตามช่องทางที่เหมาะกับความสามารถ 3) ทําให้กระบวนการเรียนรู้ง่ายขึ้น 4) ผู้เรียนมีอิสระในการเลือก 5) ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ 6) ทําให้การเรียนมีประสิทธิภาพมากข้ึน 7) ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้

- ๒๑ - มากกว่าเดิมในเวลาเท่ากัน 8) ทําให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทั้งในแนวกว้างและแนวลึก 9) ช่วยให้ผู้เรียนรู้จัก เสาะหาแหล่งการเรียนรู้ 10) ฝึกให้ผูเ้ รยี น คดิ เป็นและสามารถแกป้ ญั หาดว้ ยตนเองได้ ส่วนองค์ความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการ พัฒนาโดยการนําเทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารและจัดการสถานศึกษา สําหรับผู้สอนนั้น ได้แก่ 1) ทําให้ ประสิทธิภาพของการสอนสูงขึ้น 2) ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมได้หลากหลาย 3) ทําให้ผู้สอนมีเวลามากข้ึน จึงใช้ เวลาท่ีเหลือในการเตรียมการสอนได้เต็มที่ 4) ทําให้กระบวนการสอนง่ายข้ึน 5) ลดเวลาในการสอนน้อยลง 6) สามารถเพิ่มเน้ือหาและจุดมุ่งหมายในการสอนมากข้ึน 7) ผู้สอนลดเวลาสอนในช้ันเรียนเพราะบทบาทส่วนหนึ่ง ผู้เรียนทําเอง 8) ผู้สอนสามารถแก้ปัญหาความไม่ถนัดของตนเองได้ 9) ผู้สอนสามารถสอนผู้เรียนได้เน้ือหาที่กว้าง และลกึ ซึ้งกวา่ เดิม 10) งา่ ยในการประเมิน เพราะการใชเ้ ทคโนโลยี มงุ่ ให้ผูเ้ รยี นประเมนิ ตนเองด้วย ปัญหาที่พบในลําดับมากสุด ได้แก่สัญญาณอินเตอร์เน็ตไม่เสถียรในบางเวลา เช่น เวลาเล่นอินเตอร์เน็ต พร้อมๆกันทั้งโรงเรียน หรือ เปิดเว็บไซต์หาข้อมูลต่างๆในกิจกรรมการเรยี นการสอน , ดูคลิป youtube เพ่อื เป็นสอื่ ใน วิชา , เล่น facebook เพ่ือนัดการส่งงาน ตรวจงาน แล้วเกิดอาการเน็ตสดุดขึ้นมา หรือ youtube อยู่ๆ คลิปก็หยุด เล่น ซึ่งโรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยาได้รับทราบและแก้ปัญหาพบว่า เป็นอาการจากสัญญาณของ UniNet หรือ บริษัท ทีโอที จาํ กัด ตวั ใดตัวหน่ึงมีปัญหา แค่ระยะเวลาไม่ถงึ 20 วินาที ดงั นน้ั การทํา LoadBalance ให้ UniNet และ ทีโอ ที กระจายสัญญาณแทนกันเมื่อตัวใดตัวหนึ่งมีปัญหา ได้ผลเป็นอย่างดีและช่วยแก้ไขปัญหาสัญญาณอินเตอร์เน็ตให้ เสถียรขน้ึ ๖) การขยายผลและเผยแพร่ผลการพฒั นา การนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการบริหารและจัดการสถานศึกษาน้ัน ในกระบวนการผลิตและสร้างสรรค์นวัตกรรมแต่ละช้ินไม่ได้ง่ายเลย เพราะมีหลายปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะความรู้ ความเช่ียวชาญด้านเทคโนโลยีที่ต้องประยุกต์ใช้ในแต่ละงาน