โครงงานสะเต็ม STEM Project เร่อื ง sensor linebot 1. นาย เกตุโพธ์ิ ใจสงฆ์ เลขท่ี 2 2. นางสาว ณชั ชา กจิ แสนมาก เลขท่ี 4 3. นางสาว วศิ รา วงษร์ ตั นพิพัฒน์ เลขท่ี 12 4. นางสาว สธุ าธาร ศุภชยารกั ษ์ เลขท่ี 16 5. นางสาว ขวญั ขา้ ว ล้ีนา เลขที่ 26 6. นางสาว กวินธิดา ป่นิ ทอง เลขที่ 34 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6/16 ครทู ปี่ รึกษาโครงงาน ครภู ทั รลกั ษณ์ โพธ์ิคง ครวู ุฒพิ งศ์ บตุ รไธสง ครูวลิ าสนิ ี ระวกี ุล โครงงานนีเ้ ป็นสว่ นหน่งึ ของรายวชิ า โครงงานสะเต็ม รหสั วิชา ว33266 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 โครงการห้องเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรเ์ ข้มข้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถมั ภส์ มเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนี
โครงงานสะเตม็ STEM Project เร่ือง sensor linebot 1. นาย เกตุโพธิ์ ใจสงฆ์ เลขที่ 2 2. นางสาว ณัชชา กจิ แสนมาก เลขที่ 4 3. นางสาว วศิ รา วงษร์ ตั นพพิ ฒั น์ เลขท่ี 12 4. นางสาว สธุ าธาร ศภุ ชยารกั ษ์ เลขท่ี 16 5. นางสาว ขวญั ขา้ ว ลี้นา เลขที่ 26 6. นางสาว กวินธดิ า ปิน่ ทอง เลขที่ 34 ครูทป่ี รึกษาโครงงาน ครภู ัทรลกั ษณ์ โพธคิ์ ง ครวู ฒุ ิพงศ์ บตุ รไธสง ครวู ลิ าสินี ระวีกลุ โครงงานน้เี ป็นสว่ นหนึง่ ของรายวิชา โครงงานสะเต็ม รหัสวิชา ว33266 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 โครงการหอ้ งเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตรเ์ ข้มข้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสตรวี ิทยา ๒ ในพระราชปู ถมั ภ์สมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนี
ก กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานเร่ืองน้ีประกอบดว้ ยการดาเนินงานหลายข้ันตอน นับต้ังแต่การศึกษาหาข้อมูล การศึกษาค้นคว้าการ วิเคราะห์ผลการศกึ ษา การจดั ทารายงานเปน็ รูปเล่ม จนกระท่ังรายงานน้ีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ตลอดระยะเวลา ดังกล่าวคณะผู้จัดทารายงานได้รับความช่วยเหลือและคาแนะนาในด้านต่างๆ ตลอดจนได้รับกาลังใจจากบุคคล หลายท่าน คณะผ้จู ดั ทาตระหนกั และซาบซึ้งในความกรุณาจากทุกๆท่านเป็นอย่างยิ่ง ณ โอกาสน้ีขอขอบคุณทุกๆ ท่าน ดงั นี้ กราบขอบพระคุณ ครูภัทรลักษณ์ โพธิ์คง ครูวุฒิพงศ์ บุตรไธสง และครูวิลาสินี ระวีกุล ผู้ให้คาแนะนาและ ไดเ้ มตตาใหค้ วามช่วยในทกุ ๆ และใหค้ วามรคู้ าแนะนาคอยดูแลในด้านต่างๆ และสละเวลามาช่วยฝึกฝนเทคนิคใน การทารายงานคร้งั น้ีพรอ้ มทง้ั เปน็ กาลังใจให้เสมอมา กราบขอบพระคุณคุณครู โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทุก ท่านท่ีคอยดูแลเอาใจใสแ่ ละใหค้ าปรึกษาอยา่ งดี ขอขอบคณุ เพอ่ื นๆ ที่ได้ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในการทารายงาน ท้ายท่ีสุด ขอกราบขอบพระคุณคณุ พ่อและคุณแมผ่ ู้เปน็ ที่รัก ผใู้ หก้ าลงั ใจและใหโ้ อกาสการศกึ ษาอนั มคี า่ ย่ิง คณะผจู้ ดั ทา
ข ชือ่ โครงงาน Sensor Linebot ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงงาน 1. นาย เกตโุ พธิ์ ใจสงฆ์ กิจแสนมาก 2. นางสาว ณัชชา วงษ์รตั นพิพฒั น์ ศุภชยารกั ษ์ 3. นางสาว วิศรา ลีน้ า ปนิ่ ทอง 4. นางสาว สธุ าธาร 5. นางสาว ขวัญข้าว 6. นางสาว กวนิ ธิดา อาจารย์ทป่ี รึกษาโครงงาน 1. ครูภัทรลักษณ์ โพธคิ์ ง 2. ครูวุฒพิ งศ์ บุตรไธสง 3. ครูวลิ าสินี ระวีกลุ ปีการศกึ ษา 2563 บทคัดยอ่ โครงงาน Sensor Linebot มจี ดุ ประสงค์ในการจัดทาดังนี้ 1. เพ่ือออกแบบระบบกล้องวงจรปิดที่สามารถส่ง ข้อความแจ้งเตอื นทางแอพลิเคช่ันไลน์มายังผู้ใช้โดยการใช้ เคร่ืองมือ Linebot 2. เพื่อออกแบบระบบกล้องวงจรปิดที่ สามารถตรวจจับและระบุว่าบุคคลที่เข้ามาภายในบ้านมีข้อมูลใน ฐานข้อมูลหรือไม่ โดยแบ่งวิธีการทาออกเป็น 2 ข้ันตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนท่ี 1) การสร้างชิ้นงาน Sensor Linebot โดยเร่ิมจากการศึกษาการเขียนโปรแกรม ตรวจจับการเคล่ือนไหวและส่งภาพแจ้งเตือนเข้าไลน์ ในขณะเดียวกันทาการต่อวงจร จากนั้นก็ประประกอบช้ินส่วน แต่ละส่วนเข้าด้วยกันและประดิษฐ์เป็น Sensor Linebot ด้วย ขั้นตอนท่ี 2) การทดสอบประสิทธิภาพ โดยนา Sensor Linebot ที่เสร็จสมบูรณ์จากขั้นตอนท่ี 1 มาทดสอบความประสิทธิภาพในด้านต่างๆ ได้แก่ การทดสอบ ประสิทธิภาพในการตรวจจับคนในระยะ 15 30 และ 45 เซนติเมตร พบว่าระยะความใกล้ของบุคคลต่อกล้องท่ี 15 ซม. มีความสามารถในการตรวจจับที่มากที่สุด และการทดสอบความสามารถในการแยกแยะใบหน้าและส่งข้อความ แจ้งเตือนเข้าสู่ Line Notification ในระยะห่าง 15 เซนติเมตร พบว่า แสดงความถูกต้องของการแยกแยะระหว่าง ข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลและไม่อยู่ในฐานข้อมูล บุคคลท่ีมีข้อมูลในฐานข้อมูล ความแม่นยาในการการตรวจจับและ แยกแยะใบหน้าอยู่ท่ีร้อยละ 80 ความแม่นยาในการส่งข้อความท่ีถูกต้องเข้า Line Notification อยู่ที่ร้อยละ70 ความแม่นยาในการสง่ รูปภาพเข้า Line Notification อยู่ท่ีร้อยละ 100 บุคคลที่ไม่มีข้อมูลในฐานข้อมูล ความแม่นยา ในการการตรวจจับและแยกแยะใบหน้าอยู่ที่ร้อยละ 100 ความแม่นยาในการส่งข้อความท่ีถูกต้องเข้า Line Notification อย่ทู ร่ี อ้ ยละ100 ความแม่นยาในการส่งรูปภาพเข้า Line Notification อยู่ท่ีร้อยละ 100 ซ่ึงเป็นไปตาม สมมติฐานท่ีได้ต้ังไว้ว่า Sensor สามารถตรวจจับบุคคลท่ีเข้าออกภายในบ้านได้ และ Linebot สามารถส่งข้อความ รูปภาพคนท่ีเข้ามาในบา้ นได้
