46 จากการพัฒนาครแู ละบุคลากรใหค้ วามเชี่ยวชาญทางอาชพี ส่งผลใหม้ ีครู และบคุ ลากรได้รบั รางวัล ยกย่องเชิดชเู กียรติ ในระดับชาติ ระดบั จังหวดั ระดบั เขตพื้นทีก่ ารศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 ดังนี้ 1) รางวลั ครูดีในดวงใจ 2) รางวัลครูดศี รีระยอง 3) รางวลั ครแู กนนำที่มคี วามตั้งใจชว่ ยนกั เรยี น ผูป้ กครองให้งดเหล้า เบียร์ 4) รางวัลคาราวะครผู สู้ ร้าง ผนู้ ำทางชีวิต 5) รางวัลรางวลั โรงเรียนคาร์บอนตำ่ สชู่ มุ ชน (ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าทีบ่ า้ นนักเรยี น) 6) รางวัลครูแกนนำทม่ี คี วามตง้ั ใจชว่ ยนักเรยี น ผูป้ กครองใหง้ ดเหลา้ เบยี ร์ 7) รางวัลครทู งี่ ดเหล้า เบียร์ครบพรรษา 8) รางวลั ครูดีไม่มอี บายมขุ 9) รางวัลครผู ูฝ้ กึ ซอ้ มนกั เรียนในกจิ กรรมการแข่งขนั ทักษะทางวชิ าการ ท้งั น้ี ประเมินโดยครู บคุ ลากร ผู้ปกครองนักเรยี น โดยพิจารณาจากตวั ชี้วัดความสำเรจ็ ได้แก่ สถานศึกษาสง่ เสรมิ สนบั สนุน พัฒนาครู บคุ ลากรใหม้ คี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชพี จัดให้มีชุมชนการเรยี นรู้ ทางวิชาชพี มาใชใ้ นการพฒั นางาน และการเรียนรู้ของผูเ้ รยี น คิดเป็นร้อยละ 89.18 (สูงกวา่ คา่ เปา้ หมาย ร้อยละ 80) 5. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออ้ื ต่อการจดั การเรยี นร้อู ย่างมคี ณุ ภาพ โรงเรยี นบ้านมาบตาพุดจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพทัง้ ภายในและภายนอกห้องเรียน และ สภาพแวดล้อมทางสงั คม ที่เอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้ และมีความปลอดภยั มกี ารกำหนดนโยบายอนุรักษ์ ส่งิ แวดลอ้ มและประหยัดพลังงาน จัดแสดงป้ายนเิ ทศแสดงข้อมูลช้นั เรียน ความรทู้ ี่เหมาะสมตามระดับช้ัน ผ้เู รียนมสี ่วนรว่ มในการดูแลรักษาความสะอาดสภาพแวดล้อมด้วยกจิ กรรม 5ส ทั้งภายในห้องเรียน และภายใน บริเวณโรงเรียนโดยจัดแบ่งเขตพน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบทุกระดบั ชั้น มกี ารจัดทำแหล่งเรียนร้แู ละซ่อมแซมปรับปรงุ แหล่งเรยี นรใู้ ห้คงสภาพทผ่ี เู้ รียนสามารถเรยี นรไู้ ด้ แตง่ ตั้งคณะกรรมการฝ่ายสถานท่ีประจำอาคารเพ่ือ ตรวจสอบ ซ่อมแซมปรบั ปรงุ ใหม้ คี วามปลอดภยั มีการนเิ ทศ ติดตามการเตรียมความพร้อมหอ้ งเรยี น 2 ครั้ง ต่อ 1 ปกี ารศกึ ษา เพ่ือการจดั สภาพแวดลอ้ มและสงั คมท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ ทง้ั นี้ ประเมินโดยครู บุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน โดยพิจารณาจากตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็ ได้แก่ การจัด ห้องเรียนและแหล่งเรยี นรทู้ ่ีสะอาด และม่นั คงแขง็ แรงปลอดภัยทุกแหง่ การมีสว่ นร่วม ปฏสิ มั พนั ธ์ในการ บรหิ ารจัดการ และการใชบ้ ริการดา้ นสภาพแวดล้อม และแหลง่ เรียนรู้ โดยครู บคุ ลากร นักเรยี น ไดเ้ ขา้ ร่วม โครงการและกจิ กรรมตามแผนปฏบิ ัติการประจำปี และที่บรรลผุ ลตามเป้าหมายที่ตัง้ ไว้ และโครงการจาก หนว่ ยงานภายนอกทสี่ นบั สนุนส่งเสรมิ ไดแ้ ก่ โครงการปรับปรงุ ภูมทิ ัศนแ์ ละแหลง่ เรยี นรู้ โครงการจดั ซอ้ื วัสดุ คุรภุ ัณฑ์ทางการศึกษาคิดเปน็ รอ้ ยละ 91.37 (สูงกว่าคา่ เป้าหมายร้อยละ 80)
47 6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการเรียนรู้ โรงเรยี นบา้ นมาบตาพุดจัดระบบการจัดหา การพฒั นาและการบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ ในการบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรียนรูท้ เี่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา ไดด้ ำเนินโครงการ และกิจกรรมตามแผนปฏบิ ัติการประจำปี เพ่ือให้ผ้เู รียนได้ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการเรยี นรู้ มีการใชร้ ะบบ ออนไลน์ เป็นช่องทางหน่ึงในการวดั และประเมนิ การเรียนรู้ทส่ี ามารถประมวลผล เช่ือมโยงข้อมลู สารสนเทศ ด้วยความสะดวก รวดเร็ว เป็นสอ่ื อำนวยความสะดวกให้ครใู นการจัดการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ จดั ให้มีแหล่งศกึ ษา ค้นควา้ ข้อมลู ทางอนิ เตอร์เน็ต สัญญาณอินเตอร์เน็ตอยา่ งทั่วถงึ ทกุ ห้องเรยี น จัดหางบประมาณ โครงการ จากชุมชน หน่วยงานภายนอกใหม้ ีส่วนร่วมจัดการเรียนรู้ด้วยการพัฒนาห้องเรยี นใหเ้ ปน็ หอ้ งเรยี นคุณภาพ ดว้ ยคุรภุ ณั ฑ์เทคโนโลยที างการศกึ ษา มีการตรวจสอบ ปรับปรุงซอ่ มแซมให้มคี วามเหมาะสมกับการใชง้ าน ของสถานศกึ ษา โครงการและกิจกรรมท่สี นับสนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ โครงการพัฒนาศกั ยภาพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร โครงการที่ได้รับสนบั สนนุ จากชมุ ชน หน่วยงานภายนอก ทส่ี นบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การ เรยี นรูด้ ้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ได้แก่ โครงการจากบริษัท SCG, กลุ่ม ปตท. ท้ังนี้ ประเมนิ โดยครู บุคลากร ผูป้ กครองนักเรียน โดยพจิ ารณาจากตัวช้ีวัดความสำเร็จ ได้แก่ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ การเชื่อมโยงเครือข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ และการใหบ้ ริการ คดิ เปน็ ร้อยละ 89.04 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 80) ข้อมูล หลักฐาน และเอกสารสนับสนนุ 1. แบบประเมินตามตัวชว้ี ัดมาตรฐานที่ 2 2. แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ 4 ปี 3. แผนปฏิบตั ิการประจำปีการศึกษา 4. ประกาศการใชม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ค่าเป้าหมายความสำเรจ็ ระดับปฐมวัยระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน และการศกึ ษาพิเศษ 5. สรปุ ผลความพงึ พอใจของครูและผู้เกย่ี วข้องในการพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา 6. BMTP Model 7. ขอ้ มูลสารสนเทศเกย่ี วกับสภาพชุมชน วุฒิการศกึ ษาสูงสุดของบุคลากร สาขาวิชาท่จี บ 8. แบบประเมินและสรุปผลการประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษา 9. หลักสตู รสถานศกึ ษา/โครงสร้างหลักสูตร 10. แผนการจดั การเรยี นรู้ทั้ง 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 11. บันทกึ การนเิ ทศและตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 12. บนั ทกึ การนิเทศการเรียนการสอนและตรวจเย่ียมช้ันเรียน/ปฏทิ นิ การนิเทศ 13. รายงานผล และสรุปผลการปฏบิ ัตงิ านของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
48 14. รายงานผลการจดั กิจกรรมชมุ ชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพครู (PLC) ทั้ง 8 กลมุ่ สาระ 15. รางวัลยกย่องเชิดชูเกยี รติครู 16. ทะเบยี นข้อมูลการผลติ และการใชส้ อื่ นวัตกรรมผ้เู รยี น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การวิจยั ในชนั้ เรยี นและการใช้แหลง่ เรียนร้ภู ายในและภายนอกโรงเรียน 17. โครงการและกจิ กรรมตามแผนปฏิบตั ิการประจำปี แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพให้ดขี ้นึ 1. พัฒนาวธิ ีการยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผเู้ รียนที่เหมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษา ม่งุ เนน้ ใหน้ ักเรียนเห็นถึงความสำคัญของการดสอบระดับชาติ 2. จัดระบบอินเทอรเ์ น็ต เพื่อการบริหารจัดการในสถานศกึ ษาเพ่ิมข้นึ เช่น การวางระบบการดูแล นักเรยี น การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผปู้ กครองเพ่ือการสร้างความร่วมมือในการดแู ลนักเรยี น 3. ดา้ นการพัฒนาสื่อนวตั กรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ควรมีการวิเคราะห์ความจำเป็นในการใช้ ส่อื เทคโนโลยีเพ่ือการจัดการเรยี นการสอน ผลติ พัฒนาส่ือนวตั กรรมการเรยี นการสอน รวมทั้งประเมินคุณภาพ ส่อื และเลอื กใชส้ ่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม และทันสมยั 4. พฒั นาระบบการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา แลกเปล่ยี นเรียนรปู้ ระสบการณ์การจดั ระบบการนเิ ทศ ภายในกบั สถานศึกษาอืน่ หรือเครือข่ายการนเิ ทศภายในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ระดับคณุ ภาพดีเลศิ วิธกี ารพัฒนา/ผลที่เกดิ จากการพัฒนา สถานศึกษาจัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ ริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั ของ หลักสูตรสถานศกึ ษา มแี ผนการจัดการเรียนรทู้ ่ีสามารถนำไปจดั กิจกรรมการเรียนรู้ไดจ้ ริง มีความเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับบริบทสถานศึกษา ท้องถิ่น ผเู้ รยี นได้เลือกเรยี นตามความถนัดและความสนใจ และสามารถ นำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวันได้ ครมู ีนวตั กรรมในการจัดการเรียนรู้ ครูใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และ แหลง่ เรยี นรู้ รวมทงั้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ โดยสรา้ งโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนได้แสวงหาความรูด้ ้วย ตนเอง ครมู ีกระบวนการตรวจสอบ และประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ ใชเ้ ครื่องมือ และวธิ กี ารวัดและ ประเมินผลทเ่ี หมาะสมกบั เป้าหมายในการจดั การเรยี นรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และนำผลมาพฒั นา ผเู้ รียน ครูมกี ารบริหารจดั การชน้ั เรยี นเชงิ บวก เดก็ รกั ท่จี ะเรยี นรู้ และเรียนรรู้ ่วมกนั อยา่ งมคี วามสขุ ครจู ัดทำ ชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับ เพ่ือพฒั นาและปรับปรุง การจัดการเรียนรู้