และวัตถุประสงค์ของงาน ตลอดจนการสรุปและ ประมวลผลข้อมูลที่ได้ รวมถึงความพึงพอใจของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนทุกคน ต้องให้ ความร่วมมือและต้องปรับปรุงพัฒนางานของตนเองให้มีประสิทธิภาพ ตลอดท้ังต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ ถูกต้องและเกิดประโยชน์สูงสุดเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพราะท้ายท่ีสุดแล้วเทคโนโลยีก็เป็นเพียงตัวแปรหน่ึง ของรูปแบบการบริหารและการจัดการสถานศึกษาที่ช่วยอํานวยความสะดวกเท่าน้ัน เม่ือนํามาใช้จริง การประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศใช้เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการบริหารและจัดการสถานศึกษาโดยคํานึงถึงผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม สามารถตอบโจทย์ ท่ีทําให้เห็นว่า การพัฒนาระบบการศึกษาของโรงเรียนบึงบอระเพ็ดวิทยาจะประสบ ความสําเร็จในอนาคต เท่ากับว่าเราสามารถก้าวข้ามทุกอย่างด้วยเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยโรงเรียนได้ ดําเนินการขยายผลและเผยแพร่การพัฒนานวัตกรรมท่ีผลิตขึ้น ด้วยการอบรมเชิงปฏิบัติการให้คณะครูและบุคลากร ทางการศึกษา นําความรู้และทักษะทางเทคโนโลยีดิจิทัลไปผลิตและพัฒนานวัตกรรมขึ้นเองให้ตรงกับรูปแบบการ จดั การเรียนการสอนในสาระวชิ าของตนเอง แล้วนํามาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ด้วยกนั ในชั่วโมง PLC สะท้อนความคิดเห็นใน กลุม่ แลว้ นํากลบั ไปพฒั นาใหม่ เพือ่ ใหน้ วตั กรรมน้นั เกิดประสทิ ธภิ าพกบั จดุ ประสงค์ตรงกับผู้เรียนใหม้ ากทสี่ ุด ๖. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง ผลทีเ่ กดิ จากการนําเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพอ่ื พัฒนาการบริหารและการจัดการสถานศกึ ษา ในโรงเรยี นบงึ บอระเพด็ วทิ ยาครั้งน้ีนับว่าเป็นการยกระดบั เพิ่มขีดความสามารถ ของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการ ศึกษาและนกั เรียน ในการพฒั นาทักษะด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ัล โดยการพฒั นาบุคลากรใหม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะ ใหมๆ่ จนนาํ ไปสูก่ ารพฒั นาเป็นความเป็นเลศิ ทางวิชาการ อีกทงั้ ยงั เป็นการพัฒนาทรพั ยากรการเรียนร้แู บบ ดจิ ิทลั (Digital Content) โดยการบรู ณาการทั้งการบรหิ ารและการจัดการในสถานศกึ ษา รวมกบั การใช้ใน กจิ กรรมการเรยี นการสอนของครู ท่แี ปลงเขา้ สูร่ ะบบดจิ ทิ ลั ในด้านการศกึ ษา เป็นวฒั นธรรมสังคมแห่งการ