สารบัญ ค เร่ือง หน้า กติ ตกิ รรมประกาศ ก บทคัดยอ่ ข สารบัญเรอื่ ง ค สารบัญตาราง ง สารบัญภาพ จ บทท่ี 1 บทนา 8 1.1 ทมี่ าและความสาคัญ 9 1.2 วัตถุประสงค์ 9 1.3 สมมติฐาน 9 1.4 ตวั แปรท่ศี กึ ษา 9 1.5 นยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ 10 1.6 ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั 11 บทที่ 2 เอกสารและงานที่เกี่ยวข้อง 2.1 เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวขอ้ ง 19 21 บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนินงาน 26 3.1 วัสดุ – อุปกรณ์ 3.2 วิธีการศกึ ษา 27 3.3 วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู /ทดสอบประสทิ ธภิ าพ 29 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา 30 4.1 ผลการทดลอง 31 32 บทท่ี 5 สรุปผลการศกึ ษาและข้อเสนอแนะ 37 5.1 สรุปและอภปิ รายผล 5.2 ข้อเสนอแนะ อา้ งอิง ภาคผนวก ภาคผวก ก
ง สารบญั ตาราง ตารางเรื่อง หนา้ ตารางท่ี 1 แสดงประสทิ ธิภาพในการตรวจบุคคลจากระยะต่างกัน 27 ตารางท่ี 2 แสดงประเภทภาพในการแยกแยะใบหน้า การส่งภาพและการสง่ ขอ้ ความ 28 แจง้ เตือนผา่ น line notification
ภาพ สารบัญภาพ จ ภาพท่ี 1 แสดง กล้องวงจรปดิ แบบมาตรฐาน หน้า ภาพที่ 2 แสดง กล้องวงจรปิดแบบอนิ ฟาเรด ภาพที 3 แสดง กลอ้ งวงจรปดิ แบบโดม 11 ภาพท่ี 4 แสดง กลอ้ งวงจรปิดแบบ speed dome 11 ภาพท่ี 5 แสดง PIR sensor (Passive infra-red sensor) 12 ภาพที่ 6 แสดง Ultrasonic sensor 12 ภาพที่ 7 แสดง Microwave sensor 15 ภาพท่ี 8 แสดง PIR HC-SR501 15 ภาพที่ 9 แสดง ESP32-CAM 16 ภาพที่ 10 แสดง สายไฟจัมเปอร์ 16 17 17
8 บทท่ี 1 บทนา 1. ทีม่ าและความสาคัญของโครงงาน นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ปัญหาการลักขโมยถือว่าเป็นปัญหาอีกอย่างหน่ึงที่ร้ายแรงไม่น้อยไปกว่าปัญหา สงั คมข้ออน่ื ๆ เน่ืองจากเปน็ ปัญหาที่สร้างความเดือดร้อนท้ังต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซ่ึงแม้จะมีระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือท้ังจาท้ังปรับ ก็ยังไม่สามารถที่จะแก้ไขปัญหาน้ีได้ อีกทั้งยังมี แนวโน้มทป่ี ญั หาลกั ขโมยจะเพิ่มสงู ขึ้นเรื่อยๆ เนอ่ื งดว้ ยปจั จยั หลายๆ อยา่ ง อาทเิ ช่น สภาพเศรษฐกิจ การถูกบีบบังคับ โดยความลาบากอัตคัด ขัดสน ไปจนถึงแรงจูงใจส่วนตัวต่างๆ ซ่ึงล้วนเป็นสาเหตุใหญ่ที่ไม่สามารถแก้ไขได้โดยง่าย ดังนั้นหลายๆคนจึงได้เลือกใช้วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาท่ีสามารถทาได้โดยง่ายที่สุด และเป็นท่ีนิยมทากันมากท่ีสุด อย่างการติดตั้งกล้องวงจรปิด เพ่ือใช้บันทึกภาพและสอดส่องดูแลความเรียบร้อยของทรัพย์สิน เนื่องด้วยเป็นวิธีท่ีมี ความสะดวกในการใช้งานและภาพท่ีบันทึกไว้ได้น้ันยังสามารถใชเ้ ป็นหลกั ฐานในขั้นตอนการดาเนนิ คดีไดอ้ ีกดว้ ย เนื่องจากตัวกล้องวงจรปิดสามารถทาได้เพียงบันทึกภาพ และยังต้องอาศัยเวลาเพื่อเฝ้าตรวจสอบภาพที่ บันทึกเอาไว้อีกที ซึ่งถ้าหากเจ้าของทรัพย์สินไม่สะดวกที่สามารถตรวจสอบกล้องวงจรปิดได้ในเวลานั้นๆ ก็อาจทาให้ ไม่สามารถรบั รู้ถงึ ความผิดปกติได้อย่างทันท่วงทีหรือบางทีอาจจะไม่รับรู้เลย จนกระทั่งพบว่าทรัพย์สินของตนหายไป โดยจากฐานความผิดคดอี าญาตัง้ แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2562 จนถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 จากคดีที่ได้รับ แจ้งท้ังหมดจัดเป็นคดีลักทรัพย์และโจรกรรมทั้งหมด 22,523 ราย ทว่าจานวนตัวเลขคดีท่ีสามารถจับกุมผู้กระทา ความผิดได้มีเพียงจานวน 772 รายเท่าน้ัน (ระบบสารสนเทศสถานีตารวจ สานักงานตารวจแห่งชาติ, 2562.) ซ่ึงจาก ข้อมลู ดังกลา่ วเหน็ ได้ชดั วา่ การตดิ ต้ังกลอ้ งวงจรปิดเพยี งอย่างเดยี วน้ันไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างทั่วถงึ ทางคณะผู้จัดทาได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากเหตุผลดังกล่าว และได้ทาการสืบค้นข้อมูล จากหลายๆแหล่งข้อมลู จงึ ได้นาเสนอการติดต้ังระบบกล้องวงจรปิดที่จะสามารถส่งการแจ้งเตือนทางแอพลิเคช่ันไลน์ ให้เจ้าของบ้านทราบทุกคร้ังที่มีการผ่านเข้าออกของบุคคลภายในตัวบ้าน โดยเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีต่างๆท่ีมี อาทิเช่น Arduino, การเขยี นโคด้ , การนาบลูทูธเข้าเช่ือมโยงระบบต่างๆ เป็นต้น เพ่ือให้สามารถตอบโจทย์ปัญหาน้ีได้ โดยระบบจะทาการแจ้งเตือนทางแอพลิเคชั่นไลน์เพื่อให้ทราบว่ามีคนเข้ามาภายในบ้านหรือไม่ รวมถึงมีการ บันทึกภาพใบหน้าของผู้ท่ีเข้ามาภายในบริเวณตัวบ้าน หากภาพใบหน้าที่บันทึกได้วิเคราะห์แล้วตรงกับข้อมูลของ บุคคลที่มีอยู่ในฐานข้อมูล ระบบจะทาการส่งข้อความแจ้งเตือนเข้าไปยังแอพพลิเคชันไลน์ พร้อมท้ังระบุว่าบุคคลน้ัน คือใคร แต่ถ้าหากข้อมูลไม่ตรงกับท่ีมีอยู่ในฐานข้อมูล ระบบจะทาการส่งข้อความแจ้งเตือนเข้าไปยังแอพลิเคชันไลน์ ของเจ้าของบ้าน พร้อมด้วยภาพใบหน้าที่สามารถบันทึกไว้ได้ เพ่ือให้เจ้าของบ้านรับรู้และจัดการต่อไปตามความ เหมาะสม