49 ขอ้ มูลหลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์สนบั สนนุ 1. จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ ผ้เู รยี นไดร้ ับการจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ดั ของหลกั สตู รสถานศึกษาท่เี นน้ ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรูโ้ ดยผา่ นกระบวนการคิด และปฏบิ ัตจิ รงิ มีแผนการจดั การเรยี นรทู้ ีส่ ามารถนำไปจัดกจิ กรรม ไดจ้ รงิ มีรูปแบบการจดั การเรยี นรเู้ ฉพาะสำหรบั ผ้ทู ม่ี คี วามจำเป็นและต้องการความช่วยเหลอื พิเศษ ผู้เรียน ไดร้ บั การฝึกทักษะ แสดงออก แสดงความคิดเหน็ สรปุ องค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไป ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ โดยมกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนรูต้ ามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชีว้ ัดของหลักสูรสถานศึกษาเนน้ ใหผ้ เู้ รยี น ได้เรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ ไดแ้ ก่ การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ท่ีไดร้ ับการพฒั นาแผนการจดั การเรยี นรู้ บันทึกหลงั การสอน โดยใช้ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนท้งั 8 กลุ่มสาระการเรยี นรใู้ นทุกระดับชนั้ และมีการจัดกิจกรรมพัฒนา ผเู้ รยี น ประกอบดว้ ย ชมุ นมุ ลูกเสือเนตรนารี ชุมนมุ เศรษฐกิจพอเพยี ง ชมุ นมุ ขยบั กายสบายชวี ี และชมุ นมุ รกั ษ์ ไทย นิยมไทย โดยใหผ้ ู้เรียนไดล้ งมอื ปฏิบัติกจิ กรรมผ่านการเรยี นรู้แบบเชิงรุก (Active Leaning) เน้นกระบวนการเรยี นรู้มากกว่าเนอ้ื หาวชิ า โดยร่วมกนั วเิ คราะห์หลกั สตู ร จดั ทำแผนการจดั การเรียนรูต้ าม มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชีว้ ดั ของหลกั สตู รสถานศึกษา โดยจัดกระบวนการเรียนรทู้ ี่หลากหลาย ครรู อ้ ยละ 100 มีการจดั ทำวิจยั ในช้นั เรียนเพอื่ พฒั นาการเรยี นการสอน ผู้เรียนได้รับการฝกึ ทกั ษะ แสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้ โดยสงั เกตจากการ นเิ ทศการเรยี นการสอน การประชุม PLC บันทึกหลงั การสอน อกี ทั้ง มกี จิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลมุ่ จัดข้นึ เพ่ือพฒั นาผเู้ รียนใหไ้ ด้รับ การฝึกทักษะ แสดงออก แสดงความคดิ เหน็ สรปุ องค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ น ชวี ติ ได้ ได้แก่ โครงการรกั ษ์วฒั นธรรมไทย โครงการส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ทางดา้ นกฬี า ศิลปะ ดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทยและวงโยธวาทติ โครงการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย กจิ กรรมยกระดับ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย (ห้องเรียนบริบาล) กิจกรรมบัญชีคำพน้ื ฐาน กจิ กรรม วนั สุนทรภู่ กจิ กรรมวนั ภาษาไทย กจิ กรรมจัดทำใบงานตามตัวช้วี ดั โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ กจิ กรรมคิดเลข เร็วดว้ ยโปรแกรม GSP กิจกรรมการแข่งขันเวทคณติ กจิ กรรมการแข่งขัน A-MATH กิจกรรมการแข่งขนั อัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ กจิ กรรมการแข่งขนั Sudoku กจิ กรรมเสรมิ ศักยภาพคณติ ศาสตร์ NT กิจกรรม พฒั นาศักยภาพการคดิ คำนวณ โครงการโครงการยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กจิ กรรมสัปดาหว์ ิทยาศาสตร์ กิจกรรมสง่ เสรมิ ทักษะกระบวนทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรยี น ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1-6
50 โครงการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กิจกรรมจดั ทำแบบฝกึ ใบงานและแบบทดสอบตามตวั ช้ีวดั วิชาสงั คมศึกษา โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ กิจกรรม บญั ชคี ำศพั ทพ์ นื้ ฐาน สำหรบั นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 กจิ กรรมเสนอคำศัพท์ กิจกรรม Active English ท้งั น้ี ประเมนิ โดยครู บุคลากร ผู้ปกครองนักเรยี น โดยพจิ ารณาจากตัวช้ีวดั ความสำเร็จ ได้แก่ จดั กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามมาตรฐานการเรยี นรตู้ ัวช้ีวดั ของหลักสรู สถานศกึ ษาเน้นใหผ้ ูเ้ รียนได้เรียนรู้ผา่ น กระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ มแี ผนการจัดการเรียนรู้ทส่ี ามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง มรี ปู แบบ การจดั การเรยี นรู้ท่ีเหมาะสมกบั สาระวิชาและผเู้ รียน ผเู้ รียนได้รบั การฝึกทักษะ แสดงออก แสดงความคิดเห็น สรปุ องคค์ วามรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้ คดิ เปน็ ร้อยละ 90.05 (สงู กว่าค่าเป้าหมายรอ้ ยละ 80) 2. ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ่เี อ้อื ต่อการเรยี นรู้ ครูผ้สู อน และผู้เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ไดม้ ีการใช้สอ่ื เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมท้งั ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ มาใช้ในการจดั การเรียนรู้โดยสร้างโอกาสให้ผเู้ รียนได้แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจากส่อื ท่ีหลากหลาย โดยผเู้ รียนไดใ้ ช้สือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรผู้ ่านการเรียนรู้ จากการเรียนการสอนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ดงั นี้ 1) ครผู สู้ อนร้อยละ 100 สามารถผลติ สอื่ และใชส้ อื่ การสอนจากครูผสู้ อนทั้ง 8 กลุ่มสาระ การเรยี นรอู้ ย่างน้อย เดือนละ 1 ช้ินงาน สอื่ การสอนมีความสอดคลอ้ งกับกจิ กรรมการเรยี นรู้ ประกอบด้วย บตั รคำ บตั รภาพ แผนภาพ รูปภาพ วดี ีโอ เกม แบบฝึกทักษะ ใบงาน ใบความรู้ เป็นตน้ 2) ครูผู้สอนออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ จัดทำแผนการเรียนร้เู พื่อสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี นรู้ จากแหล่งเรียนร้ทู ห่ี ลากหลาย ทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา มีการมอบหมายงานให้ผ้เู รียนไดศ้ กึ ษา คน้ ควา้ จากศูนยข์ ้อมูลสารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้ และสง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยเี พื่อการเรียนรู้ เชน่ หอ้ งสมดุ ห้องคอมพิวเตอร์ ปา้ ยนิเทศ ครผู ู้สอนมกี ารใช้คอมพวิ เตอร์ เครื่องฉายบรรยายความรู้ และชมวดี ที ศั น์ จากห้องเรียนคุณภาพทกุ ห้องเรียน 3) มีหอ้ งปฏิบตั กิ ารสำหรบั ใหน้ ักเรียนได้ทดลอง ปฏบิ ตั กิ าร ได้แก่ หอ้ งปฏบิ ัติการ วทิ ยาศาสตร์ หอ้ งดนตรีไทย ห้องศิลปะ ห้องคอมพวิ เตอร์ ฐานการเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง 4) มีการจดั หาสอื่ นวัตกรรมทท่ี ันสมัยตามหลักสตู ร ได้แก่ การผลิตและใชส้ ่อื เทคโนโลยี ทางการศกึ ษา เช่น การใช้ระบบอินเทอร์เนต็ ในการสืบคน้ ขอ้ มูล สื่ออปุ กรณป์ ระจำห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร์ ผเู้ รยี นได้รบั การจดั การเรียนรู้จากบริบทและภูมปิ ญั ญาของทอ้ งถน่ิ มาบรู ณาการในการจัดการ เรียนรู้ ได้แก่
51 1) กจิ กรรมการถนอมอาหารไข่เค็ม 2) กิจกรรมสานปลาตะเพียน 3) กจิ กรรมประดิษฐ์เครือ่ งหอมจากมะกรูดใบเตย 4) กิจกรรมภาษาถ่นิ ระยอง ท้ังน้ี ประเมินโดยครู บุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน โดยพจิ ารณาจากตวั ชี้วดั ความสำเรจ็ ได้แก่ การใชส้ ่อื นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรู้ การนำบรบิ ทและภูมปิ ญั ญาของท้อถิ่นมาบรู ณาการในการ จัดการเรียนรู้ คดิ เปน็ ร้อยละ 88.63 (สงู กว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 80) 3. มีการบรหิ ารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก ครผู ้สู อนมีการจัดช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1-6 มกี ารจัดบริหารจดั การชนั้ เรยี น โดยเน้นการมีปฏิสมั พนั ธ์ เชงิ บวก ใหเ้ ด็กรกั ครู ครูรักเด็ก และเด็กรกั เด็ก เด็กรักทีจ่ ะเรยี นรู้ สามารถเรียนรู้ร่วมกนั อยา่ งมีความสขุ โดยการจดั ทำเอกสารในช้ันเรียนทเี่ ป็นระบบ ถูกต้องและครบถ้วนผ่านการตดิ ตามในทุก 1 เดอื น มีการวิเคราะห์ข้อมูลนกั เรยี นรายบุคคล และนำผลไปออกแบบการจดั การเรยี นการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความตอ้ งการ และสภาพบรบิ ทของนกั เรยี น มกี ารดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ โดยมี การติดต่อสอ่ื สารกับผปู้ กครองนกั เรียนในหลากหลายชอ่ งทาง เช่น โทรศพั ท์ Facebook การจดั ตง้ั กลุ่ม Line และการประชมุ ผู้ปกครอง เพื่อแลกเปลยี่ นข้อมลู ทเ่ี กยี่ วข้องกบั นกั เรยี นอย่างต่อเน่ือง ครูทุกคนดำเนินการเย่ียม บา้ นนักเรยี นในความรบั ผดิ ชอบปกี ารศึกษาละ 1 ครั้ง มกี ารจัดทำข้อมลู พื้นฐานของนักเรยี นเป็นรายบุคคล มีการบริหารจดั การช้นั เรยี นด้านสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมการเรยี นรู้ มีการจดั ปา้ ยนิเทศ แหล่งเรียนรู้ นทิ รรศการเผยแพรค่ วามรู้ในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ และทุกชัน้ เรียน สร้างบรรยากาศให้ผเู้ รยี นเรยี น อยา่ งมีความสุข ครผู ู้สอนจัดกระบวนการเรยี นรู้ หรอื กจิ กรรมทีเ่ นน้ ปฏิสัมพนั ธ์ ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี น ใฝ่เรียนรู้ มวี ินยั และเรียนรู้ได้อย่างมีความสขุ ทัง้ น้ี ได้มกี ารจดั การนิเทศช้นั เรยี น และนเิ ทศการเรียนการสอน รวมถงึ ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ในทุกระดับช้ัน และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่อื นำผลการนเิ ทศ มาปรบั ปรุง และพัฒนาตามความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของผูน้ ิเทศต่อการการจัดการเรียนการสอนให้มี คุณภาพ 2 คร้ังต่อ 1 ปีการศึกษา ผลการนิเทศชั้นเรียน และการจดั การเรยี นการสอนของครทู ุกกลุ่มสาระ การเรียนรูอ้ ยู่ในระดับ ดเี ยยี่ ม ทง้ั นี้ ประเมนิ โดยครู บุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน โดยพิจารณาจากตัวช้ีวัดความสำเรจ็ ได้แก่ การบรหิ ารจดั การชั้นเรียนดา้ นสภาพแวดลอ้ ม ท่ีสง่ เสรมิ การเรียนรู้ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ หรอื กจิ กรรม ท่ีเนน้ ปฏิสมั พันธ์ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นใฝเ่ รียนรู้ มีวนิ ัย และเรียนรู้ได้อยา่ งมคี วามสุข คิดเป็นร้อยละ 89.73 (สงู กว่า ค่าเปา้ หมายร้อยละ 80)