- ๒๒ - เรยี นรู้แบบใหม่ ส่งเสริมให้นกั เรยี นทุกคนมที ักษะทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลทนั ยุคศตวรรษท่ี 21 และสามารถพฒั นา ทักษะทางอาชีพที่นักเรียนสนใจในอนาคตอีกด้วย พรอ้ มกนั นปี้ ระโยชนท์ ่ตี ามมานัน้ ทําใหโ้ รงเรยี นมคี ลัง ทรัพยากรสารสนเทศเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมลู และองค์ความรใู้ นรปู แบบดจิ ทิ ัลทขี่ ้าราชการครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา นกั เรียนสามารถเขา้ ถงึ และสามารถเรยี กข้อมูลมาใชห้ รอื นาํ ไปวเิ คราะหต์ อ่ ยอดได้อย่างสะดวก ซึ่งเปน็ ประโยชน์ตอ่ การบรหิ ารและการจัดการสถานศกึ ษา การอํานวยความสะดวก และการส่งเสรมิ สนับสนนุ โดยการสรา้ งแรงจูงใจแก่ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา นกั เรียนอยา่ งเป็นระบบ และเป็นการ ปรับปรงุ ตลอดทงั้ เพิม่ ประสทิ ธิภาพของการบริหารโรงเรียนดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทม่ี ่นั คงตอ่ ไป ข้อเสนอแนะ 1. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาควรไดร้ บั การอบรมในการประยุกตแ์ ละบูรณาการเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลใน กจิ กรรมการเรยี นการสอนไดเ้ พอ่ื สง่ เสริมทกั ษะการคิดอย่างวเิ คราะหแ์ ละสรา้ งสรรค์ 2. ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาควรตดิ ตามพฒั นาการและความกา้ วหนา้ ของไอซีทเี พอ่ื นาํ มาใช้ให้ เป็นประโยชนใ์ นการเรียนการสอนอยา่ งสมา่ํ เสมอ 3. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกสาระการเรยี นรู้ ทกุ รายวิชา ต้องสามารถใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ไดอ้ ยา่ งดี และตอ้ งมวี ิชาท่ีสอนด้วยการบูรณาการไอซีทีดว้ ย แนวทางพฒั นา 1.ต้องใหท้ กุ คนมโี อกาสเขา้ ถงึ ใช้ และเรยี นรูท้ กั ษะเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลในการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพ ชวี ติ ด้วยหลักสตู รพน้ื ฐาน โดยต้องจัดให้ผเู้ รียนทกุ คนมโี อกาสในการใชแ้ ละพฒั นาความรไู้ อซที ใี นทกุ สาระวิชา และเพ่ิมโอกาสให้ผู้เรียนมกี ารใช้ไอซีทีใหม้ ากขึ้น อีกท้งั กระบวนการเรียนการสอนตอ้ งไม่จดั เฉพาะในชั้นเรยี น เท่านัน้ ผู้เรียนควรมโี อกาสสัมผสั โลกภายนอกผ่านเครือข่ายไอซที ี การรู้เทคโนโลยีดจิ ิทลั และมีการพัฒนาการ ของทศั นคติทด่ี ีต่อเทคโนโลยีดิจิทัลตามความตอ้ งการของแต่ละคน 2. ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาต้องกระตุน้ ใหผ้ ูเ้ รยี นพฒั นาคณุ คา่ ทศั นคติ และจรยิ ธรรมในเชงิ บวก ในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัลซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตและกระบวนการคดิ อยา่ งวเิ คราะห์ 3. ผู้เรียนตอ้ งพัฒนาทักษะการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั เป็นเครอ่ื งมือในการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ โดยผู้เรยี น ตอ้ งบรู ณาการความรู้ดา้ นเทคโนโลยีและทกั ษะการจัดการสารสนเทศเพอ่ื พัฒนาความสามารถในการวเิ คราะห์ การแก้ปญั หาและการทํางานเปน็ ทีม อย่างไรกต็ าม การเลอื กใช้เทคโนโลยีดิจิทลั ในยคุ การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควดิ 19 ถือว่าเป็น ความทา้ ทายรปู แบบใหม่ทที่ าํ ใหโ้ รงเรยี นบงึ บอระเพด็ วทิ ยาเกดิ การปรับเปลีย่ นตัวเองและหาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาใช้สําหรบั การบริหารและการจัดการเรยี นการสอน รวมถึงการส่งเสรมิ ดา้ นการกําหนดนโยบาย การสร้าง ความตระหนกั การมีส่วนรว่ มของบคุ ลากร การขบั เคลอ่ื น การติดตามและประเมินผลของโรงเรยี นในการ ร่วมกันผลกั ดันใหเ้ กดิ ความตระหนกั ของการใช้ทรพั ยากรภายในโรงเรียน เพื่อแสดงใหเ้ ห็นถงึ การมีสว่ นรว่ มตอ่ ความรับผดิ ชอบตอ่ สงิ่ แวดล้อมอย่างยั่งยนื ต่อไป ๗. จดุ เด่น หรือลักษณะพเิ ศษของผลงานนวัตกรรม ข้อคน้ พบจากการนาํ เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพือ่ พฒั นาการบริหารและการจดั การสถานศกึ ษา พบว่าจดุ เด่น หรอื ลกั ษณะพเิ ศษของนวตั กรรมน้ี คือ ทําใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมในการทาํ งานของโรงเรยี นอย่าง หลากหลายมีความสะดวกรวดเรว็ ส่งผลใหค้ รผู สู้ อนมคี วามรู้และทกั ษะไอซที ีในระดบั สงู รวมถึงความเขา้ ใจใน