9 1.2 วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือออกแบบระบบกล้องวงจรปิดท่ีสามารถส่งข้อความแจ้งเตือนทางแอพลิเคช่ันไลน์มายังผู้ใช้โดยการใช้ เครอื่ งมือ Linebot 2. เพ่ือออกแบบระบบกล้องวงจรปิดท่ีสามารถตรวจจับและระบุว่าบุคคลท่ีเข้ามาภายในบ้านมีข้อมูลใน ฐานขอ้ มลู หรือไม่ 1.3 สมมุติฐาน 1. กล้องวงจรปดิ สามารถส่งข้อมลู มายงั Linebot เม่ือมีการเขา้ ออกภายในบ้าน 2. Sensor สามารถจบั เเละระบุข้อมูลบุคคลท่ีเข้าออกภายในบา้ นได้ 3. Linebot สามารถสง่ รูปคนท่เี ขา้ ออกภายในบา้ นเมอื่ เราอยู่ข้างนอกได้ 1.4 ตวั แปรท่ศี กึ ษา การทดลองท่ี 1 ศึกษาประสทิ ธิภาพในการตรวจจบั คนในระยะ 15 30 และ 45 เซนตเิ มตร ตวั แปรต้น : ระยะหา่ งระหวา่ งตวั คนกบั อปุ กรณ์ ตวั แปรตาม : ความสามารถในการตรวจจบั ใบหน้าของอุปกรณ์ ตวั แปรควบคมุ : จานวนคน สถานท่ี การทดลองที่ 2 ศึกษาความสามารถในการแยกแยะใบหน้าและส่งข้อความแจ้งเตือนเข้าสู่ Line Notification ใน ระยะห่าง 15 เซนตเิ มตร ตวั แปรตน้ : ผทู้ ดลอง ตัวแปรตาม : การจาแนกบคุ คลจากฐานข้อมลู ของอปุ กรณ์ การสง่ ภาพและขอ้ ความแจ้งเตอื นเขา้ ไลน์ ตวั แปรควบคุม : จานวนคน สถานท่ี ระยะหา่ ง ฐานข้อมลู ขอ้ ความที่ส่งเข้าในไลน์ 1.5 นยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ 1. Linebot หมายถึง Line Official ที่นา Massaging API มาใช้ในการพัฒนาการทางานของ Line official ทาใหส้ ามารถโต้ตอบกบั ผู้ใชไ้ ด้ตลอดเวลา 2. Arduino หมายถึง โครงการท่ีนาชิปไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูลต่างๆ มาใช้ร่วมกันในภาษาซี มี ลักษณะเฉพาะคือ มีการเขียนไลบาร่ีของ Arduino ข้ึนมาเพื่อให้ไมโครคอนโทรลเลอร์ที่แตกต่างกัน สามารถใช้งาน โค้ดตวั เดียวกนั ได้ 3. เซนเซอร์ หมายถึง ชุดอุปกรณ์ทาหน้าท่ีตรวจวัดการเปล่ียนแปลงคุณสมบัติหรือลักษณะของสิ่งต่างๆ นา ขอ้ มูลทไ่ี ด้รบั มาเข้าสูก่ ระบวนการแจกแจง วเิ คราะหก์ ารเปล่ยี นแปลง แล้วจงึ ประมวลผลเปน็ องคค์ วามรู้ 4. กลอ้ งวงจรปดิ หมายถึง ระบบบันทึกภาพด้วยกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพ่ือใช้ในการติดตาม สอดส่อง และ รกั ษาความปลอดภยั 5. ประสิทธิภาพของกล้องวงจรปิด หมายถึง ความละเอียดคมชัดและความแม่นยาในการจับภาพของกล้อง วงจรปิด
10 1.6 ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รบั 1. สามารถจบั ภาพของบคุ คลทเี่ ข้าออกภายในบา้ นเเละสามารถส่งภาพมายงั เจา้ ของบ้านได้ 2. เจา้ ของบ้านสามารถเพม่ิ ความไว้วางใจดา้ นความปลอดภยั ไดม้ ากขึ้น 3. เพ่ิมความสะดวกสบายให้คนท่ีไม่มีเวลาตรวจสอบภาพจากกล้องตลอดเวลา เเละเป็นการนาเทคโนโลยีมา ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวัน 4. สามารถเก็บภาพไว้เป็นหลกั ฐานในการเอาผิดผทู้ ่ีกระทาผดิ ได้อยา่ งเเน่ชัด ในกรณีเกดิ เหตรุ า้ ยตอ่ เจ้าของบา้ น
11 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง 2.1 ทฤษฎีท่เี ก่ยี วขอ้ ง 2.1.1 ประเภทของกลอ้ งวงจรปิด CCTV 1. กล้องวงจรปิดแบบมาตรฐาน (Standard Camera) หรือบางคร้ังเรียก “Box Camera” กล้องชนิดน้ีเหมาะ สาหรับพื้นท่ีที่มีแสงสว่างตลอดเวลา หากนากล้องไปติดต้ังภายนอกอาคาร (Outdoor) จะต้องติดตั้งกล้องภายใน Housing เพื่อป้องกันความเสียหายท่ีจะเกิดข้ึนกับตัวกล้องวงจรปิดด้านใน และเพิ่มความเรียบร้อยสวยงามในการ ติดต้ังระบกล้องวงจรปิดสาหรับจุดเด่นของกล้องก็คือ สามารถเปล่ียนเลนส์ได้ และบางรุ่นอาจมีไมโครโฟนสาหรับ บนั ทกึ เสยี งได้ในตัว ภาพท่ี 1 กลอ้ งวงจรปดิ แบบมาตรฐาน 2. กล้องวงจรปิดแบบอนิ ฟราเรด (Infrared Camera) เป็นกลอ้ งทีจ่ ับภาพในที่มืดได้ ทาจากวัสดุทนทาน สามารถ นาไปติดภายนอกอาคารได้ กันน้าได้ การเลือกกล้องวงจรปิดอินฟราเรดนั้นควรเลือกตามระยะของอินฟราเรด อย่างเชน่ กลอ้ งท่มี ีระยะอนิ ฟราเรด 10 เมตร 20 เมตร 30 เมตร หรือระยะอน่ื ๆ ทจ่ี าเปน็ ต้องใช้ ภาพที่ 2 กล้องวงจรปดิ แบบอินฟาเรด 3. กล้องวงจรปิดแบบโดม (Dome Camera) มีรูปร่างเล็ก กะทัดรัด รูปลักษณ์ครึ่งวงกลมคล้ายโดม เป็นกล้องท่ีติด สาหรับพื้นที่ที่ต้องการความสวยงาม เมื่อติดต้ังแล้วดูเรียบร้อย ไม่สะดุดตา เหมาะสาหรับพ้ืนท่ีท่ีมีแสงสว่าง ตลอดเวลา เช่นเดียวกับกล้องมาตรฐาน จุดเด่นของกล้องคือ สามารถหมุนปรับมุมกล้องได้รอบตัว ตลอด 360 องศา นิยมนามาติดตั้งภายในอาคาร มีให้เลือกหลากหลาย เช่น แบบปกติ แบบมองย้อนแสง แบบใช้ในที่มีแสง
12 สว่างน้อยได้ดี หรือแบบสามารถมองเห็นในท่ีมืดได้ ซึ่งอย่างหลังจะเป็นกล้องที่มี Infrared ติดตั้งภายในตัวกล้อง วงจรปิด ภาพที่ 3 กล้องวงจรปิดแบบโดม 4. กล้องวงจรปิดแบบ Speed Dome Camera มีความสามารถในการหมุนรอบตัวเองได้ (Pan / Tilt / Zoom) ทั้งก้ม เงย หรือซมู ภาพ มีท้ังท่ีเป็นแบบติดตั้งภายนอกอาคารและติดตั้งภายในอาคาร เหมาะสาหรับติดตั้งเพื่อตรวจ ตราบริเวณโดยรอบของพื้นท่ี การสั่งการหรือควบคุมกล้อง Speed Dome ต้องสั่งโดยเคร่ืองบันทึก หรือส่ังจาก คยี ์บอร์ดควบคุม สามารถติดตั้งได้ดีท้ังในอาคารและนอกอาคาร โดยส่วนใหญ่มักติดไว้ด้านนอกอาคารระดับสูงจาก พ้ืนดินเพื่อเพ่ิมระยะการมองเห็นที่ดีข้ึน การติดต้ังกล้องวงจรปิดแบบสปีดโดมภายนอกอาคาร ต้องใช้ Housing หรือตัว Body ทีส่ ามารถทนตอ่ สภาพอากาศและนา้ ฝนไดด้ ี เพ่อื ป้องกันความเสียหายทจี่ ะเกิดกับตวั กล้องวงจรปิด 5. กล้องวงจรปิดแบบซ่อน (Hidden Camera) จุดประสงค์หลักเพื่อซ่อนไม่ให้มองเห็นว่ามีกล้องติดตั้งอยู่จุดไหน บ้าง บางคร้ังจึงเรียกว่า กล้องรูเข็ม ท่ีมีขายตามท้องตลาดความละเอียดภาพไม่ค่อยสูงมาก รูปแบบโครงสร้าง แตกตา่ งกันไป เชน่ ซอ่ นอยใู่ น Smoke Detector เป็นตน้ ภาพที่ 4 กลอ้ งวงจรปดิ แบบ speed dome 2.1.2 เทคโนโลยกี ารเรยี นรูจ้ ดจาใบหนา้ (Face Recognition) เทคโนโลยกี ารเรยี นรูจ้ ดจาใบหน้า(Face Recognition) คือ เทคโนโลยีที่ถูกสร้างข้ึนมาเพื่อเรียนรู้และจดจาโครงสร้าง ใบหน้าของมนษุ ย์ แลว้ นาข้อมลู ใบหน้าท่ีจดจาหรือตรวจจับได้ส่งไปให้ระบบ เพ่ือนาไปใช้วิเคราะห์หรือประมวลผลใน การทางานในส่วนข้ันตอนอ่ืนๆ อีกต่อไป ซ่ึงเทคโนโลยีที่นาระบบการเรียนรู้จดจาใบหน้า ไปใช้งานมากท่ี สุดคือ เทคโนโลยที ่เี กยี่ วขอ้ งกับระบบความปลอดภัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบ Access Control ระบบกล้องวงจรปิด หรือ ระบบ