52 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น ครผู ู้สอนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1-6 มกี ารตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการจัดการเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ มขี นั้ ตอนโดยใชเ้ คร่อื งมือ และวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลที่เหมาะสมกบั เป้าหมายในการจดั การ เรียนรู้ และให้ข้อมูลยอ้ นกลับแกผ่ เู้ รยี น เพื่อนำไปใชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ มีการออกแบบการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผูเ้ รียนอย่างเป็นระบบ แบ่งสดั สว่ นของการ ประเมินทชี่ ดั เจน ครูใช้เครอ่ื งมือวัดผลและประเมนิ ผลทเี่ หมาะสมกับการประเมนิ (K, P, A) โดยมกี ารประเมนิ นกั เรียนจากสภาพจริง และขั้นตอนตรวจสอบและประเมนิ อย่างเป็นระบบ มีเครื่องมือวัดและประเมินผลทม่ี ี คณุ ภาพ ไดแ้ ก่ แบบทดสอบ แบบประเมินและคำอธิบายคุณภาพครอบคลุมทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ มีการนำ ผลการเรยี นมาปรับปรงุ พัฒนาการสอนอา่ งต่อเนอื่ ง ใชร้ ะบบวดั และประเมินผลด้วยคอมพิวเตอรเ์ พือ่ ความ ถูกต้องแม่นยำ ผ่านระบบออนไลนเ์ พ่ือให้เกดิ ความคล่องตัวในการวัดผลและประเมินผล มีการให้ข้อมลู ย้อนกลบั แกน่ กั เรียน หลงั จากการวดั ผลและประเมนิ ผล นอกจากนค้ี รผู ูส้ อนทุกกล่มุ สาระ และทกุ ระดบั ชนั้ ได้จัดทำวิจัยในชนั้ เรยี น เพื่อศึกษาและพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นดว้ ยเทคนิควิธกี าร นวตั กรรม แบบฝกึ 2 เรื่องต่อ 1 ปกี ารศึกษา เพ่อื นำผลการวิจัยไปใช้พฒั นาผู้เรียนต่อไป ทงั้ น้ี ประเมินโดยครู บุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน โดยพิจารณาจากตวั ชีว้ ัดความสำเรจ็ ได้แก่ การประเมนิ นักเรียนจากสภาพจรงิ และขน้ั ตอนตรวจสอบ และประเมินอย่างเปน็ ระบบ การใชเ้ ครื่องมือ และวิธีการวดั และประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสม การให้ข้อมูลย้อนกลบั แก่นักเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 89.68 (สงู กว่าค่าเปา้ หมายร้อยละ 80) 5. มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละให้ข้อมลู ป้อนกลับ เพ่อื ปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และผู้มสี ่วนเก่ยี วข้องร่วมกนั แลกเปล่ียนความรู้ และประสบการณ์ รวมทั้งใหข้ ้อมูลป้อนกลับ เพ่ือนำไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนรู้ โดยจดั กิจกรรมชมุ ชน การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC) ในทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ จดั ให้ครูผสู้ อนทุกคนได้มสี ว่ นเป็นครูผ้สู อน (Model Teacher) และครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และประสบการณ์ นำความ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะไปพัฒนาการจดั การเรยี นร้ใู ห้ดขี นึ้ นอกจากน้ีครูทุกคนได้รบั การพัฒนาความรู้ ท่ีตรงกบั ความตอ้ งการของตนเองและสถานศึกษา ท้งั น้ี ประเมนิ โดยครู บคุ ลากร ผู้ปกครองนักเรยี น โดยพิจารณาจากตวั ชว้ี ัดความสำเรจ็ ได้แก่ กจิ กรรม ชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) การปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 89.59 (สูงกวา่ คา่ เปา้ หมายร้อยละ 80) ข้อมูล หลักฐาน และเอกสารสนบั สนนุ 1. แบบประเมนิ ตามตัวชวี้ ัดมาตรฐานที่ 3 2. แผนการจัดการเรียนรู้ 3. เคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผลผเู้ รยี นโปรแกรมวดั ผลและประเมนิ ผลออนไลน์ 4. ทะเบยี นข้อมลู ชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC) 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
53 5. ทะเบยี นข้อมลู การผลติ และการใชส้ ่ือ นวัตกรรมผูเ้ รียน 8 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การวิจยั ในช้นั เรียน และการใชแ้ หล่งเรยี นรภู้ ายในและภายนอกโรงเรียน 6. โครงการและกิจกรรมตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี 7. ผลงาน/ชิ้นงานนกั เรยี น แนวทางการพัฒนาคุณภาพใหด้ ขี นึ้ 1. พัฒนาครูให้ทำนวตั กรรมการสอนผา่ นการวิจยั ในช้ันเรียน เพ่ือนำผลของงานวจิ ยั ไปพัฒนา การเรียนการสอนให้มีประสทิ ธิภาพยง่ิ ขน้ึ และมีการเผยแพร่ 2. พัฒนาการนิเทศการสอนโดยมงุ่ เนน้ ให้ครูผสู้ อน จดั การเรยี นรูแ้ บบเชิงรกุ (Active Learning) เน้นกระบวนการเรยี นรู้มากกว่าเน้ือหาวิชา โดยรว่ มกนั วิเคราะห์หลกั สูตร จัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวช้ีวดั 3. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ มีการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน หลากหลายเหมาะสมกับผเู้ รียนกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และคดิ สร้างสรรค์ รูจ้ กั ศกึ ษา หาความร้แู สวงหาค้าตอบ และสรา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง 4. น้าภูมิปญั ญาท้องถ่ิน เทคโนโลยีและสอ่ื ทเ่ี หมาะสมมาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรียนการสอน เพมิ่ ข้นึ
54 สว่ นท่ี 3 สรปุ ผลการประเมนิ และแนวทางการพฒั นา
55 สว่ นท่ี 3 สรุปผลการประเมนิ และแนวทางการพัฒนา ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคั ญที่สถานศึกษาจะต้องนำไป วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อสรุปนำไปสู่การเชื่อมโยงหรอื สะท้อนภาพความสำเร็จกบั แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา ของสถานศึกษา และนำไปใชใ้ นการวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ดังน้ันจากขอ้ มูล การดำเนินงานของสถานศึกษาและผลจากการดำเนินงาน จงึ สามารถสรปุ เปน็ จุดเด่น จดุ ควรพัฒนา ของแตล่ ะมาตรฐาน พรอ้ มท้งั แนวทางการพัฒนาในอนาคตและความต้องการความช่วยเหลือ ดังนี้ สรุปผล ระดบั ปฐมวยั จดุ เดน่ 1.คุณภาพของเด็ก เดก็ ระดบั ปฐมวัย โรงเรียนบา้ นมาบตาพุด มนี ำ้ หนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคลอ่ื นไหว ร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตวั ได้ดี ใชม้ อื และตาประสานสัมพันธไ์ ดด้ ี ดแู ลรกั ษาสุขภาพอนามยั สว่ นตนและ ปฏิบัติจนเป็นนิสยั ปฏิบัตติ นตามข้อตกลง เกีย่ วกับเดก็ สนทนาโต้ตอบ และเล่าเร่อื งใหผ้ ู้อื่นเขา้ ใจ ตั้งคำถามใน ส่งิ ท่ตี นเองสนใจหรือสงสยั และพยายามคน้ หาคำตอบ อา่ นนิทาน และเลา่ เรื่องทตี่ นเองอา่ นได้เหมาะสมกับวยั มีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ลทาง คณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ การคิดแกป้ ญั หา และสามารถตดั สนิ ใจในเร่ืองง่าย ๆได้ สรา้ งสรรคผ์ ลงานตามความคดิ และ จินตนาการ เปน็ เคร่อื งมือ ในการเรียนรู้ และแสวงหาความร้ไู ด้ ทเ่ี สี่ยงอันตราย เด็กร่าเรงิ แจ่มใส แสดงอารมณค์ วามรู้สกึ ได้เหมาะสม รจู้ กั ยับย้งั ช่ังใจอดทนในการรอคอย ยอมรบั และพอใจ ในความสามารถและ ผลงานของตนเองและผอู้ น่ื มจี ิตสำนกึ และคา่ นิยมทดี่ ี มีความมั่นใจ กล้าพูดกล้าแสดงออก ช่วยเหลอื แบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หนา้ ท่ี รับผิดชอบอดทนอดกลั้น ซอื่ สัตยสจุ ริต มีคุณธรรมจริยธรรมตามทีส่ ถานศึกษากำหนด ชื่นชมและมีความสุข กับศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหวตามจงั หวะ เด็กชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบัติกจิ วัตรประจำวัน มวี นิ ยั ในตนเอง ประหยดั และพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรกั ษาสงิ่ แวดล้อมในและนอกห้องเรียน มีมารยาท ตามวัฒนธรรมไทย ยอมรับหรอื เคารพความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เช่น ความคิด พฤติกรรม พ้นื ฐานครอบครัว เชอื้ ชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น เล่นและทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้ 2.กระบวนการบริหารและการจดั การ โรงเรียนบ้านมาบตาพุดมหี ลักสูตรสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ทม่ี คี วามยืดหยุ่น และสอดคล้อง กับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2563 โดยการจัดประสบการณท์ ่ีเตรยี มความ พร้อมและไมเ่ รง่ รดั วิชาการเน้นการเรยี นรผู้ า่ นการเล่นและการลงมือปฏิบตั ติ อบสนองความต้องการความ แตกตา่ งของเดก็ ปกติ และกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะสอดคลองกับวิถีชวี ติ ของครอบครวั ชุมชน และท้องถ่นิ จดั ครูให้ เหมาะสมกบั ภารกิจการเรยี นการสอนอย่างพอเพยี งกับชั้นเรยี นพัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความรู้ความสามารถ ในการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบหลักสตู รสถานศกึ ษา มที ักษะในการจดั ประสบการณแ์ ละการประเมนิ พฒั นาการ ใชป้ ระสบการณส์ ำคญั ในการออกแบบการจดั กิจกรรมมีการสงั เกตและประเมินพฒั นาการเดก็ เป็นรายบคุ คล
56 มีปฏิสัมพันธท์ ด่ี กี ับเดก็ และครอบครัว มกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกห้องเรียนทค่ี ำนึงถึง ความปลอดภัย ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการเรยี นรูเ้ ป็นรายบคุ คล และกลุ่ม เลน่ แบบรว่ มมือรว่ มใจ มีมมุ ประสบการณ์ หลากหลาย มีส่ือการเรียนรู้ เชน่ ของเล่น หนังสอื นทิ าน สื่อจากธรรมชาติ สื่อสำหรบั เด็กมุด ลอด ปืนปา่ ย ส่ือเทคโนโลยีสถานศกึ ษาอำนวยความสะดวก และให้บริการสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ วสั ดุและอปุ กรณ์ เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาครู 3.การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสำคัญ โรงเรียนบ้านมาบตาพุดจดั ให้มีการวเิ คราะหข์ ้อมลู เดก็ เปน็ รายบุคคล จัดทำแผนการจัด ประสบการณโ์ ดยการวเิ คราะหม์ าตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคใ์ นหลักสตู รสถานศึกษา มีกิจกรรมทีส่ ง่ เสริม พฒั นาการเด็กครบท้งั 4 ดา้ น ไมม่ งุ่ เนน้ การพฒั นาด้านใดด้านหนึ่งเพยี งดา้ นเดยี ว ครจู ดั ประสบการณท่ี เช่ือมโยงกบั ประสบการณ์เดิมให้เด็กมีโอกาสเลอื กทำกิจกรรมอยา่ งอิสระ ตอบสนองการเรียนร้ขู องเด็กเป็น รายบคุ คล ห้องเรียนสะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีปา้ ยแสดงผลงานเด็ก มุมประสบการณ์และพน้ื ท่ีใน การจัดกิจกรรม เด็กมีสว่ นรว่ มในการจดั สภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรียน เชน่ ปา้ ยนิเทศ มุมประสบการณ์ ครใู ชส้ ื่อ และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั ชว่ งอายุ ระยะความสนใจและวิธีการเรยี นร้ขู องเดก็ เชน่ กลอ้ ง ดิจติ อล คอมพิวเตอร์สำหรับการเรียนรกู้ ลุ่มย่อย สอื่ ของเลน่ ที่กระตุ้นใหค้ ดิ และหาคำตอบ มกี ารประเมนิ พัฒนาการ เด็กจากกิจกรรม และกจิ วตั รประจำวันด้วยเคร่ืองมอื และวิธีการทีห่ ลากหลาย ไม่ใช้แบบทดสอบ วเิ คราะหผ์ ล การประเมนิ พฒั นาการเดก็ โดยผู้ปกครอง และผ้เู ก่ยี วของมีส่วนรว่ ม และนำผลการประเมนิ ท่ไี ด้ไปพัฒนา คุณภาพเด็ก และแลกเปลีย่ นเรยี นรู้การจดั ประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพ จดุ ควรพฒั นา 1. คุณภาพของเดก็ จดั กจิ กรรมสง่ เสริมความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวการปฏิบัติตนให้ปลอดภยั ในการใช้ชีวติ ประจำวัน ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา่ จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ความเปน็ ไทย 2. กระบวนการบริหารและการจัดการ สร้างความร้คู วามเขา้ ใจในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทกั ษะสมอง (EF) ใหก้ ับผู้ปกครอง เพ่อื นำไปเปน็ แนวทางในการส่งเสรมิ ทักษะสมอง (EF) ให้กับเด็กในความดูแลของตนเอง 3. การจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเปน็ สำคญั จดั ใหม้ กี จิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม เพื่อใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการดา้ นสงั คมทเี่ หมาะสม ตามวัย