- ๒๓ - การพัฒนาการของการใช้ส่ือเทคโนโลยีในการเรยี นการสอน และมสี มรรถนะด้านไอซที ี มีวิสยั ทศั น์ก้าวไกล สามารถเปน็ ผแู้ นะนาํ แกผ่ ู้เรยี นได้ นักเรียนทกุ คนมที ักษะการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั เขา้ กบั การศกึ ษาในยคุ ศตวรรษ ท่ี 21 อีกทั้งใช้คอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ เครอ่ื งมอื หลกั สาํ คญั สาํ หรบั ผสู้ อนเพ่ือเข้าถึง ทรัพยากรการเรยี นการเตรยี มแผนการสอน ใหก้ ารบ้าน และตดิ ต่อสอื่ สารกบั ผปู้ กครองนักเรียน ผูส้ อนคนอ่นื ๆ ตลอดถงึ ผบู้ รหิ ารดว้ ย และที่สําคญั การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทลั ทเี่ ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มเพือ่ การบรหิ าร และการจัดการในสถานศกึ ษาน้นั สง่ ผลให้โรงเรียนบงึ บอระเพด็ วทิ ยาได้รบั “รางวลั โรงเรียนคารบ์ อนตํา่ สู่ ชมุ ชนในระดบั ประเทศ ประจําปี 2563” จากการไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทยรว่ มกบั สํานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน และยงั สามารถช่วยให้โรงเรยี นประหยัดการใชท้ รัพยากรตา่ ง ๆ ทีม่ คี วาม ส้ินเปลือง มกี ารลดการใชก้ ระดาษอย่างต่อเน่อื ง การลดการใชส้ ารเคมที เ่ี กดิ จากปากกาเขียนกระดาน รวมถึง ยังสามารถชว่ ยลดระยะเวลาในการทาํ งานใหก้ บั ผูส้ อนไดอ้ ย่างดยี ง่ิ ขน้ึ สถานทีท่ ํางานสะอาด และเป็นระเบยี บ ลดคา่ ใช้จา่ ยโดยรวม เพ่มิ ประสิทธภิ าพการทํางานภายใน สรา้ งความสะดวกในการทาํ งาน สร้างส่งิ แวดล้อมท่ดี ี ใหก้ ับสงั คม ตลอดทง้ั ยงั ชว่ ยใหเ้ กิดการอนรุ กั ษส์ ิง่ แวดล้อม และการประหยดั พลงั งานในสถานศึกษาและชมุ ชน อย่างย่งั ยนื อีกดว้ ย ๘. บรรณานกุ รม จารุมน หนคู ง. กรีนไอซที ี แนวทางสสู่ ถาบันการศึกษา เพอ่ื การลดคาร์บอน . บทความ.วารสารการ อาชวี ะและเทคนคิ ศกึ ษา ปีท่ี 4 ฉบบั ท่ี 8 กรกฎาคม – ธันวาคม คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา,2557. ธณฐั ชา รัตนพนั ธ์. การพัฒนารปู แบบการเรียนรแู้ บบรว่ มมือโดยใช้การจดั กิจกรรมเปน็ ฐานผา่ น Google Apps for Education .บทความ. การประชมุ วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภูเก็ต ครงั้ ท่ี 3 .การบรู ณาการงานวิจัยไทยเชอื่ มโยงกับเครือข่ายสงั คมอาเซยี น, 2557 . เพชราวลยั ถิระวณฐั พงศ์และคณะ. การพัฒนาบทเรยี นอิเล็กทรอนกิ ส์ เร่ือง การใชน้ วตั กรรม Google Apps. for Education สําหรบั นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตร.ี บทความ.วารสารแมโ่ จ้เทคโนโลยี สารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ ปีที่ 1 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม – มถิ นุ ายน . คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ,2558. ณัฐพล ธนเชวงสกุล และคณะ. การจัดการเรยี นการสอนในสถาบันอุดมศกึ ษากบั การใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารทเ่ี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม . บทความ. วารสารครศุ าสตร์ อุตสาหกรรม ปที ี่ 15 ฉบบั ท่ี 1 เดอื นมกราคม - เมษายน . คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2559. แนวทางการจดั การเรียนการสอนด้วย GOOGLE CLASSROOM . http://oho.ipst.ac.th/google-classroom-learning-approach/.เขา้ ถึง. 8 มกราคม 2564. แผนพัฒนาสู่ \"ดิจิทลั ไทยแลนด์\" พาประเทศสคู่ วามมัง่ คงั่ และมนั่ คง . https://www.blognone.com/node/89878. เขา้ ถงึ . 8 มกราคม 2564. หมายเหตุ : ผลงานที่ส่งต้องไม่เป็นผลงานท่ีลอกเลียน หรือนําผลงานส่วนใดส่วนหนึ่งของผู้ท่ีมีลิขสิทธิ์ไว้แล้วมาใช้ โดยไม่ได้รับอนุญาต แบบ นร. ๒หากมีผู้ร้องเรียน หรือสํานักงานเลขาธิการคุรุสภาตรวจสอบพบภายหลังก็ดี ผลงานนั้นจะไม่ได้รับการคัดสรร หรือหากได้รับรางวัลไปแล้ว รางวัลนั้น จะต้องถูกเพกิ ถอน และมอี นั ตกไป

ภาคผนวก

๒๕ รายงานการเข้าเรยี นของนกั เรยี นทุกระดับช้นั ในรูปแบบ Datastudio   งานบุคคล สร้าง Application เชค็ ช่อื ครแู ละบคุ ลากร และให้แจ้งเตือนผู้บริหารโดย Line Notify                                                                                

๒๖   ระบบเครือขา่ ยในโรงเรียน และระบบควบคุมการใชง้ าน Application ขอ้ มลู สารสนเทศท่ีได้เพอ่ื ใชใ้ นการบรหิ ารจัดการในชน้ั เรยี น

โรงเรยี นบึงบอระเพ็ดวิทยา สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 42