13 รักษาความปลอดภัยในโทรศัพท์มือถือ โดยอาศัยหลักการการสร้างโมเดลการอ้างอิง ที่เรียกว่า “face print” ขึ้นมา โดยระบบจะวิเคราะหจ์ ากลักษณะเฉพาะต่างๆ บนใบหน้า เชน่ โครงหน้า ความกว้างของจมูก ระยะห่างระหว่างตาท้ัง สองขา้ ง ขนาดของโหนกแก้ม ความลึกของเบา้ ตา รวมถึงพืน้ ผิวบนใบหน้า (facial texture) เป็นต้น จากน้ัน ระบบจะ ทาการสร้างจดุ เชอื่ มโยงบนใบหนา้ (nodal points) เพือ่ เปรยี บเทยี บกับรูปภาพที่ถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูล (data base) ทั้งในลักษณะภาพน่ิงและภาพเคล่ือนไหว เพื่อความแม่นยาในการระบุตัวตนของผู้ที่ต้องเข้าสู่กระบวนการตรวจสอบ โดยเทคโนโลยีการเรียนรจู้ ดจาใบหนา้ มหี ลกั การทางานอยู่ 2 ข้นั ตอน ดังนี้ 1. การตรวจจับใบหน้า (Face Detection) คอื กระบวนการค้นหาใบหน้าของบุคคลจากภาพหรือวิดีโอ จากนั้นก็จะทา การประมวลผลภาพใบหนา้ ท่ไี ด้สาหรับขนั้ ตอนถัดไปเพ่ือใหภ้ าพใบหนา้ ทต่ี รวจจับได้งา่ ยตอ่ การจาแนก 2. การรู้จดจาใบหน้า (Face Recognition) คือกระบวนการท่ีได้นาภาพใบหน้าท่ีตรวจจับได้และประมวลผลแล้วจาก ขั้นตอนการตรวจจับใบหน้า มาเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลของใบหน้าเพื่อระบุว่าใบหน้าท่ีตรวจจับได้ตรงกับบุคคลใด แลว้ จงึ นาผลลัพธท์ ่ไี ด้ สง่ ไปให้ระบบหรือโปรแกรมเพอ่ื ประมวลผลอน่ื ๆตอ่ ไป 2.1.3 ประเภทของระบบกล้องวงจรปดิ กล้องวงจรปดิ แยกเป็น 3 ประเภท คอื 1.1 กล้องแบบอนาล๊อก (Analog Camera) เป็นกล้องวงจรปิดที่ใช้สายสัญญาณชนิดโคแอคเชียลหรือ ตระกูล RG มาเป็นอปุ กรณน์ าสัญญาณ ขอ้ จากัดทพี่ บเช่น สายสัญญาณถูกคลื่นรบกวน ทาให้ภาพทีไ่ ดไ้ ม่ชดั 1.2 กล้องแบบไอพี (IP Camera) เป็นกล้องที่ต้องตั้งค่า IP ผ่านระบบเครือข่าย เพื่อกาหนดตัวตนในการ แสดงภาพ และต้องอาศัยสายชนิด LAN หรือ CAT5 มาเป็นตัวต่อเช่ือมต่อ หรือบางรุ่นอาจใช้เป็นแบบไร้สายได้ ระบบนีม้ รี าคาแพงกว่าระบบแรกและต้องอาศัยความรมู้ ากกวา่ ในการเซท็ ระบบ 1.3 ระบบ HD-SDI SDI ย่อมาจาก Serial Digital Interface เป็นระบบ digital ที่ใช้สายสัญญาณแบบ coax หรือ แบบเดมิ ทีเ่ ป็น RG6 เปน็ ตวั นาสัญญาณ ระบบน้สี ามารถสง่ สญั ญาณภาพโดยไมจ่ าเปน็ ต้องบีบอัดสัญญาณ เพราะ ระบบรองรับการส่งสัญญาณท่ีมีความละเอียดมากกว่าความละเอียดแบบธรรมดา ถึง 5 เท่า ทาให้สัญญาณภาพมี ความคมชดั ในระดบั HD 2.1.4 องค์ประกอบของระบบกล้องวงจรปดิ ระบบโทรทัศน์วงจรปิดหรือที่เรียกกันติดปากว่าระบบกล้องวงจรปิด ซ่ึงภาษาอังกฤษจะใช้คาว่า Closed Circuit Television (CCTV) เปน็ ระบบท่ปี ระกอบไปด้วยสว่ นต่าง ๆ ทีจ่ าเป็นดงั นี้ 1. กล้อง ตัวกล้องจะมีหลายประเภท เช่นกล้องอินฟราเรท , กล้องโดม, กล้องทรงกระบอก, กล้อง PTZ (Pan-Tilt- Zoom), กลอ้ งรเู ขม็ , และกล้องชนดิ พเิ ศษ เชน่ กลอ้ งจบั ความเร็ว เปน็ ตน้ 2. ตวั นาสญั ญาณภาพ หรือ ตัวกลางในการเชอื่ มตอ่ เปน็ สายนาสญั ญาณหรือคล่ืนวิทยุนาสัญญาณ (แบบไร้สาย) โดย สายนาสัญญาณก็มีหลายรูปแบบ เช่น สาย Coax แบบ RG6, สาย Cat5, สายโทรศัพท์เป็นต้น ซึ่งกล้อง Analog ส่วนใหญ่ จะใช้สาย RG6 เป็นหลักผ่านหัวแบบ BNC ซึ่งถ้าจะใช้สายนาสัญญาณแบบอ่ืน ก็จะต้องมีตัวแปลงสัญญาณ ภาพให้ส่งผา่ นตวั กลางดงั กลา่ ว
14 3. ระบบบันทึกภาพ ส่วนใหญ่เราจะเรียกว่า DVR (Digital Video Recorder) ซึ่งเป็นตัวเก็บภาพในรูปแบบ ภาพเคลื่อนไหว ไว้ใน hard disk ซึ่งมักจะใช้กับระบบกล้อง analog แต่ถ้าเป็นกล้อง IP เรามักจะเรียกว่า NVR (Network Video Recorder) ซึ่งเป็นการบันทึกภาพลง hard disk เช่นกัน แต่การเช่ือมต่อจะผ่านระบบ network แทนสาย coax (RG6) 4. ไฟสาหรับกลอ้ งและเครือ่ งบันทกึ ภาพ กลอ้ งทกุ ตัวจะต้องมีไฟเล้ียง ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็น 12V แต่บางรุ่นจะเป็น 24V แล้วแตผ่ ้ผู ลิต นอกจากไฟเลีย้ งทกี่ ล้องแล้ว เคร่อื งบันทกึ กจ็ ะตอ้ งการไฟเลี้ยง เพื่อให้ระบบทางานอีกด้วย 2.1.5 Linebot เป็น Line Official Account ท่ีได้นา Messaging API มาใช้เป็นบริการ API ตัวหน่ึงที่เปิดให้บริการสาหรับนักพัฒนา โดยเจ้าของ Line Official Account จะทาการกาหนดหรอื ตั้งค่าไวด้ า้ นหลงั บา้ นของบริการ เพ่ือให้สามารถโต้ตอบกับ ผู้ใช้งานได้โดยท่ีไม่ต้องใช้คนมาเป็นคนตอบ ซึ่งถือเป็นข้อดีของการใช้บริการน้ี เพราะนอกจากจะทาให้ผู้ใช้ใช้งานได้ ง่ายมากข้ึนแล้ว ผู้ที่เป็นแอดมินก็จะสะดวกสบายมากข้ึนเช่นกัน เพราะไม่ต้องมาคอยตอบคาถามที่ถามซ้าๆ หรือไม่ จาเป็นต้องมาน่ังเก็บข้อมูลทีละคน เพราะบริการน้ีจะช่วยเหลือคุณได้ทุกอย่างที่สามารถทาได้ บริการตัวนี้ช่วยให้ ออกแบบ Message โต้ตอบกับผู้ใช้งานได้ตามต้องการ โดยมีรูปแบบใหม่ๆ ที่สร้างขึ้นได้ ได้แก่ Text, Confirm และ Carousel ซ่ึงเมื่อรูปแบบท่ีเราสร้างออกมาน้ัน จะอยู่ในรูปของ Flex Message โดยจะใช้ JSON ในการสร้าง โดย ประเภทของการส่งข้อมูลจะเป็นรูปแบบของ Flex นอกจากท่ีจะไปกาหนดค่าที่โต้ตอบกับผู้ใช้งานจากการต้ังค่าไว้ที่ ด้านหลังบ้านแล้วนั้น ก็สามารถไปดึงข้อมูลจากเว็บไซต์ของคุณเองหรือกูลเกิล แต่บริการนี้มักจะใช้งานควบคู่กับการ ทา Rich Menu นอกจากน้ียังสามารถตอบกลับผู้ใช้งานได้เองตลอด 24 ชม. ช่วยให้ผู้ใช้งานแก้ไขปัญหาได้ใน เบื้องต้นอย่างว่องไว ไม่ต้องรอคอยเป็นเวลานาน สร้างความประทับใจ และช่วยลดต้นทุนในการจ้างแอดมินเพื่อมา คอยตอบคาถามตลอดเวลา 2.1.6 sensor ตรวจจับการเคล่ือนไหว 1. PIR sensor (Passive infra-red sensor) หรอื เซน็ เซอร์ตรวจจับคลื่นอินฟราเรด คือ อุปกรณ์ sensor ชนิดหน่ึงที่ ใชต้ รวจจับคลนื่ รงั สี Infrared ท่ีแพร่จากมนษุ ย์ หรือ สัตว์ ที่มีการเคลื่อนไหว ทาให้มีการนาเอา PIR มาประยุคใช้งาน กันเป็นอย่างมากใช้เพื่อตรวจจับการเคล่ือนไหวของสิ่งมีชีวิต หรือ ตรวจจับการบุกรุกในงานรักษาความปลอดภัย การทางานของ PIR Sensor ภายใน PIR จะมีอุปกรณ์ตรวจจับรังสี Infrared อยู่ 2 ชุดด้วยกัน เม่ือมีคนหรือสัตว์ ที่มี ความอบอุ่นในร่างกายเคล่ือนที่ผ่านเข้ามาในพ้ืนท่ีโซนที่ PIR สามารถตรวจจับคล่ืนรังสี Infrared ท่ีแพร่ออกมาจาก ส่ิงมีชีวิตได้ PIR จะเปลี่ยนคลื่นรังสี Infrared ให้กลายเป็น กระแสไฟฟ้าดังรูป จะเห็นว่าเม่ือมีสิ่งมีชีวิตเคลื่อนท่ีผ่าน อุปกรณ์ตรวจจับรังสี Infrared ตัวที่ 1 จะได้สัญญาณ Output ออกมาสูงกว่าแรงดันปกติ และเม่ือส่ิงมีชีวิตเคลื่อนที่ ผา่ นอปุ กรณ์ตรวจจบั รงั สี Infrared ตวั ท่ี 2 จะไดแ้ รงดัน Output ต่ากว่าคา่ แรงดันปกติ