57 ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน จดุ เดน่ 1. ดา้ นคุณภาพผูเ้ รียน 1.1 ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนรูส้ งู ข้ึนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และสงู กว่าเป้าหมายที่สถานศกึ ษา กำหนด 1.2 ผู้เรยี นมคี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รสูงกวา่ เปา้ หมายทส่ี ถานศึกษากำหนด 1.3 ผเู้ รยี นมที กั ษะความสามารถในการสร้างสรรค์ชิน้ งาน โครงงานจากกิจกรรมการเรยี นรู้ และการใช้ แหล่งเรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย 1.4 ผเู้ รยี นได้รบั การส่งเสริมทกั ษะสคู่ วามเป็นเลิศอย่างหลากหลาย 2. ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ 2.1 มกี ารวางแผนการดำเนนิ งานตามแผนอย่างเป็นระบบสอดคล้องตามมาตรฐานการศกึ ษา ของสถานศกึ ษา และมาตรฐานการศึกษาของชาติ 2.2 มรี ะบบการประกันคุณภาพภายใน และรปู แบบการบริหารจัดการ BMTP Model ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และมีการพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง 2.3 มีการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่อง ระบบการวัดผลและประเมนิ ผลออนไลน์ทม่ี ี ประสิทธิภาพ มีความสะดวกรวดเรว็ ในการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ 2.4 มีการสนับสนนุ และสง่ เสริมครู บุคลากรได้พฒั นาตนเองอยา่ งเปน็ ระบบ 2.5 มกี ารส่งเสรมิ งบประมาณ ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ทางการศึกษา ห้องเรียนคุรภาพอย่างต่อเนอ่ื ง ไดร้ บั ความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา ชุมชน และหน่วยงานภายนอกได้มีส่วนรว่ มในการพฒั นาคุณภาพ ผเู้ รยี น 3. ดา้ นกระบวนการเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั 3.1 จัดโครงการกิจกรรมที่ครอบคลมุ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง 3.2 มีรูปแบบการนิเทศการสอนอยา่ งหลากหลาย ส่งผลให้ครไู ด้พัฒนาการเรียนการสอน ให้มีประสิทธภิ าพ 3.3 ครมู ีการพัฒนาสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยีมาใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และแก้ไขปญั หา สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 3.4 ครผู ูส้ อนร่วมกนั แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์จากกจิ กรรมชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จดั ใหค้ รผู ู้สอนทกุ คนได้มสี ่วนเป็นครูผสู้ อน (Model Teacher) และครผู ู้รว่ ม เรียนรู้ (Buddy Teacher) เพื่อพฒั นาการจัดการเรียนรู้ 3.5 ครูผสู้ อนมีความพร้อมในการใชส้ อื่ เทคโนโลยีเปน็ ชอ่ งทางออนไลน์ในการประสานความร่วมมอื กบั ผปู้ กครองนักเรยี น
58 จุดควรพัฒนา 1. ดา้ นคุณภาพผูเ้ รียน 1.1 ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรู้ของผู้เรียนในด้านการอา่ นการเขยี น และการคิดคำนวณ และการทดสอบระดับชาติ 1.2 ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ มีการใช้กระบวนการวจิ ัย ในการดำเนนิ งาน และมีการสรา้ ง จดั หาเวทีในการแสดงความสามารถให้ผู้เรียนไดเ้ ผยแพร่ในช่องทางต่าง ๆ 1.3 การจดั กิจกรรมทเ่ี น้นการอนรุ กั ษ์ความเป็นไทย วฒั นธรรม ประเพณีท้องถน่ิ โดยเน้น การมีสว่ นร่วมของปราญช์ าวบ้านในท้องถ่ิน 1.4 กระบวนการเรยี นรู้ การจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ การตรวจสอบ และประเมนิ ผลการใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ และจัดกระบวนการเรียนรู้ใหย้ ืดหยุ่นตามความสนใจความถนัดของผู้เรยี น การปลูกฝงั ผูเ้ รียนใหม้ ีคุณธรรมจรยิ ธรรมค่านยิ มทดี่ ีงาม 1.5 พัฒนาผู้เรยี นให้เกดิ ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 2. ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ 2.1 วิธกี ารยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รยี นทเี่ หมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษา มุง่ เน้นใหน้ ักเรียนเห็นถงึ ความสำคัญของการทดสอบระดบั ชาติ 2.2 ระบบอินเทอรเ์ น็ตเพ่ือการบรหิ ารจัดการในสถานศกึ ษา 2.3 การพฒั นาส่ือนวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา ควรมีการวิเคราะห์ความจำเปน็ ในการใช้ สอ่ื เทคโนโลยเี พ่ือการจดั การเรียนการสอน ผลติ พฒั นาส่ือนวตั กรรมการเรียนการสอน รวมทั้งประเมินคุณภาพ สือ่ และเลอื กใชส้ ่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม และทนั สมัย 2.4 ระบบการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา ควรมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การจัดระบบการ นิเทศภายในกบั สถานศึกษาอ่ืน หรือเครือข่ายการนเิ ทศภายในเขตพืน้ ที่การศึกษา 3. ด้านกระบวนการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั 3.1 สรา้ งนวัตกรรมการสอนผ่านการวิจยั ในชั้นเรยี น เพ่ือนำผลของงานวิจยั ไปพฒั นา การเรียนการสอนให้มปี ระสทิ ธภิ าพยิง่ ขน้ึ และมกี ารเผยแพร่ 3.2 การนิเทศการสอนโดยมุ่งเนน้ ใหค้ รูผ้สู อน จัดการเรียนรู้แบบเชงิ รุก (Active Learning) เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกวา่ เนอ้ื หาวิชา โดยร่วมกนั วิเคราะห์หลกั สตู ร จัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ ตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชีว้ ดั 3.3 การจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หลากหลายเหมาะสมกับผเู้ รียนกระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นรู้จักคิดวเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ และคิดสร้างสรรค์ รจู้ ักศึกษา หาความรู้แสวงหาค้าตอบ และสรา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง 3.4 น้าภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ เทคโนโลยแี ละส่ือทเ่ี หมาะสมมาประยุกต์ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน
59 แนวทางการพฒั นาในอนาคต พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนรูใ้ นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ รายวิชาท่ีมผี ลสมั ฤทธิไ์ มเ่ ป็นไปตามเปา้ หมายของสถานศกึ ษาให้มีระดบั คณุ ภาพทีส่ ูงขึ้น มีการจดั กระบวนการเรยี นรู้ทมี่ ุง่ ให้ผ้เู รยี นเกิดทกั ษะในศตวรรษที่ 21 และมผี ลการทดสอบ ในระดบั ชาติให้เปน็ ไปตามเป้าหมายทส่ี ถานศกึ ษากำหนดในทกุ ระดับชั้นท่มี กี ารทดสอบ ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนได้ เรยี นร้จู ากการ มีสว่ นร่วมของปราชญช์ าวบ้านในท้องถนิ่ เพิ่มขึน้ พัฒนาวิธกี ารยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนรู้ พัฒนาสอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา ท่ีทันสมัย พฒั นาระบบการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา แลกเปลยี่ นเรยี นร้ปู ระสบการณ์การจดั ระบบการนเิ ทศ ภายในกับสถานศึกษาอนื่ หรือเครือขา่ ยการนเิ ทศภายในเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มีการใช้ระบบอินเตอร์เน็ต ในการจดั การในสถานศึกษาเพ่ิมขึน้ พฒั นาครใู ห้มนี วัตกรรมการสอนผา่ นการวจิ ัยในชน้ั เรยี น เพื่อนำผลของงานวจิ ัยไปพฒั นา การเรียนการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขนึ้ มุ่งเนน้ ให้ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) เน้นกระบวนการเรยี นรู้มากกว่าเนอ้ื หาวิชา มีการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนหลากหลายเหมาะสมกับผูเ้ รยี น กระตุ้นให้ผู้เรยี นรูจ้ ักคดิ วเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ และคิดสร้างสรรค์ ร้จู ักศกึ ษาหาความรู้แสวงหาค้าตอบ และสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง ความตอ้ งการและการชว่ ยเหลอื พัฒนาครใู ห้มคี วามรคู้ วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีทท่ี ันสมัย เพ่อื ใชเ้ ป็นเครอื่ งมือในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน มุ่งเนน้ เรียนรแู้ บบเชงิ รุก (Active Learning) ให้มีประสิทธภิ าพ และสอดคลอ้ ง กับการดำรงชวี ิตวถิ ใี หม่ และสอดคล้องกบั การพฒั นาผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 พัฒนาการคิดวิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้ สือ่ เคร่ืองมือตามแนวทางของการทดสอบ ทางการศึกษาแหง่ ชาติ
60 ภาคผนวก
61 ขอ้ มูลสารสนเทศของสถานศกึ ษา 1. ข้อมูลงบประมาณ งบประมาณ (รับ-จ่าย) รายรับ จำนวน/บาท รายจ่าย จำนวน/บาท 1,131,348.32 เงินงบประมาณ 5,734,500.00 งบดำเนินการ/เงินเดอื น-ค่าจา้ ง 3,738,845.68 1,497,616.00 เงินนอกงบประมาณ 82,470.99 งบพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา 6,367,810.00 เงนิ อนื่ ๆ(ระบุ) 1,516,000.00 งบอืน่ ๆ(ระบ)ุ รวมรายรับ 7,332,970.99 รวมรายจ่าย งบดำเนินการ/เงินเดอื น เงินค่าจ้าง คิดเปน็ ร้อยละ 19.73 ของรายรับ งบพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา คิดเปน็ ร้อยละ 65.20 ของรายรับ 2. ขอ้ มลู สภาพชุมชนโดยรวม 1) ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม โรงเรยี นบ้านมาบตาพุด ตั้งอยใู่ นเขตชมุ ชนเมือง จดั เปน็ เขตสงั คมเมืองทีส่ ำคัญของจังหวัดระยองท่ถี ูก จัดใหเ้ ป็นเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษของประเทศ บรเิ วณโดยรอบรายล้อมดว้ ยโรงงานนคิ มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ขนาดใหญ่ ผู้คนส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพในโรงงานนิคมอุตสาหกรรม การคมนาคมค่อนขา้ งแออดั ท้งั นยี้ ังคงไว้ ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณอี ันดีงามของไทย กิจกรรมทางศาสนา ผ้นู ำชุมชน และผู้คนในชมุ ชนมคี วามสามคั คี ร่วมแรงร่วมใจ แมว้ า่ จะมคี วามแตกต่างกนั ทางศาสนา วฒั นธรรม เนอ่ื งจากผคู้ นย้ายถิ่นฐานมาจากต่างภมู ภิ าค เพอื่ ประกอบอาชพี ในแหล่งนิคมอุตสาหกรรม ยังคงไวซ้ ่ึงความสมั พนั ธ์อันดีระหวา่ ง บา้ น วัด และโรงเรียนมา แตอ่ ดีต ถือไดว้ ่าเปน็ สว่ นสำคัญในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นมาอย่างต่อเน่ือง อย่างไรก็ตามพบวา่ สภาพชมุ ชน มีความเส่ยี งและเป็นอปุ สรรคในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในสว่ นของมลพิษทางอากาศ การคมนาคม สถานบนั เทิงและอบายมุข