15 ภาพท่ี 5 PIR sensor (Passive infra-red sensor) 2. Ultrasonic sensor หรือ เซนเซอร์ชนิดอัลตราโซนิก เป็นเซนเซอร์ท่ีทางานโดยอาศัยคล่ืนเสียงที่มีความถ่ีสูงกว่า 20 กิโลเฮิร์ต (kHz) ซึ่งเป็นคลื่นในย่านที่มนุษย์ไม่สามารถได้ยินเสียง ทางานโดยอาศัยการกระจายหรือการเคล่ือนท่ี ของคล่ืนเสียงไปกระทบกับพ้ืนผิวของตัวกลาง ซ่ึงอาจเป็นของแข็งหรือของเหลว บางส่วนของคล่ืนเสียงจะแทรกผ่าน เข้าไปในตัวกลางนั้น และส่วนใหญ่ของคลื่นความถ่ีสูงนี้จะสะท้อนกลับเรียกว่า \"Echo\" โดยช่วงเวลาของการสะท้อน กลับของคลื่นเสียงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะห่างระหว่างวัตถุกับเซนเซอร์ โดยท่ัวไปนิยมใช้อัลตราโซนิกเซนเซอร์ สาหรับการวัดระยะทาง (distance measurement) ของวัตถุหรือการวัดระดับ (level measurement) ของเหลว สามารถใชง้ านกับวตั ถุทง้ั ชนิดโลหะและอโลหะทกุ เฉดสี โปร่งใส โปร่งแสงหรือทึบแสง ตรวจจับวัตถุได้หลายขนาด ไม่ เหมาะกับวัตถทุ ่ีมคี ุณสมบตั ิการยืดหยุน่ หรอื คณุ สมบตั ิการดดู ซบั เสยี ง เช่น ผ้า ฝุ่นผง โฟมหรอื ฟองน้า ซ่ึงจะดูดซับคล่ืน เสียงไม่ให้สะท้อนกลับมายังตัวรับสัญญาณ และเนื่องจากลักษณะการสะท้อนกลับของเสียงขึ้นอยู่กับมุมตกกระทบท่ี ทาให้เสียงกระจายไปในทิศทางต่าง ๆ จึงไม่เหมาะกับวัตถุท่ีมีลักษณะเป็นก้อนๆไม่สม่าเสมอ ผลที่ได้จากการสะท้อน กลบั ของคลน่ื อลั ตราโซนกิ ท่ีใช้กับวัตถุลักษณะนี้จะมีความเท่ียงตรง (precision) ต่า สาหรับวัตถุที่มีผิวเรียบคล่ืนเสียง ที่มาตกกระทบส่วนใหญ่จะสะท้อนออกจากพ้ืนผิวนั้นอย่างมีระเบียบ ค่าความเที่ยงตรงที่ได้จากการวัดจะมีค่าสูง มากกว่า โดยตาแหน่งของเซนเซอร์ท่ีต้ังฉากกับพื้นผิวของวัตถุจะให้ประสิทธิภาพในการสะท้อนคล่ืนกลับมายังตัวรับ มากท่ีสดุ ในสภาวะแวดล้อมท่มี ฝี ุ่นละอองหรือมีไอน้าในอากาศ เสียงอาจถูกดูดซึมไปบ้างและสูญเสียพลังงานไปในรูป ของพลังงานความร้อน อย่างไรก็ตาม เม่ือเปรียบเทียบกับเซนเซอร์ชนิดแสง (optical sensor/photo sensor) เซนเซอร์ชนิดน้ีได้รับผลกระทบจากละอองไอน้าท่ีน้อยกว่า เม่ือพิจารณาอุณหภูมิท่ีพ้ืนผิวของวัตถุ พบว่าวัตถุที่มี อุณหภูมิ สูงจะทาให้เกิดความผิดเพี้ยนของการวัดข้ึน โดยทาให้ระยะการตรวจจับสั้นลง ผลที่ได้จะไม่แน่นอน เนือ่ งจากเสยี งทเ่ี ดินทางผ่านอากาศท่ีมีอุณหภูมิสูงมีความเร็วสูงกว่าเสียงที่เดินทางผ่านอากาศที่มีอุณหภูมิต่ากว่า การ ติดตั้งเซนเซอร์ชนดิ ใช้เสียงตัง้ แต่ 2 ตัวข้ึนไป ตอ้ งระวงั การสอดแทรกหรือการกวนกันของคล่ืนเสียงความถ่ีสูงที่เกิดข้ึน จากเซนเซอรแ์ ต่ละตัว โดยระยะห่างระหว่างตัวเซนเซอร์พิจารณาจากรัศมีของการแผ่กระจายคล่ืนความถ่ีที่ส่งออกไป และในการติดต้ังเซนเซอร์ต้องระวังมุมอับที่สัญญาณเสียงไม่สามารถเดินทางผ่านไปได้ หรือเรียกว่า บริเวณ \" blind zone หรือ dead zone\" ภาพท่ี 6 Ultrasonic sensor
16 3. Microwave sensor เซนเซอรท์ เ่ี อาไว้ใช้ตรวจจบั ความเคล่ือนไหว นยิ มใช้กบั ประตูอตั โนมตั ิ จงึ เรยี กมันวา่ เซนเซอร์ ประตอู ตั โนมัติ ซ่ึงเซนเซอรช์ นดิ น้ีเปน็ เซนเซอร์ที่มีหลากหลายแบบ มีทั้งแบบวงกลม แบบสี่เหล่ียม เราจะเห็นกันตาม ประตูเซเว่นหรือประตูห้าง การทางานของมันก็สามารถตรวจจับสิ่งที่เคล่ือนไหวในบริเวณที่ตั้งค่าไว้ได้ นอกจากนี้มัน ยังมคี วามทนั สมยั เรียกได้ว่าเปน็ อุปกรณเ์ สริมทเ่ี หมาะกับประตเู ป็นอย่างมาก ภาพที่ 7 Microwave sensor 2.1.7 PIR HC-SR501 เป็นเซนเซอร์ตรวจจับความเคล่ือนไหว Motion Sensor Module ซึ่ง Motion Sensor ใช้สาหรับตรวจจับความ เคล่ือนไหวจากความร้อน เช่น ส่ิงมีชีวิต เม่ือมีคนเดินผ่าน motion sensor switch ก็จะจับค่าความร้อนที่เปล่ียน แปลงแล้วส่งค่าสัญญาณมีไฟออกมา ในกรณีท่ีไม่มีการเปล่ียนแปลงส่งค่าไฟสัญญาณ 0V ออกมา เราสามารถนาค่านี้ ไปสัง่ ควบคุม Arduino ได้ สามารถปรับเวลาหนว่ งเวลาในการตรวจจับครง้ั ตอ่ ไปได้ ปรับระยะทางการตรวจจับได้ 3-7 เมตร มชี ่องให้ต่อ LDR เพิม่ เพอ่ื ให้ทางานตรวจจบั แคต่ อนกลางคืน ภาพท่ี 8 PIR HC-SR501 2.1.8 ESP32-CAM โมดูลพิเศษท่ีใช้ความสามารถของ ESP32 ในการส่ือสารกับสัญญาณ wireless ท้ังเป็นตัวรับสัญญาณ (Station- mode) และตวั ปลอ่ ยสัญญาณ (Access point-mode) ได้ในตวั เดยี ว ภายหลังมีการพัฒนารุ่นใหม่ที่มีการติดต้ังกล้อง เข้าไปเพื่อใช้ประโยชน์จาก cpu ที่เร็วว่า arduino หลายเท่าในการรับข้อมูลจากกล้อง ov2640 ที่มีความละเอียด