62 2) โอกาสและขอ้ จำกัดของโรงเรยี น ระดับปฐมวัย ปจั จัยทีเ่ ป็นโอกาสของโรงเรยี น ข้อจำกดั ของโรงเรียน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก พฤตกิ รรมของผ้รู ับบรกิ าร 1. โรงเรียนตัง้ อยใู่ นชมุ ชน โรงงานอตุ สาหกรรม ซึง่ มี 1. ผปู้ กครองส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี รับจา้ ง มี งบประมาณสนบั สนุนจากองค์กรภายนอก รายไดไ้ ม่แน่นอน ส่งผลต่อการสนับสนนุ อุปกรณ์การ 2. ชมุ ชนมีความต้องการใหบ้ ุตรหลานเขา้ เรยี นใน เรียนท่ีมีคณุ ภาพแก่นกั เรยี น โรงเรยี นที่มคี วามพรอ้ ม มคี ุณภาพ การจัดการเรยี น 2. การย้ายถ่นิ ฐานบ่อยทำให้การเรยี นไม่ตอ่ เน่ือง การสอนเปน็ ที่พงึ พอใจ ด้านการเมอื งและกฎหมาย - ดา้ นเศรษฐกจิ 1. ชมุ ชนมีกำลงั ใชจ้ ่ายในดา้ นการศึกษาสำหรบั ส่ง 1. มภี าวะเสยี่ งต่อโรคทางเดนิ หัวใจ จากมลภาวะ บตุ รหลาน ทางอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรม 2. ค่านิยมในการเข้าเรยี นในโรงเรียนขนาดใหญ่ 2. ผปู้ กครองส่วนใหญ่เปน็ แรงงาน มีฐานะค่อนข้าง 3. เศรษฐกจิ ในชุมชนดี เน่ืองจากมีประชากร ยากจนเพราะรายได้ค่อนข้างตำ่ สง่ ผลตอ่ การ ค่อนข้างมาก สนบั สนนุ วสั ดอุ ุปกรณก์ ารเรียนทม่ี คี ุณภาพ ดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม 1. เปน็ สังคมเมืองท่มี ีความหลากหลายทาง 1. ปญั หาครอบครัว เชน่ หย่ารา้ ง อบายมุข หนส้ี นิ วฒั นธรรม เน่อื งจากมีผู้อาศยั มาจากหลายภมู ิภาค เนื่องจากผู้คนส่วนใหญอ่ ยใู่ นวัยหนุ่งสาว 2. ผปู้ กครองส่วนใหญเ่ ป็นแรงงาน ไม่มีเวลาดแู ล บตุ รหลาน 3. การยา้ ยถิน่ ฐานบอ่ ย สง่ ผลให้การเรียนไมต่ อ่ เนื่อง ดา้ นเทคโนโลยี 1. มีอุปกรณ์ทางเทคโนโลยที ท่ี ันสมยั และมีคณุ ภาพ - ในการปฏิบัตงิ าน และการจัดการเรียนการสอน
63 ระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ขอ้ จำกดั ของโรงเรยี น ปจั จัยท่ีเปน็ โอกาสของโรงเรียน 1. มีพื้นท่เี สี่ยงภัยเกย่ี วกบั ร้านเกม บหุ รี่ สรุ า ยาเสพติด สถานบันเทิง แหล่งอบายมุขตา่ ง ๆ 1. มศี าสนสถานในการใช้เป็นแหล่งเรยี นรู้ทาง ศาสนาและวัฒนธรรม 2. อยใู่ นพนื้ ท่ีทม่ี ีมลภาวะทางอากาศ 3. อยใู่ นเขตชุมชนเมืองขนาดใหญ่ การจราจร 2. มแี หลง่ เรียนรูท้ างดา้ นอตุ สาหกรรม ธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม หนาแนน่ ติดขัด 4. การเปลยี่ นแปลงทางสังคม เศรษฐกจิ การเมือง 3. ได้รบั งบประมาณในการสร้างและพัฒนาแหลง่ เรยี นรจู้ ากบรษิ ัท และชุมชนบริเวณโดยรอบ ส่งผลใหน้ ักเรยี นมีการเปลี่ยนแปลง ดา้ นพฤติกรรม 4. ช่ือเสยี งของโรงเรียนทีเ่ ปน็ ทย่ี อมรบั ของบุคคล 5. ผู้ปกครองส่วนใหญเ่ ปน็ ประชากรแฝง ท่ัวไป และหนว่ ยงานภายนอก มีการย้ายถนิ่ ฐานตามความจำเปน็ 6. ประชาชนสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพรบั จ้าง ไมม่ ี 5. ผู้ปกครองและชมุ ชน ใหค้ วามรว่ มมือใน เวลาใหบ้ ุตรหลาน ขาดการดแู ลเอาใจใส่ การพฒั นานกั เรียน สง่ ผลให้นักเรียนเกดิ ในเร่อื งความประพฤติและเรื่องการเรียน การพฒั นาอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 7. ครอบครัวนักเรยี นส่วนใหญ่มสี ถานภาพ หยา่ ร้าง 6. ความเจริญทางส่อื เทคโนโลยีมคี วามทันสมัย 8. บคุ ลากรสว่ นใหญ่มีภาระงานมาก ส่งผลตอ่ มแี หล่งเรยี นรู้มากขึน้ ช่วยใหท้ ำงานไดร้ วดเรว็ การจดั การเรียนการสอน ย่ิงขน้ึ สะดวกตอ่ การเข้าถึงแหลง่ การเรยี นรู้ 9. บุคลากรส่วนใหญ่สอนไม่ตรงตามวชิ าเอก การปฏิบตั ิงานและติดต่อส่ือสาร และมีการโยกยา้ ยกลับภูมิลำเนา 10. อาคาร สถานท่ี และห้องปฏิบัตกิ าร 7. ไดร้ ับจัดสรรเงินงบประมาณเพียงพอ ไมเ่ พยี งพอต่อจำนวนนกั เรียน ในการปฏบิ ตั ิงาน และความตอ้ งการใช้งาน 8. โรงเรยี นมกี ารประสานงานกบั หน่วยงานอืน่ ในการพฒั นาโรงเรียน 9. ได้รบั การสนบั สนนุ ในเรือ่ งแนวทาง การปฏิบัตงิ านจากหนว่ ยงานต้นสงั กัดอยู่เสมอ 10. โรงเรยี นมีกฎ ระเบียบ ให้ถือปฏิบตั ิ อยา่ งเคร่งครัด
64 3. โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวยั โครงสรา้ งหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ของโรงเรยี นบ้านมาบตาพุด ปกี ารศกึ ษา2563 ช่วงอายุ อายุ 4 - 6 ปี สาระการเรียนรู้ จัดแบบบรู ณาการหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 แนวคดิ แบบไฮสโคป, EF , บ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อยประเทศไทย และใช้ สื่อมอนเทสซอริ ในการจัดประสบการณ์ ประสบการณส์ ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้ - ด้านร่างกาย - เรอ่ื งราวเกีย่ วกบั ตวั เด็ก - ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ - เรือ่ งราวเกยี่ วกบั บคุ คลและสถานท่ี - ด้านสังคม แวดล้อมเดก็ - ดา้ นสติปญั ญา - ธรรมชาติรอบตัว - สงิ่ ตา่ งๆรอบตวั เดก็ จดั การศึกษา 2 ภาคเรียน : 1 ปกี ารศึกษา ชัน้ อนบุ าลปีที่ 2 อายรุ ะหวา่ ง 4-5 ปี ระยะเวลาเรยี น ชั้นอนุบาลปีที่ 3 อายรุ ะหวา่ ง 5-6 ปี ไมน่ ้อยกว่า 180 วัน : 1 ปี ใช้เวลา 5-6 ชวั่ โมง : 1 วัน 25-30 ชั่วโมง/สัปดาห์ หมายเหตุ 4-5 ปี มคี วามสนใจ 12 - 15 นาที 5-6 ปี มคี วามสนใจ 15 - 20 นาที * กจิ กรรมทตี่ ้องใช้ความคิดในกลมุ่ เล็กและกล่มุ ใหญ่ ไม่ควรใชเ้ วลาต่อเน่ืองนานเกินกว่า 20 นาที * กิจกรรมท่เี ด็กมีอสิ ระเลือกเล่นเสรี เชน่ การเลน่ ตามมมุ การเลน่ กลางแจ้ง ใชเ้ วลา 40 – 60 นาที
ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 65 เวลาเรยี น ป. ๕ ป. ๖ กลุม่ สาระการเรยี นรู/้ กิจกรรม ระดับประถมศกึ ษา ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ • กลุม่ สาระการเรียนรู้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ 120 120 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ 120 120 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ (๔๐) (๔๐) - วิทยาการคำนวณ 100 100 100 120 สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (๘๐) (๘๐) - ประวตั ิศาสตร์ 120 120 120 120 - ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) ๘๐ ๘๐ - หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๘๐ ๘๐ - เศรษฐศาสตร์ (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) 40 40 - ภมู ศิ าสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘4๐ ๘4๐ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ -- การงานอาชพี 20 20 20 40 -- ภาษาต่างประเทศ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ 40 40 ๘4๐ ๘4๐ ๘4๐ ๘4๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) 40 40 - - 80 80 • รายวชิ าเพ่มิ เตมิ -- 40 40 40 40 - ภาษาไทย (ชน้ั ป.1-2) 40 40 - คณติ ศาสตร์ (ชน้ั ป.3-4) ๔๐ ๔๐ - ภาษาอังกฤษ (ชั้นป.5-6) - - -- - การป้องกันการทจุ ริต (ปฐมวัย-ชั้นป.๖) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ 40 40 รวมเวลาเรยี น (เพ่ิมเติม) 30 30 80 80 ๘๐ ชั่วโมง ๑๐ ๑๐ • เพมิ่ เวลารู้ (๔H) 40 40 - ภาษาต่างประเทศ (องั กฤษ ,จีน) 40 40 80 80 - วทิ ยาศาสตร์ (SMT),คณติ ศาสตร์ 40 40 40 40 - กิจกรรมเพอื่ การมงี านทำ (EEC) รวมเวลาเรียน (เพิ่มเวลาร)ู้ 160 ชั่วโมง • กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - กิจกรรมแนะแนว 40 - กจิ กรรมนกั เรยี น 30 ๑๐ - ลกู เสอื – เนตรนารี 40 40 40 - ชมุ นุม 30 30 30 - กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ รวมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 120 ชว่ั โมง รวมจำนวนช่วั โมงทงั้ หมด ๑,2๐๐ ชวั่ โมง
66 4. สรปุ ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระดับสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาปฐมวยั ผลพัฒนาการเด็ก ชนั้ อนบุ าลปีที่ 2 ปีการศึกษา 2563 พัฒนาการ จำนวนเด็ก จำนวน/ร้อยละของเด็กตามระดบั คณุ ภาพ ทปี่ ระเมิน ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 1. ดา้ นรา่ งกาย 224 217 96.88 7 3.12 0 0 2. ดา้ นอารมณ์-จติ ใจ 224 221 98.66 3 1.34 0 0 3. ดา้ นสงั คม 224 222 99.11 2 0.89 0 0 4. ด้านสติปญั ญา 224 215 95.98 9 4.02 0 0 ผลพัฒนาการเด็ก ช้ันอนบุ าลปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 พัฒนาการ จำนวนเด็ก จำนวน/รอ้ ยละของเดก็ ตามระดับคณุ ภาพ ทีป่ ระเมิน ดี พอใช้ ปรบั ปรุง จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ 1. ดา้ นรา่ งกาย 231 222 96.10 8 3.46 1 0.44 2. ด้านอารมณ์-จติ ใจ 231 223 96.54 6 2.59 2 0.87 3. ดา้ นสังคม 231 225 97.40 4 1.73 2 0.87 4. ดา้ นสตปิ ัญญา 231 223 96.54 6 2.59 2 0.87
67 ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน 1) ร้อยละของนักเรียนท่ีมเี กรดเฉลย่ี ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนแตล่ ะรายวิชาในระดบั 3 ข้นึ ไป ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวนนักเรยี นทเ่ี ข้าสอบ / จำนวนนักเรยี นทไี่ ดร้ ะดบั 3 ข้ึนไป / รอ้ ยละ ป.1 ป.2 ป.3 กลุม่ สาระ การเรยี นรู้ เ ้ขาสอบ ไ ้ดระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ เ ้ขาสอบ ไ ้ดระดับ 3 ข้ึนไป ร้อยละ เ ้ขาสอบ ไ ้ดระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ ภาษาไทย 241 194 80.50 280 249 88.93 255 167 65.49 คณิตศาสตร์ 241 193 80.08 280 222 79.29 255 108 42.35 วิทยาศาสตร์ 241 188 78.01 280 232 82.86 255 94 36.86 241 212 87.97 280 270 96.43 255 195 76.47 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 241 219 90.87 280 243 86.79 255 192 75.29 241 237 98.34 280 263 93.93 255 248 97.25 ประวัตศิ าสตร์ 241 196 81.33 280 267 95.36 255 252 98.82 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 241 232 96.27 280 270 96.43 255 247 96.86 ศิลปะ 241 211 87.55 280 195 69.64 255 131 51.37 การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ จำนวนนกั เรยี นทเ่ี ขา้ สอบ / จำนวนนกั เรียนท่ีได้ระดบั 3 ขน้ึ ไป / รอ้ ยละ ป.4 ป.5 ป.6 กลมุ่ สาระ เข้าสอบ การเรยี นรู้ ไ ้ดระดับ 3 ขึ้นไป ้รอยละ เข้าสอบ ไ ้ดระดับ 3 ขึ้นไป ้รอยละ เข้าสอบ ไ ้ดระดับ 3 ขึ้นไป ้รอยละ ภาษาไทย 220 184 83.64 239 152 63.60 248 147 59.27 คณิตศาสตร์ 220 131 59.55 239 71 29.71 248 97 39.11 วิทยาศาสตร์ 220 153 69.55 239 115 48.12 248 159 64.11 220 177 80.45 239 137 57.32 248 188 75.81 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 220 119 54.09 239 187 78.24 248 180 72.58 220 216 98.18 239 176 73.64 248 248 100 ประวตั ิศาสตร์ 220 214 97.27 239 226 94.56 248 217 87.50 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 220 209 95.00 239 230 96.23 248 246 99.19 ศลิ ปะ 220 126 57.27 239 76 31.80 248 90 36.29 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาองั กฤษ