17 เกือบ 2 ล้านพิกเซล มาส่งข้อมูลไร้สายหรือเก็บภาพไว้ใน microSD card ในตัวก็ได้ ส่วนตัว ESP32-cam รุ่นน้ีเป็น โมดูลทไ่ี ม่มี micro USB ให้ในการใช้อพั โหลดโปรแกรม ดงั นน้ั ตอ้ งใช้ USB to TTL สาหรับช่วยในการอัพโหลด ภาพท่ี 9 ESP32-CAM 2.1.9 สายไฟจมั เปอร์ 1. สายไฟจมั เปอร์ female-female เหมาะสาหรับใช้งานในวงจรทั่วๆไปหรือใช้กับอุปกณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มี PIN ตัวผู้ เช่น บอร์ด Arduino Nano ท่ีตัว Pin ของบอร์ดเป็นตัวผู้ และนอกจากนี้ยังสามารถใช้ร่วมกับสายจัมป์แบบ male- male เพ่อื ตอ่ เพ่ิมความยาวของสายไฟ มีขนาด 26 AWG สามารถทนกระแสสูงสุดได้ 2.2 A ถ้าต่อสายแบบ Chassis Wiring (ตอ่ แบบแยกสาย) สามารถทนกระแสได้ 0.36 A ถ้าต่อแบบ Power Transmission (รวมเป็นกระจกุ ) 2. สายไฟจัมเปอร์ male-male เหมาะสาหรับใช้งานในวงจรทั่วๆไป เช่น วงจรทดลองบน Protroboard เพราะมีหัว เข็มหรือ Pin Header ท่ีออกแบบมาใช้สาหรับเสียบลงบน Protoboard โดยเฉพาะ หรือใช้งานกับบอร์ด Arduino รุ่น UNO หรือรุ่นอ่ืนๆที่มี Socket ตัวเมีย มีขนาด 26 AWG สามารถทนกระแสสูงสุดได้ 2.2 A ถ้าต่อสายแบบ Chassis Wiring (ต่อแบบแยกสาย) สามารถทนกระแสได้ 0.36 A ถ้าต่อแบบ Power Transmission (รวมเป็น กระจกุ ) ภาพท่ี 10 สายไฟจัมเปอร์ 2.1.10 การเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรม (Coding) เป็นข้ันตอนการเขียนชุดคาสั่งด้วยภาษาโปรแกรม เพื่อพัฒนาหรือสร้างโปรแกรม คอมพิวเตอร์ให้สามารถทางานได้ตรงตามความต้องการ โดยเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น ผู้เขียนจะต้องเขียน
18 ชดุ คาส่งั ตามโครงสร้าง (Structure) และไวยากรณ์ (Syntax) ของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้ โดยชุดคาสั่ง ทไ่ี ดจ้ ากขัน้ ตอนการเขยี นโปรแกรมนี้ เรียกวา่ ซอร์สโคด้ (Source Code) การเขียนโปรแกรมมีขัน้ ตอน ดังนี้ 1. เขยี นคาสัง่ (Coding) คอื ขัน้ ตอนการเขียนชดุ คาสง่ั ให้ถกู ตอ้ งตามโครงสร้างและไวยากรณ์ของแต่ละภาษา โปรแกรม 2. แปลภาษา (Compile) คือข้ันตอนการแปลชุดคาสั่งจากคาส่ังท่ีเขียนข้ึนมาจาก 1) ให้เป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ โดยภาษาโปรแกรมแต่ละภาษาจะมีโปรแกรมสาหรับแปลชุดคาสั่งเรียกว่า คอมไพเลอร์ (Compiler) ติดตั้งอยู่ในภาษาโปรแกรมน้ันอยู่แล้ว และสิ่งที่ได้จากข้ันตอนการแปลภาษา คือ ไฟล์โปรแกรมท่ีพร้อม ทางาน 3. สั่งให้ไฟล์โปรแกรมทางาน (Run) คือ การเรียกไฟล์โปรแกรมให้ทางานตามความต้องการ การเขียน โปรแกรมคอมพวิ เตอร์พ้นื ฐานนั้นจะประกอบด้วยคาสั่งต่างๆ ดังนี้ คาสั่งการประกาศตัวแปร เพื่อสร้างตัวแปรสาหรับ เกบ็ คา่ ต่างๆ เช่น ข้อมูลนาเข้า ผลลพั ธก์ ารประมวลผล เปน็ ตน้ 2.1.11 Arduino IDE Arduino Integrated Development Environment (IDE) หรือที่เรียกว่า Arduino Environment Environment เปน็ โปรแกรมทอี่ อกแบบมาเพ่อื ใหง้ า่ ยต่อการเขียนซอฟตแ์ วร์สาหรบั แพลตฟอรม์ โอเพน่ ซอร์สน้ี แพลตฟอร์ม Arduino เป็นแพลตฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยมท่ีออกแบบมาเพ่ือลดความซับซ้อนของกระบวนการออกแบบอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ การใช้งานทั่วไป ได้แก่ หุ่นยนต์เทคโนโลยีการปรับปรุงบ้านคอมพิวเตอร์ที่สวมใส่ได้และแอปพลิเคชัน อิเล็กทรอนิกส์ที่แปลกใหม่ สิ่งประดิษฐ์ Arduino ส่วนใหญ่ได้รับการพัฒนาโดยใช้ Arduino IDE ซ่ึง IDE มักใช้โดย โปรแกรมเมอร์เพ่ือเร่งกระบวนการเขียนโปรแกรม คุณสมบัติทั่วไปของ IDE รวมถึงการกาหนดหมายเลขบรรทัด อัตโนมัติการเน้นไวยากรณ์และการรวบรวมแบบรวม แม้ว่าจะเป็นไปได้ในทางเทคนิคที่จะเขียนซอฟต์แวร์โดยใช้ โปรแกรมแก้ไขข้อความอย่างง่าย แต่กระบวนการนั้นง่ายกว่ามากเม่ือเขียนโค้ดใน IDE ภาษาการเขียนโปรแกรม จานวนมากมี IDEs ของตนเองและมีการพัฒนา IDE สาหรับวัตถุประสงค์ทั่วไปหลายอย่าง IDE วัตถุประสงค์ท่ัวไป เหลา่ น้ีสามารถใชก้ ับภาษาการเขยี นโปรแกรมทร่ี องรับได้หลากหลาย
บทท่ี 3 19 วิธีการดาเนินงาน 1 ตัว 3.1 วัสดุ-อปุ กรณ์ 1 ตวั วสั ดุ 1 ตวั 1 ตัว 1. ESP32 CAM Wifi with OV2640 module 1 แผง 2. USB Programmer 1 แผง 3. Step up 18650 Lithuim 3.7v to 12v 1 แผง 4. 18650 Li-ion 5C 3.7v 2600mAh 25A 1 กล่อง 5. สายไฟจัมเปอร์ female-female ยาว 10 cm. 1 ชนิ้ 6. สายไฟจัมเปอร์ female-male ยาว 10 cm 1 เส้น 7. สายไฟจัมเปอร์ male-male ยาว 10 cm 8. กลอ่ งพักสายไฟทรงส่เี หลี่ยม ขนาด 4*4 น้วิ 1 อนั 9. Robotic arm 1 เลม่ 10. สายแปลง usb กับ dc 1 อัน 2 อนั อปุ กรณ์ 1. บัดกรี 2. กรรไกร 3. สว่านไฟฟา้ 4. สกรู รูปวัสดุ CAM Wifi with OV2640 module USB Programmer Step up 18650 Lithuim 3.7v to 12v
20 18650 Li-ion 5C 3.7v 2600mAh 25A สายไฟจัมเปอร์ female-male 10 cm สายไฟจัมเปอร์ male-male 10 cm สายไฟจัมเปอร์ female-female 10 cm กลอ่ งพักสายไฟขนาด 4*4 นิ้ว Robotic arm สายแปลง usb กบั dc รูปอุปกรณ์ บัดกรี กรรไกร
21 สวา่ นไฟฟ้า สกรู 3.2 วธิ กี ารทดลอง/ศกึ ษา 3.2.1 ซอฟต์แวร์ 1. เขยี นโปรแกรมให้ ESP32 เช่อื มต่อกบั WIFI โดยใส่ชื่อและรหัสWIFI สารอง เม่ืออุปกรณต์ รวจเครอื ข่ายแรก ท่รี ะบุไว้ไม่พบ อุปกรณ์จะแสกนหาเครือขา่ ยต่อไปตามลาดับทรี่ ะบุไว้
22 2. เขียนโปรแกรมให้ ESP32 ทาการบันทึกภาพใบหน้าโดยบันทึกใบหน้า 5 ครั้ง และสามารถบันทึกข้อมูล ใบหนา้ 7 บคุ คล 3. เขยี นโปรแกรมใหก้ ล้องของ ESP32 หาใบหนา้ ของบุคคลและถ่ายภาพใบหน้า
23 4. เขยี นโค้ดให้นาภาพที่ได้เปรียบเทยี บกับฐานข้อมลู และสง่ ขอ้ มูลเขา้ สู่ Line Notification ถา้ ภาพใบหน้าตรงกบั ฐานข้อมลู จะสง่ ขอ้ ความ Match Face ID ถ้าภาพใบหนา้ ไม่ตรงกบั ฐานข้อมูลจะส่งขอ้ ความ No Match Face
24 จากน้ันอุปกรณจ์ ะส่งรูปภาพ 3.2.2 ฮาร์ดแวร์ 1. บดั กรสี ายไฟและต่อวงจรอุปกรณ์ 2. เจาะกล่องพกั สายไฟขนาด 4*4 น้ิว ด้วยสวา่ นไฟฟา้ ยดึ กลอ่ งประกอบเขา้ กบั แขนกล
25 3. ตดิ ตง้ั ESP32 และ HC-SR501 ลงในกล่องเกบ็ อปุ กรณ์ 4. เจาะฝากล่องเป็นรูวงกลม 1.1 เซนติเมตร ด้วยสว่านไฟฟ้า สาหรับให้กล้อง และรูวงกลมขนาด 0.8 เซนติเมตร สาหรบั ติดตงั้ สวติ ช์ 5. นาอุปกรณท์ ตี่ อ่ วงจรแลว้ บรรจลุ งในกลอ่ ง ชน้ิ งานท่สี มบูรณ์
26 3.3 วิธกี ารเกบ็ ข้อมูล/ทดสอบประสิทธิภาพ 3.3.1 การทดสอบประสทิ ธภิ าพในการตรวจจบั คนในระยะ 15 30 และ 45 เซนติเมตร ตวั แปรตน้ : ระยะหา่ งระหว่างตัวคนกบั อปุ กรณ์ ตัวแปรตาม : ความสามารถในการตรวจจบั ใบหนา้ ของอุปกรณ์ ตัวแปรควบคุม : จานวนคน สถานที่ วธิ ีการทดลองท่ี 1 1. ใหค้ นเดนิ ผา่ นบรเิ วณทมี่ อี ุปกรณ์ติดต้งั ด้วยระยะห่าง 15 30 45 เซนตเิ มตรตามลาดบั 2. ดูประสิทธภิ าพในการตรวจจบั ของอุปกรณ์ 3. ทาการทดลองในแตล่ ะระยะจานวน 10 คร้งั สงั เกตการณท์ างานของอปุ กรณ์ 4. บันทกึ ผล และหาคา่ เฉลย่ี 3.3.2 การทดสอบความสามารถในการแยกแยะใบหน้าและส่งข้อความแจ้งเตือนเขา้ สู่ Line Notification ใน ระยะห่าง 15 เซนติเมตร ตวั แปรตน้ : ผูท้ ดลอง ตวั แปรตาม : การจาแนกบุคคลจากฐานข้อมลู ของอุปกรณ์ การส่งภาพและข้อความแจ้งเตือนเข้าไลน์ ตวั แปรควบคมุ : ระยะหา่ ง จานวนคน สถานท่ี ฐานขอ้ มูล ขอ้ ความทส่ี ง่ เข้าในไลน์ วิธกี ารทดลองท่ี 2 1. ใหบ้ คุ คลทมี่ ีขอ้ มูลใบหนา้ ในฐานขอ้ มลู ของอุปกรณเ์ คล่ือนที่ผา่ นอุปกรณ์ 2. ดูความสามารถในการจาแนกตัวบุคคลระหว่างรจู้ ักและไมร่ ู้จกั จากฐานข้อมลู 3. สงั เกตการส่งรปู และข้อความเข้าสู่ Line Notification โดยเม่ือเปน็ บุคคลท่ีมีข้อมูลในฐานขอ้ มลู จะส่งรปู และข้อความ “Match Face” เป็นบคุ คลท่ีไม่มีข้อมลู ในฐานข้อมูลจะสง่ รปู และข้อความ “No Match Face” 4. ทาการทดลองซา้ โดยใช้คนท่มี ขี ้อมูลในฐานข้อมูล 10 คร้ัง คนทไ่ี ม่มีข้อมลู ในฐานขอ้ มลู 10 คร้ัง 5. สังเกตการณ์ทางานของอปุ กรณ์ 6. บนั ทึกผล และหาค่าเฉล่ยี
27 บทที่ 4 ผลการศึกษา ตารางบนั ทึกผล ตารางท่ี 1 แสดงประสิทธิภาพในการตรวจบคุ คลจากระยะต่างกนั จานวนครง้ั ท่ีทดสอบ(ครั้ง) ระยะห่างระหว่างบุคคลกับตวั อุปกรณ์ (cm.) 15 cm 30 cm 45 cm 1 2 10 7 5 3 100 70 50 4 5 6 7 8 9 10 รวม ร้อยละ (%) นิยามเคร่ืองหมาย ความหมาย คอื สามารถตรวจพบและสามารถสง่ ข้อมลู ได้ ความหมาย คือ ไม่สามารถตรวจพบและไมส่ ามารถส่งข้อมลู ได้ จากตารางบันทกึ ผลที่ 1 แสดงความสามารถในการวัดความเเม่นยาของ Sensorท่ีตรวจจับคน พบว่า ความถ่ี ในการตรวจทพี่ บไดม้ ากทส่ี ุด คือระยะความใกลข้ องบคุ คลตอ่ กล้องท่ี 30 เซนตเิ มตร โดยมกี ารตรวจพบได้ร้อยละ 100 รองลงมาคือที่ระยะความใกล้ของบุคคลต่อกล้องที่ 45 เซนติเมตร มีการตรวจพบได้ร้อยละ 70 และความสามารถใน การตรวจจับทต่ี า่ ท่สี ุดไดแ้ กร่ ะยะความใกล้ของบคุ คลต่อกล้องท่ี 45 เซนตเิ มตร มกี ารตรวจพบได้รอ้ ยละ 50
28 ตารางที่ 2 แสดงประเภทภาพในการแยกแยะใบหน้า การส่งภาพและการสง่ ข้อความแจง้ เตอื นผา่ น Line Notification ในระยะหา่ ง 15 เซนตเิ มตร ประสิทธิภาพในการทางานของอุปกรณ์ จานวนคร้งั บคุ คลท่ีมีข้อมลู ในฐานข้อมูล บุคคลที่ไมม่ ีข้อมลู ในฐานข้อมูล ท่ที ดลอง (ครัง้ ) การตรวจจบั สง่ ขอ้ ความ การส่งรปู ภาพ การตรวจจบั ส่งข้อความ การสง่ รูปภาพ 1 และแยกแยะ Match Face เขา้ Line และแยกแยะ No Match เขา้ Line 2 3 ใบหนา้ ID notification ใบหน้า Face notification 4 5 8 7 10 10 10 10 6 80 70 100 100 100 100 7 8 9 10 รวม รอ้ ยละ (%) นยิ ามเคร่ืองหมาย ความหมายคอื สามารถตรวจจับแยกใบหน้า ส่งขอ้ ความ และสามารถสง่ ข้อมลู เขา้ Line Notification ได้ ความหมายคือ ไม่สามารถตรวจจับแยกใบหน้า ไม่สามารถส่งข้อความ และไม่สามารถส่งข้อมูลเข้า Line Notification ได้ จากตารางบันทึกผลที่ 2 แสดงความถูกต้องของการแยกแยะระหว่างข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลและไม่อยู่ใน ฐานข้อมูล บุคคลที่มีข้อมูลในฐานข้อมูล ความแม่นยาในการการตรวจจับและแยกแยะใบหน้าอยู่ที่ร้อยละ 80 ความ แม่นยาในการส่งข้อความท่ีถูกต้องเข้า Line Notification อยู่ที่ร้อยละ 70 ความแม่นยาในการส่งรูปภาพเข้า Line Notification อยู่ท่รี ้อยละ 100 บุคคลที่ไม่มีข้อมูลในฐานข้อมูล ความแม่นยาในการการตรวจจับและแยกแยะใบหน้า อยู่ท่ีร้อยละ 100 ความแม่นยาในการส่งข้อความที่ถูกต้องเข้า Line Notification อยู่ท่ีร้อยละ100 ความแม่นยาใน การส่งรูปภาพเขา้ Line Notification อยูท่ ีร่ อ้ ยละ 100
29 บทที่ 5 สรปุ ผลการศกึ ษา/ทดลอง/ทดสอบประสทิ ธภิ าพ และข้อเสนอแนะ 1. สรปุ ผลการทดลอง จากผลการทดลองข้างตน้ สามารถสรปุ ไดว้ า่ สามารถออกแบบระบบกล้องวงจรปิดท่ีสามารถส่งข้อความแจ้งเตือน ทางแอพลิเคชั่นไลน์มายังผู้ใช้โดยเคร่ืองมือ Linebot และสามารถออกแบบระบบกล้องวงจรปิดที่สามารถตรวจจับ และระบุว่าบุคคลที่เข้ามาภายในบ้านมีข้อมูลในฐานข้อมูลหรือไม่ได้สาเร็จ หลังจากนาไปทดสอบประสิทธิภาพทั้ง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านความแม่นยาของ Sensor พบว่า ความถ่ีในการตรวจพบได้มากที่สุดคือระยะความใกล้ของบุคคลต่อ กล้องท่ี 15 เซนติเมตร มีการตรวจพบได้ร้อยละ 100 รองลงมาคือที่ระยะความใกล้ของบุคคลต่อกล้องท่ี 30 เซนตเิ มตร มีการตรวจพบไดร้ อ้ ยละ 70 และความสามารถในการตรวจจบั ที่ตา่ ทส่ี ุดได้แกร่ ะยะความใกล้ของบุคคลต่อ กล้องท่ี 45 เซนตเิ มตร มีการตรวจพบไดร้ อ้ ยละ 60 ด้านความถูกต้องของการแยกแยะระหวา่ งข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูล และไมอ่ ยู่ในฐานข้อมูล บคุ คลท่มี ขี ้อมลู ในฐานข้อมูล ความแมน่ ยาในการการตรวจจับและแยกแยะใบหน้าอยู่ที่ร้อยละ 80 ความแม่นยาในการส่งข้อความท่ีถูกต้องเข้า Line Notification อยู่ที่ร้อยละ 70 ความแม่นยาในการส่งรูปภาพ เข้า Line Notification