68 5. สรปุ ขอ้ มูลผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นภาษาไทย 1) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถดา้ นการอ่าน (Reading Test) ของนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 โดยสำนักทดสอบทางการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 ระดบั คณุ ภาพ สมรรถนะและองค์ประกอบ คะแนนร้อยละ (ใสเ่ ครอื่ งหมาย ✓) ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก สมรรถนะการอา่ นออกเสียง 63.21 ✓ 1. การอ่านคำ 68 ✓ 2. การอ่านข้อความ 60.01 ✓ สมรรถนะการอา่ นรเู้ รื่อง 62.03 ✓ 1. การอา่ นคำ(จับภาพ) 85.37 ✓ 2. การอ่านประโยค(เลา่ เรือ่ งจากภาพ) 88.06 ✓ 3. การอ่านประโยค(เลอื กตอบ) 47.60 ✓ 4. การอ่านขอ้ ความ 41.51 ✓ รวม 2 สมรรถนะ 62.62 ✓ 2) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถและทักษะด้านการอ่าน ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1-6 โดยสำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 (ให้ใช้ขอ้ มลู จากระบบ e-MES) จำนวนนักเรียน นกั เรียนทีป่ กตจิ ำแนก นักเรียนทป่ี กตจิ ำแนกตามผลการรู้เรอ่ื ง ตามผลการอา่ นออกเสียง ชัน้ ปกต+ิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ บกพรอ่ ง ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง บกพรอ่ ง ปกติ ป.1 244 0 244 163 51 25 72 148 72 18 6 ป.2 299 16 283 193 77 13 16 86 150 45 18 ป.3 272 18 254 240 10 3 1 41 130 69 14 ป.4 242 23 219 159 56 4 0 72 85 56 11 ป.5 256 12 244 200 36 7 1 20 116 101 7 ป.6 262 14 248 238 10 0 0 79 124 42 3
69 3) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถและทักษะดา้ นการเขยี น ของนกั เรยี นชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6 โดยสำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 (ใหใ้ ชข้ อ้ มูลจากระบบ e-MES) นักเรยี นทปี่ กตจิ ำแนกผล จำนวนนักเรียน นกั เรยี นทปี่ กตจิ ำแนกผลการเขยี นคำ การเขียนประโยค ป.1-3 ชัน้ การเขยี นเร่ือง ป.4-6 ปกติ+ บกพรอ่ ง ปกติ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ บกพรอ่ ง ป.1 244 0 244 105 97 30 12 202 26 10 6 ป.2 299 16 283 177 72 29 21 127 132 27 13 ป.3 272 18 254 91 88 61 10 82 135 25 1 ป.4 242 23 219 - - - - 96 106 16 6 ป.5 256 12 244 - - - - 108 119 13 4 ป.6 262 14 248 - - - - 134 99 15 0 6. สรปุ ขอ้ มูลผลการประเมนิ ทักษะการใชภ้ าษาองั กฤษในการสือ่ สาร ผลการประเมนิ ทักษะการใช้ภาษาองั กฤษในการสอ่ื สาร ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2563 โดยใช้แบบทดสอบของสถานศกึ ษา ชัน้ จำนวนนกั เรียน จำนวนนกั เรียน (นับเฉพาะนักเรียนปกต)ิ การฟงั การพูด การอ่าน การเขยี น ทั้งชนั้ ปกติ บกพร่อง ผา่ น ร้อยละ ผา่ น รอ้ ยละ ผา่ น รอ้ ยละ ผ่าน ร้อยละ ป.1 241 241 - 211 87.55 211 87.55 211 87.55 211 87.55 ป.2 296 280 16 195 69.64 195 69.64 195 69.64 195 69.64 ป.3 273 255 16 131 51.37 131 51.37 131 51.37 131 51.37 ป.4 242 220 22 126 57.27 126 57.27 126 57.27 126 57.27 ป.5 253 239 14 76 31.80 76 31.80 76 31.80 76 31.80 ป.6 262 248 13 90 36.29 90 36.29 90 36.29 90 36.29 รวม 1,567 1,483 81 829 55.9 829 55.9 829 55.9 829 55.9
70 7. สรุปข้อมลู ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผ้เู รยี นระดบั ชาติ (National Test: NT) 1) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษา ปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 สมรรถนะและองคป์ ระกอบ คะแนน ระดับคณุ ภาพ ร้อยละ (ใสเ่ ครอ่ื งหมาย ✓) ปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก ดา้ นภาษาไทย (Thai Language) 46.16 ✓ 1. ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความร้แู ละความคิดเพือ่ นำไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปญั หาในการ 49.70 ✓ ดำเนนิ ชีวิต และมนี ิสยั รกั การอ่าน 53.42 ✓ 2. ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสอ่ื สาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรอื่ งราว ในรูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้า 44.46 ✓ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 43.47 ✓ 3. สามารถเลือกฟงั และดอู ยา่ งมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรสู้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ 32.60 ✓ 39.18 ✓ 4. เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา 39.39 ✓ และพลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ 39.69 ✓ 5. เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคณุ คา่ 37.35 ✓ และนำมาประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จรงิ 37.95 ✓ ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics) 35.48 ✓ สาระท่ี 1 จำนวนและพชี คณิต 53.55 ✓ 44.13 ✓ 1. เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การ 44.13 ✓ ของจำนวนผลท่ีเกดิ ขึ้นจากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ 42.67 ✓ 2. เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสมั พันธ์ ฟังกช์ นั ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช้ สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณิต 1. เขา้ ใจพ้ืนฐานเก่ียวกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตอ้ งการวัด และนำไปใช้ 2. เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบัติของรปู เรขาคณติ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง รูปเรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ สาระท่ี 2 สถติ แิ ละความน่าจะเป็น 1. เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถิติในการแกป้ ญั หา รวมความสามารถ 2 ดา้ น
71 2) เปรียบเทยี บภาพรวม ของผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียน ระดบั ชาติ (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 ระหว่างระดบั โรงเรยี นกบั ระดบั เขตพน้ื ที่ และ ระดับโรงเรยี นกบั ระดบั ประเทศ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ ความสามารถ ระดับโรงเรยี น ระดับเขตพ้ืนที่ ผลตา่ ง ระดับโรงเรยี น ระดับประเทศ ผลตา่ ง (+/-) (+/-) ด้านภาษาไทย 46.16 47.71 -1.55 46.16 47.46 -1.3 ด้านคณติ ศาสตร์ 39.18 41.14 -1.96 39.18 40.47 -1.29 เฉลีย่ ทงั้ 2 ด้าน 42.67 44.43 -1.76 42.67 43.97 -1.3 3) เปรยี บเทยี บภาพรวม รายด้าน และระดับคุณภาพ ของผลการประเมินการทดสอบ ความสามารถพื้นฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ระหวา่ งปีการศกึ ษา 2561 กบั 2562 และ ปีการศึกษา 2562 กับ 2563 คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ ความสามารถ ปีการศกึ ษา ปีการศกึ ษา ผลตา่ ง ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา ผลตา่ ง (+/-) 2561 2562 (+/-) 2562 2563 -6.62 -14.41 ด้านภาษาไทย 58.74 52.78 -5.96 52.78 46.16 -10.51 ดา้ นคณิตศาสตร์ 56.22 53.59 -2.63 53.59 39.18 เฉลย่ี ทัง้ 2 ดา้ น 57.48 53.18 -4.3 53.18 42.67 8. สรปุ ข้อมลู ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) 1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 และ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คะแนนเฉลย่ี ระดับโรงเรยี น ภาษาไทย 58.30 คณิตศาสตร์ 29.80 วทิ ยาศาสตร์ 39.30 ภาษาอังกฤษ 39.91 เฉล่ยี 41.83
72 2) เปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ย ของผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2563 ระหวา่ งระดับโรงเรียนกบั ระดบั จงั หวัด ระดบั โรงเรยี นกับสงั กัด สพฐ.ท้ังหมด และระดับโรงเรยี นกับระดับประเทศ คะแนนเฉลยี่ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ระดับ ระดับ ผลตา่ ง ระดับ สงั กัด สพฐ. ผลตา่ ง ระดับ ระดบั ผลตา่ ง โรงเรียน จงั หวดั (+/-) โรงเรยี น ทง้ั หมด (+/-) โรงเรียน ประเทศ (+/-) ภาษาไทย 58.30 59.55 -1.25 58.30 54.96 3.34 58.30 56.20 2.1 คณิตศาสตร์ 29.80 31.94 -2.14 29.80 28.59 1.21 29.80 29.99 -0.19 วิทยาศาสตร์ 39.30 41.12 -1.82 39.30 37.64 1.66 39.30 38.78 0.52 ภาษาอังกฤษ 39.91 49.17 -9.26 39.91 38.87 1.04 39.91 43.55 -3.64 เฉล่ยี 41.83 45.45 -3.62 41.83 40.02 1.81 41.83 42.13 -0.3 3) เปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ยี ของผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ระหว่างปีการศึกษา 2561 กบั 2562 และ ปีการศึกษา 2562 กบั 2563 กล่มุ สาระ ปกี ารศึกษา ปีการศึกษา คะแนนเฉลย่ี ปกี ารศกึ ษา ผลตา่ ง การเรยี นรู้ 2561 2562 ผลตา่ ง ปกี ารศกึ ษา 2563 (+/-) (+/-) 2562 ภาษาไทย 57.93 48.47 -9.46 48.47 58.30 9.83 คณิตศาสตร์ 36.60 31.20 -5.4 31.20 29.80 -1.4 วทิ ยาศาสตร์ 41.79 35.64 -6.15 35.64 39.30 3.66 ภาษาองั กฤษ 40.29 31.83 -8.46 31.83 39.91 8.08 เฉล่ีย 44.15 36.79 -7.36 36.79 41.83 5.04 9. สรปุ ขอ้ มลู การใชแ้ หล่งเรยี นรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน 1) จำนวนนกั เรยี นที่ใช้แหล่งเรียนร้ใู นโรงเรยี น ปีการศกึ ษา 2563 แหล่งเรียนรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 1. สหกรณร์ ้านค้า 241 296 273 242 253 262 2. หอ้ งเรียนสเี ขยี ว 241 296 273 242 253 262 3. หอ้ งศิลปะ 241 296 273 242 253 262 4. ฐานการเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง 241 296 273 242 253 262 5. หอ้ งสมุด 241 296 273 242 253 262 6. ห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร์ 241 296 273 242 253 262 7. หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ 241 296 273 242 253 262 8. ห้องดนตรี นาฏศลิ ป์ 241 296 273 242 253 262 รวม 241 296 273 242 253 262
73 2) จำนวนนกั เรยี นทใ่ี ช้แหล่งเรยี นร้นู อกโรงเรียน ปีการศึกษา 2563 แหลง่ เรียนรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 1. วดั โสภณวนาราม 241 296 273 242 253 262 2. วดั มาบตาพุด 241 296 273 242 253 262 รวม 241 296 273 242 253 262
74 10. สรุปผลการประเมินจากหน่วยงานภายนอกและขอ้ เสนอแนะ ระดบั คุณภาพ ดี ควรปรับปรงุ พอใช้ ✓ 1) ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบแรก ✓ ประเมินวนั ที่ 29 – 30 มกราคม – 2 กุมภาพนั ธ์ 2547 ✓ ✓ ✓ มาตรฐานการศกึ ษา ✓ ด้านผเู้ รียน ✓ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์ มาตรฐานที่ 4 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ มวี ิจารณญาณ ✓ ✓ มคี วามคิดสร้างสรรค์ คิดไตรต่ รองและมวี สิ ัยทัศน์ มาตรฐานท่ี 5 ผเู้ รยี นมีความรูแ้ ละทักษะทจ่ี ำเปน็ ตามหลักสูตร ✓ มาตรฐานที่ 6 ผ้เู รยี นมที ักษะในการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง รักการเรยี นรู้และพฒั นา ✓ ✓ ตนเองอย่างตอ่ เนอื่ ง ✓ มาตรฐานท่ี 9 ผู้เรยี นมีทักษะในการทำงาน รกั การทำงานสามารถทำงานรว่ มกบั ผ้อู ื่นได้ ✓ และมเี จตคติทีด่ ตี ่ออาชีพสจุ ริต มาตรฐานท่ี 10 ผเู้ รียนมีสุขนสิ ัย สุขภาพกาย และสุขภาพจติ ท่ดี ี มาตรฐานท่ี 12 ผเู้ รียนมีสนุ ทรยี ภาพและลกั ษณะนิสยั ดา้ นศลิ ปะดนตรี และกฬี า ด้านครผู ูส้ อน มาตรฐานท่ี 22 ครูมคี วามสามารถในการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งมีประสิทธิภาพ และเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาตรฐานที่ 24 ครมู ีคณุ วุฒิ / ความรู้ ความสามารถตรงกับงานท่ีรบั ผดิ ชอบและมีครู เพียงพอ ดา้ นผบู้ รหิ าร มาตรฐานท่ี 13 สถานศกึ ษามกี ารจัดองค์กร / โครงสรา้ งและการบริหารงานอยา่ งเปน็ ระบบ ครบวงจรให้บรรลเุ ป้าหมายการศกึ ษา มาตรฐานที่ 14 สถานศกึ ษาส่งเสริมความสมั พันธแ์ ละความรว่ มมอื กับชุมชนในการพฒั นา การศกึ ษา มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามกี ารจัดกิจกรรมและการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผู้เรยี น เปน็ สำคญั มาตรฐานที่ 20 ผู้บริหารมีภาวะผนู้ ำและมีความสามารถในการบรหิ ารจดั การ มาตรฐานท่ี 25 สถานศกึ ษามีหลกั สตู รเหมาะสมกับผูเ้ รยี นและทอ้ งถนิ่ มสี ่อื การเรยี น การสอนทเ่ี อ้อื ต่อการเรยี นรู้ สรปุ โรงเรียนมผี ลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบแรก อยู่ในระดบั คุณภาพดี
75 2) ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสอง ระดบั คณุ ภาพ ประเมินวันท่ี 25 – 27 กรกฎาคม – 1 สงิ หาคม 2550 ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก 2.1) ระดับการศึกษาปฐมวัย (รอบสอง) มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั เพ่ือการประเมนิ คุณภาพภายนอก ด้านผู้เรยี น มาตรฐานที่ 1 ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทพี่ ึงประสงค์ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรยี นมสี ุขนสิ ัย สขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจติ ท่ดี ี มาตรฐานที่ 3 ผเู้ รยี นมคี วามสนใจกิจกรรมดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว มาตรฐานที่ 4 ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดแก้ปญั หา และคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ มาตรฐานที่ 5 ผเู้ รยี นมคี วามร้ทู กั ษะพน้ื ฐานตามพฒั นาการทกุ ด้าน มาตรฐานท่ี 6 ผู้เรยี นสนใจใฝร่ ู้ รกั การอ่าน และพฒั นาตนเอง มาตรฐานท่ี 7 ผู้เรยี นเลน่ /ทำกจิ กรรมรว่ มกนั กบั ผู้อื่นได้และชนื่ ชมในผลงานของตนเอง ด้านครู มาตรฐานท่ี 8 ครูมีคณุ วฒุ ิ/ความรู้ ความสามารถตรงกบั งานท่ีรบั ผิดชอบและมีครู เพยี งพอ มาตรฐานท่ี 9 ครมู คี วามสามารถในการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ดา้ นผู้บรหิ าร มาตรฐานที่ 10 ผ้บู ริหารมภี าวะผนู้ ำและมคี วามสามารถในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจดั องคก์ ร โครงสรา้ ง และบรหิ ารงานอยา่ งเปน็ ระบบ ครบวงจรให้บรรลเุ ปา้ หมายการศกึ ษา มาตรฐานที่ 12 สถานศกึ ษามีการจดั กิจกรรมและการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผเู้ รยี น เปน็ สำคญั มาตรฐานท่ี 13 สถานศกึ ษามหี ลกั สูตรทเี่ หมาะสมกับผ้เู รยี นและทอ้ งถน่ิ มสี ่ือการเรยี น การสอนที่เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 14 สถานศกึ ษาส่งเสริมความสมั พันธแ์ ละความร่วมมอื กบั ชมุ ชนในการพัฒนา การศกึ ษา
76 2.2) ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน (รอบสอง) ระดับคณุ ภาพ ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน เพ่ือการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ✓ ✓ ด้านผเู้ รยี น ✓ มาตรฐานท่ี 1 ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทพี่ ึงประสงค์ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรยี นมสี ุขนสิ ัย สขุ ภาพกาย และสุขภาพจิตท่ีดี ✓ มาตรฐานท่ี 3 ผู้เรยี นมสี นุ ทรยี ภาพ และลักษณะนสิ ยั ด้านศลิ ปะ ดนตรี และกีฬา ✓ มาตรฐานที่ 4 ผเู้ รยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ ✓ มีความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ คดิ ไตรต่ รอง และมวี สิ ยั ทศั น์ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรยี นมคี วามรู้ทกั ษะทจี่ ำเป็นตามหลกั สูตร ✓ มาตรฐานที่ 6 ผู้เรยี นมที ักษะในการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง รกั การเรยี นรู้ และพัฒนา ✓ ตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง มาตรฐานที่ 7 ผูเ้ รยี นมที ักษะในการทำงาน รกั การทำงาน สามารถทำงานรว่ มกับผอู้ ่นื ได้ ✓ และมเี จตคติท่ีดตี อ่ อาชีพสุจริต ✓ ดา้ นครู มาตรฐานท่ี 8 ครมู ีคณุ วฒุ ิ/ความรู้ ความสามารถตรงกบั งานทรี่ บั ผดิ ชอบและมีครเู พยี งพอ ✓ มาตรฐานที่ 9 ครมู ีความสามารถในการจดั การเรยี นการสอนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ✓ และเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ด้านผู้บริหาร ✓ มาตรฐานท่ี 10 ผู้บรหิ ารมภี าวะผ้นู ำและมีความสามารถในการบรหิ ารจดั การศกึ ษา มาตรฐานท่ี 11 สถานศกึ ษามีการจัดองคก์ ร โครงสร้าง และบริหารงานอย่างเปน็ ระบบ ✓ ครบวงจรให้บรรลเุ ป้าหมายการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 12 สถานศึกษามีการจดั กิจกรรมและการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผู้เรยี น เปน็ สำคญั มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีหลกั สตู รทีเ่ หมาะสมกบั ผูเ้ รยี นและทอ้ งถน่ิ มสี อื่ การเรยี น การสอนท่ีเออ้ื ต่อการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 14 สถานศกึ ษาส่งเสรมิ ความสมั พันธ์และความร่วมมอื กับชมุ ชนในการพัฒนา การศึกษา สรปุ โรงเรยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสอง ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน อยู่ในระดบั คุณภาพดีมาก ผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ รับรอง ไมร่ ับรอง กรณีที่ไมร่ บั รองเน่อื งจาก..............................................................................................................
77 3) ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม ประเมนิ วันท่ี 8- 10 สงิ หาคม 2554 3.1) ระดบั การศึกษาปฐมวัย (รอบสาม) การศกึ ษาพนื้ ฐาน ระดบั การศึกษาปฐมวัย ระดบั คุณภาพ กลมุ่ ตวั บง่ ช้พี นื้ ฐาน ตอ้ งปรับปรุง ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก ตัวบง่ ช้ีท่ี 1 เด็กมพี ฒั นาการดา้ นร่างกายสมวยั ตวั บง่ ชี้ที่ 2 เดก็ มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์และจติ ใจสมวยั ตัวบ่งช้ีท่ี 3 เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสงั คมสมวยั ตัวบ่งชี้ท่ี 4 เดก็ มพี ฒั นาการด้านสติปัญญาสมวัย ตวั บ่งช้ีท่ี 5 เด็กมคี วามพรอ้ มศกึ ษาต่อในขน้ั ตอ่ ไป ตวั บ่งช้ีท่ี 6 ประสทิ ธผิ ลการจดั ประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่เี นน้ เด็กเปน็ สำคัญ ตวั บ่งชี้ท่ี 7 ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและการพฒั นาสถานศกึ ษา ตวั บ่งช้ีที่ 8 ประสทิ ธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตวั บ่งชีอ้ ัตลกั ษณ์ ตวั บง่ ช้ีท่ี 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน/วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ และวตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ต้ังสถานศกึ ษา ตวั บ่งช้ีที่ 10 ผลการพัฒนาตามจดุ เน้นและจุดเด่นที่สง่ ผลสะทอ้ นเปน็ เอกลกั ษณ์ ของสถานศกึ ษา กลมุ่ ตวั บ่งชมี้ าตรการสง่ เสริม ตวั บ่งช้ีที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อสง่ เสรมิ บทบาทของ สถานศึกษา ตัวบ่งช้ีท่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษาเพอ่ื ยกระดับมาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และพฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ ท่สี อดคล้องกบั แนวทางการปฏริ ูปการศึกษา
78 3.2) ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (รอบสาม) การศกึ ษาพน้ื ฐาน ระดบั ประถมศึกษา ระดับคณุ ภาพ ต้องปรับปรุง ปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก กล่มุ ตวั บ่งช้ีพน้ื ฐาน ✓ ตวั บ่งชี้ท่ี 1 ผู้เรยี นมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี ✓ ตวั บง่ ชี้ท่ี 2 ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มท่พี ึงประสงค์ ✓ ตวั บ่งชี้ท่ี 3 ผู้เรียนมีความใฝร่ ู้และเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื ง ✓ ตวั บง่ ชี้ที่ 4 ผู้เรยี นคิดเป็นทำเปน็ ✓ ตัวบง่ ช้ีที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผูเ้ รียน ✓ ตัวบ่งชี้ท่ี 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ✓ ตัวบง่ ชี้ที่ 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการและการพฒั นาสถานศึกษา ตัวบง่ ช้ีที่ 8 พัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศึกษา และต้นสังกดั ✓ กลุ่มตวั บ่งชอ้ี ตั ลกั ษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ และวัตถุประสงคข์ องการจดั ตั้งสถานศึกษา ✓ ตวั บ่งชี้ท่ี 10 ผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ และจดุ เด่น ที่สง่ ผลสะท้อน เป็นเอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา ✓ กลุ่มตวั บง่ ชมี้ าตรการสง่ เสริม ตวั บ่งช้ีท่ี 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพือ่ ส่งเสรมิ บทบาท ของสถานศกึ ษา ✓ ตัวบง่ ชี้ที่ 12 ผลการส่งเสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพอ่ื ยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเปน็ เลิศทสี่ อดคล้อง กบั แนวทางการปฏิรูปการศึกษา ✓ สรปุ โรงเรยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน อยใู่ นระดับคณุ ภาพดี โดยมีค่าเฉลีย่ 82.32 สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา ไมส่ มควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา กรณที ี่ไมร่ ับรองเน่ืองจาก...........................................................................................................
79 3.3) ขอ้ เสนอแนะของการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลกั เกณฑ์และวิธีการ ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553 ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 1. ด้านผลการจัดการศึกษา 1) ครคู วรเน้นการพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผเู้ รียนทกุ กล่มุ สาระการ เรียนรู้ โดยวิเคราะหป์ ัญหาทางการเรียนวางแผนพัฒนานวตั กรรมให้สอดคล้องกับการพัฒนาการเรียนรขู้ อง ผู้เรยี น ตลอดจนจัดตวิ เขม้ ให้กับผเู้ รียนอยา่ งสม่ำเสมอ (ระยะเวลาในการพฒั นาภายในปีการศกึ ษา 2555) 2) สถานศึกษาควรส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นใช้แหลง่ เรียนรูภ้ ายในสถานศึกษา โดยบรู ณา การการเรียนรกู้ ับแหล่งการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรยี นรตู้ ่าง ๆ เนน้ การเรยี นในห้องปฏิบตั ิการใหผ้ เู้ รียนได้ ทำการศึกษามีกิจกรรมปฏบิ ัติใหม้ ากขนึ้ (ระยะเวลาในการพฒั นาภายในปีการศึกษา 2555) 3) สถานศกึ ษาควรจดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นไดฝ้ กึ ทักษะในการคิด ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง มี ความคดิ สร้างสรรค์ จนิ ตนาการ ตลอดจนนำภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ มาใชใ้ นการเรียนการสอนให้มากขึน้ (ระยะเวลา ในการพฒั นาภายในปีการศกึ ษา 2555) 4) สถานศกึ ษาควรพฒั นาผู้เรียนใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์พจิ ารณาด้านการคดิ และ ความสามารถในการปรบั ตัวเข้ากับสงั คมตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ึ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดย กำหนดกจิ กรรมในการพัฒนาผูเ้ รียนใหค้ รบ และมีการประเมนิ พฒั นาการอย่างต่อเนื่อง (ระยะเวลาในการ พัฒนาภายในปกี ารศึกษา 2555) 2. ดา้ นการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ไม่มขี ้อเสนอแนะ 3. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ครคู วรพัฒนากระบวนการศึกษา คน้ ควา้ วิจยั ตลอดจนการสอนซอ่ มเสรมิ ให้ สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาทเี่ กดิ กบั ผู้เรียนอยา่ งแท้จรงิ (ระยะเวลาในการพฒั นาภายในปีการศกึ ษา 2555) 4. ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน ไม่มขี อ้ เสนอแนะ
80 4) ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี ประเมนิ วนั ท่ี 27 - 29 พฤศจิกายน 2562 ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ พ.ศ.2561 ระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน (รอบส่ี) ระดับคุณภาพ ดา้ น ดมี าก ดมี าก 1 คุณภาพเด็ก ดมี าก 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (รอบสี)่ ระดบั คณุ ภาพ ดา้ น ดีมาก ดีมาก 1 คุณภาพของผเู้ รยี น ดมี าก 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ผลการประเมนิ ความโดดเดน่ ระดบั คุณภาพ ความโดดเด่น เปน็ ต้นแบบ มคี วามโดดเด่น ไดร้ บั การยอมรับระดับนานาชาติ (C3) 1. ผเู้ รียนมีทักษะความสามารถ เปน็ ต้นแบบ มคี วามโดดเด่น ไดร้ บั การยอมรบั ระดบั ชาติ (C2) ดา้ นวงโยธวาทติ เปน็ ต้นแบบหรือมีความโดดเดน่ ระดับท้องถนิ่ /ภูมภิ าค (C1) ยังไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณาการประเมนิ ความโดดเดน่ 2. ผู้เรียนมีทกั ษะความสามารถ เปน็ ตน้ แบบ มีความโดดเดน่ ไดร้ ับการยอมรับระดบั นานาชาติ (C3) ด้านศลิ ปะ เปน็ ต้นแบบ มีความโดดเดน่ ไดร้ บั การยอมรบั ระดบั ชาติ (C2) เปน็ ต้นแบบหรือมีความโดดเด่นระดับทอ้ งถน่ิ /ภมู ิภาค (C1) 3. ผูเ้ รยี นมที ักษะความสามารถ ยงั ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์การพจิ ารณาการประเมินความโดดเด่น ด้านกีฬาฟุตบอล เป็นต้นแบบ มีความโดดเด่น ได้รบั การยอมรับระดับนานาชาติ (C3) เปน็ ตน้ แบบ มีความโดดเดน่ ไดร้ บั การยอมรับระดบั ชาติ (C2) เป็นตน้ แบบหรือมีความโดดเด่นระดบั ท้องถิ่น/ภูมภิ าค (C1) ยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณาการประเมนิ ความโดดเด่น
81 จุดเด่น ดา้ นคุณภาพของผู้เรยี น 1. ผเู้ รียนมีวินยั และความรบั ผิดชอบในการรักษาความสะอาด ท้ิงขยะเป็นท่ี มีการคัดแยกขยะ ตามทท่ี ิ้งขยะที่สถานศกึ ษาได้จดั ไว้ 2. ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่สถานศึกษากำหนดใหผ้ ู้เรยี นเป็นคนดี โดยปลูกฝัง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มที่ดีและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ดว้ ยโครงการ/กิจกรรมทีห่ ลากหลาย ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ สถานศกึ ษามีการบรหิ ารงานโดยการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ นในสังคมโดยรอบสถานศึกษา ในการรว่ มกันจดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา แผนปฏบิ ัติการประจำปี รว่ มกันนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และนำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุงด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการอย่างต่อเน่ืองทุก ปีการศึกษา ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ครผู ู้สอนมีความมงุ่ มั่นต้ังใจ ปฏบิ ัตงิ านอย่างเป็นระบบ ภายใต้วัฒนธรรมองค์กรทม่ี ุ่งเนน้ สมั ฤทธิ์ผล มกี ระบวนการคู่พัฒนาของครผู สู้ อน (Buddy) ประสานความรว่ มมือในการส่งเสรมิ แกป้ ัญหา พฒั นาผู้เรยี น จัดการชัน้ เรียน สอนแทน พัฒนาตนเองในลักษณะกัลยาณมิตร มรี ะบบการสง่ ต่อผ้เู รียนในแต่ละ ระดบั ชัน้ ท่ีชัดเจนตอ่ เนื่อง ขอ้ เสนอแนะตามนโยบายจากหน่วยงานต้นสงั กดั หรือภาครัฐ ดา้ นคุณภาพของผเู้ รียน 1. ผเู้ รยี นควรได้รบั การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ เพื่อการมงี านทำ EEC ใหม้ คี วามหลากหลายมาก ยง่ิ ขนึ้ และให้ผู้เรยี นสามารถเลือกเรยี นไดต้ ามความถนดั ของผูเ้ รียน เช่น กจิ กรรมชมุ นุมต่าง ๆ เกี่ยวกบั ด้าน อาชีพเสริมให้ผเู้ รียนไดม้ ีรายได้ระหว่างเรียน 2. ผ้เู รียนควรได้รับการสง่ เสริมเพ่ิมกจิ กรรมห้องเรยี นศกั ดส์ิ ิทธิ์ ในการพัฒนาผู้เรียนในการ แก้ปญั หาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ โดยการจัดทำบัตรคำไวใ้ หผ้ ูเ้ รียนไดอ้ า่ นกอ่ นเขา้ ห้องและก่อนออกจาก ห้องเรยี นทุกห้องเรยี น ครอบคลุมทุกช้นั เรียน ซงึ่ จะทำใหผ้ ูเ้ รียนไดฝ้ ึกทักษะการอ่านได้ทุกวนั จะส่งผลให้ ผเู้ รยี นมีความสามารถในการเรียนไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 3. ผู้เรียนควรไดร้ บั การสง่ เสริมเพ่ิมฐานการเรียนรู้ใหเ้ พม่ิ มากย่งิ ข้ึน เพอื่ พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ี ความรู้ ความสามารถ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไดอ้ ย่างหลากหลาย เป็นการเพ่ิมศักยภาพของ ผู้เรยี น
82 ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพฒั นาสนู่ วัตกรรม หรือแบบอย่างท่ีดี ด้านคุณภาพของผเู้ รยี น 1. ผู้เรยี นมวี ินัย ความรับผดิ ชอบ ในการรักษาความสะอาด ทิง้ ขยะเป็นที่ มีการคัดแยกขยะ ดีอย่แู ลว้ ดังน้ัน ผ้เู รยี นควรได้รบั การพฒั นาในเรอ่ื ง Reuse และ Recycle ใหเ้ ปน็ แบบอย่างที่ดี เห็นคณุ ค่าของ เหลือใช้ใหเ้ ป็นประโยชน์ 2. ผ้เู รียนมีคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ดีอยู่แลว้ ดงั น้นั ผ้เู รยี นควรมีการพัฒนาการปฏบิ ัตใิ น คณุ ลักษณะที่พึงประสงคใ์ หเ้ กิดเป็นกจิ นิสัย และเกิดเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีในการปฏิบัติแก่ชมุ ชนโดยรอบ สถานศึกษา ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ สถานศึกษาได้มีการพฒั นารปู แบบดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การเปน็ การบรหิ าร และการจดั การตามระบบวงจรบริหารงานคุณภาพ (PDCA) ภายใตร้ ูปแบบ BMTP MODEL ทจ่ี ะใช้ใน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ แลว้ ดงั นนั้ สถานศกึ ษาควรมีการเผยแพร่ MODEL ของการบริหารและการจัดการไปยงั สถานศกึ ษาอืน่ ๆ และหนว่ ยงานต้นสงั กดั ใหเ้ ป็นที่ยอมรบั ของทุกฝ่ายทเี่ กยี่ วขอ้ งต่อไป ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ ครผู ูส้ อนสามารถพัฒนาตนเองได้ตรงตามศักยภาพโดยการวางแผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล (ID PLAN) ความตอ้ งการในการพฒั นาร่วมกบั การต่อยอดการสร้างการเรียนรขู้ องครูผสู้ อนด้วยกระบวนการ คพู่ ัฒนา (Buddy) อยา่ งเป็นระบบในประเด็นการปรบั ปรงุ การเรียนรู้ และการปฏบิ ัติงานอย่างต่อเนอื่ ง โดยการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (Share and Learn) ในกลุ่มยอ่ ย การสะท้อนคดิ (Reflection) การถอดบทเรยี น (AR) และการ Coaching & Mentoring จากผเู้ ชีย่ วชาญหรือผ้ทู รงคุณวุฒิ (Mentor/Expert) เพอื่ ให้ สามารถสร้างสรรค์ สรุปองค์ความรู้ทผ่ี สมผสานระหว่างองค์ความรจู้ ากทฤษฎี และองค์ความรู้จาก ประสบการณส์ ู่การปฏบิ ตั ใิ นชั้นเรยี นได้ โดยใช้ขอ้ มลู พ้นื ฐานจากการสง่ ต่อข้อมลู ของผเู้ รียนระหว่างช้นั เรียนที่ ดำเนินการอยู่เชิงวนิ ิจฉัยวา่ สามารถท่จี ะพัฒนาผู้เรียนสคู่ วามโดดเด่นในเรือ่ งใด และปรบั ปรงุ แกไ้ ขผู้ ประเดน็ ใดก่อนหลังที่สอดคลอ้ งกับผเู้ รยี น สามารถสร้างนวัตกรรมจากการปฏบิ ัตทิ ีส่ ่งผลต่อคุณภาพของผูเ้ รยี น สรปุ ประเด็นจากหนว่ ยงานต้นสงั กัด หน่วยงานตน้ สังกัด ไดแ้ ก่ สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต ๑ ควรมกี ารกำหนด ประเดน็ การประเมนิ จากต้นสังกัด จากหน่วยงานภาครัฐ หรือต้นสงั กัดไว้ เพื่อให้สถานศึกษาได้ทำการเรง่ รัด ในการพัฒนาคุณภาพภายในเพอ่ื จะได้มีการนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล และนำผลการประเมินไปปรบั ปรุง คณุ ภาพของสถานศึกษาอย่างตอ่ เนือ่ ง
83 เอกสารหลกั ฐาน/ขอ้ มูลสารสนเทศเพ่มิ เตมิ ระดบั ปฐมวัย ข้อมูลสารสนเทศ ภาพการดำเนินการ สอดคล้องตามมาตรฐานการศกึ ษา
84 เอกสารหลักฐาน/ข้อมูลสารสนเทศเพมิ่ เติม ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ข้อมูลและสารสนเทศ แบบประเมินผลการดำเนินงาน ตามระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ข้อมูลภาพการดำเนนิ งาน สอดคลอ้ งตามมาตรฐานการศึกษา
85 คณะทำงาน ที่ปรกึ ษา นายอุดร ธรรมมา ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านมาบตาพดุ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นมาบตาพุด นางจันทนี ยงยุทธ รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านมาบตาพุด ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการโรงเรยี น นางสาวสิริลกั ษณ์ ปานทอง ผ้ชู ว่ ยผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น นางเพญ็ ศรี กรี ติภัทรกุล นางอัสมา วทิ ยมาศ คณะจัดทำรปู เลม่ ครู ชำนาญการพิเศษ ครู ชำนาญการ ระดบั ปฐมวัย ครู ชำนาญการ 1. นางกัญญาพัชร ปานบุญ ครู ชำนาญการ 2. นางสุทธณิ ี ไม้สูง ครู ชำนาญการ 3. นางสาวดารนิ ทร์ สุขสวสั ด์ิ ครู ชำนาญการ 4. นางสาวอมุ าพร นิลพฒั น์ ครู ชำนาญการ 5. นางสาวดุจฤดี เล้ียงภูมิ ครู ชำนาญการ 6. นางสาวทศั นยี ์ เคหาใส ครู 7. นางวนิดา บุญเกษม ครู 8. นางสาวภารดี พกิ ลุ ทอง ครู 9. นางสาวอมรรัตน์ สขุ วเิ ศษ ครู 10. นางอำพร ชอนขุนทด ครจู า้ งสอน 11. นางสาวพรพรรรณ สทิ ธิบุศย์ ครจู า้ งสอน 12. นางสาวนิยดา แวงวรรณ ครูจ้างสอน 13. นางสาวชนดิ แก้วก่งิ ครจู า้ งสอน 14. นางสาววรรณยี ์ สุขสวัสด์ิ ครจู า้ งสอน 15. นางสาวเรอื งศริ ิ สมโชค ครูจ้างสอน 16. นางสาวจริญา ภารสงา่ 17. นางสาวไปรยา ดาสมกลุ 18. นางสาวพรรณทวิ า บุตรล้านช้าง
86 ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ครูชำนาญการพเิ ศษ นางสาวอินทิรา อำนวย ครชู ำนาญการ นางสาววไิ ลรัตน์ ฝา่ ยดี ครชู ำนาญการ นางสาวสุกานดา โรมวลิ าส ครู นายณัฐนนท์ สีดาโคตร์ ครู นายจรี าวุฒิ ยุติธรรม ครู นางสาวจิราภา กาลสุข ออกแบบปก ครู นายณัฐนนท์ สีดาโคตร์ บรรณาธกิ ารกจิ นางสาวสิริลักษณ์ ปานทอง รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านมาบตาพุด
87
Search