อยู่ท่ีร้อยละ 100 บุคคลที่ไม่มีข้อมูลในฐานข้อมูล ความแม่นยาในการการตรวจจับและ แยกแยะใบหน้าอยู่ท่ีร้อยละ 100 ความแม่นยาในการส่งข้อความที่ถูกต้องเข้า Line Notification อยู่ท่ีร้อยละ100 ความแม่นยาในการสง่ รูปภาพเข้า Line Notification อยู่ทีร่ ้อยละ 100 2. อภิปรายผล จากการทดลอง สามารถออกแบบระบบกล้องวงจรปิดท่ีสามารถส่งข้อความแจ้งเตือนทางแอพลิเคชั่นไล น์มายัง ผใู้ ช้โดยเครอ่ื งมือ Linebot ได้สาเร็จ โดยสามารถนาผลการทดสอบมาเปรียบเทียบกนั ไดเ้ ป็นข้อมลู ดงั นี้ 2.1 ทดสอบประสทิ ธิภาพด้านความแม่นยา 1. ผู้ทดลองและตัวกล้องห่างกันเป็นระยะ 15 เซนติเมตร มีประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลมากท่ีสุด กล่าวคือ เมอื่ ทาการทดสอบจานวน 10 ครั้ง สามารถตรวจจบั การเคลอื่ นไหวไดท้ ้ังหมด 10 คร้ัง เน่ืองจากมีระยะห่างระหว่างผู้ ทดลองและตัวกล้องน้อยท่ีสุด ทาให้สามารถตรวจจับการเคลื่อนไหวได้ดีท่ีสุดหากเทียบกับระยะห่าง 30 และ 45 เซนตเิ มตร 2. ผู้ทดลองและตัวกล้องห่างกันเป็นระยะ 30 เซนติเมตร มีประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลรองลงมา กล่าวคือ เมื่อทาการทดสอบจานวน 10 ครั้ง สามารถตรวจจับการเคล่ือนไหวได้ทั้งหมด 7 ครั้ง เนื่องจากมีระยะห่างระหว่างผู้ ทดลองและตวั กล้องรองลงมา ทาให้สามารถตรวจจับการเคลอ่ื นไหวไดด้ ีรองลงมา หากเทียบกับระยะห่าง 15 และ 45 เซนติเมตร 3. ผู้ทดลองและตัวกล้องห่างกันเป็นระยะ 45 เซนติเมตร มีประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลน้อยที่สุด กล่าวคือ เม่ือทาการทดสอบจานวน 10 คร้งั สามารถตรวจจับการเคล่อื นไหวไดท้ งั้ หมด 6 คร้งั
30 2.2 ทดสอบประสทิ ธภิ าพด้านการแยกแยะใบหน้าและส่งข้อความแจง้ เตือนทางแอพลเิ คชั่นไลน์ 1. บคุ คลทีม่ ีขอ้ มลู ในฐานข้อมูล ความแม่นยาในการการตรวจจับและแยกแยะใบหน้าอยู่ท่ีร้อยละ 80 ความ แม่นยาในการส่งข้อความท่ีถูกต้องเข้า Line Notification อยู่ที่ร้อยละ 70 ความแม่นยาในการส่งรูปภาพเข้า Line Notification อยู่ท่ีรอ้ ยละ 100 2. บุคคลท่ีไม่มีข้อมูลในฐานข้อมูล ความแม่นยาในการการตรวจจับและแยกแยะใบหน้าอยู่ท่ีร้อยละ 100 ความแม่นยาในการส่งข้อความท่ีถูกต้องเข้าLine Notification อยู่ท่ีร้อยละ100 ความแม่นยาในการส่งรูปภาพเข้า Line Notification อยู่ทร่ี อ้ ยละ 100 จากการศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลท่เี กี่ยวขอ้ ง สามารถสรุปได้เก่ียวกับระบบกล้องวงจรปิดที่สามารถส่งข้อความแจ้ง เตือนทางแอพลิเคช่ันไลน์มายังผู้ใช้โดยเครื่องมือ Linebot พบว่า ระบบกล้องวงจรปิดสามารถส่งข้อความแจ้งเตือน ทางแอพลิเคชั่นไลน์ รวมถึงมีการบันทึกภาพใบหน้าของผู้ท่ีเข้ามาภายในบริเวณตัวบ้านและสามารถระบุได้ว่าบุคคล นัน้ มขี อ้ มูลอยใู่ นฐานข้อมูลหรอื ไม่ ซงึ่ เป็นไปตามสมมติฐานทไ่ี ด้ตงั้ ไว้ว่า กล้องวงจรปิดสามารถส่งข้อมูลมายัง Linebot เมือ่ มีการเขา้ ออกภายในบา้ นได้ 3. ข้อเสนอแนะ 1. ควรเลือกใช้ Sensor ท่สี ามารถตรวจจบั การเคลอ่ื นไหวได้รอบทศิ 2. ตอ่ ยอดให้สามารถแยกแยะรายละเอยี ดของบุคคลได้มากขึน้ 3. ตอ่ ยอดให้สามารถควบคุมเพื่อเปลี่ยนมมุ กล้องและปรบั โฟกัสไดใ้ นระยะไกล 4. ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับ 1. เจา้ ของบ้านสามารถเพมิ่ ความไวว้ างใจด้านความปลอดภัยได้มากข้นึ 2. เพมิ่ ความสะดวกสบายให้คนที่ไม่มีเวลาตรวจสอบภาพจากกล้องตลอดเวลา และเป็นการนาเทคโนโลยีมา ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 3. สามารถเก็บภาพไว้เป็นหลักฐานในการเอาผิดผู้ท่ีกระทาผิดได้อย่างแน่ชัด ในกรณีเกิดเหตุร้ายต่อเจ้าของ บา้ น
31 เอกสารอ้างองิ [1] Suntechnology Advance Media. ระบบกล้องวงจรปิด ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง, [ระบบออนไลน์], แหล่งท่ีมา : https://www..co.th/content/125/ระบบกล้องวงจรปิด-ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง, เข้าดูเม่ือวันท่ี : 06/08/2563 [2] ThaiEasyElec. Arduino คืออะไร, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา : https://blog.Thaieasyelec.com /what-is-arduino-ch1/ เข้าดเู ม่ือวันท่ี : 16/08/2563 [3] วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์. แนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพของโครงการติดต้ัง กลอ้ งวงจรปดิ เพื่อใชใ้ นโครงการ “หมู่บ้าน/ชมุ ชนอุน่ ใจไดล้ ูกหลานกลับคืน” ของเจ้าหน้าท่ีตารวจชุมชนสัมพันธ์สถานี ตารวจภูธรแสนสขุ , [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.exmba.buu.ac.th/webJGSC/Journal/Volume_ 11-2/Untitled6.pdf เข้าดเู ม่อื วันท่ี : 16/08/2563 [4] SAMRID.COM. Linebot คอื อะไร, [ระบบออนไลน]์ , แหลง่ ที่มา : https://samrid.com/ waht-is-line- bot/ เข้าดเู ม่ือวันท่ี : 16/08/2563 [5] Commandronestore. สายไฟจมั เปอร์, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา : https://commandronestore. com/products/bb503.php เข้าดเู มอื่ วนั ที่ : 14/10/2563 [6] Robot Zero One. ESP32-CAM Face Recognition for Home Automation, [ระบบออนไลน์], แหลง่ ทีม่ า : https://robotzero.one/esp32-face-door-entry/ เข้าดเู มือ่ วันที่ : 07/10/2563 [7] Random Nerd Tutorials. Installing the ESP32 Board in Arduino IDE (Windows, Mac OS X, Linux), [ระบบออนไลน์], แหล่งท่ีมา : https://randomnerdtutorials.com/installing-the-esp32-board-in- arduino-ide-windows-instructions/ เข้าดเู มื่อวันท่ี : 07/10/2563
32 ภาคผนวก
33 ภาพการดาเนนิ งาน ภาพภาคผนวกที่ 1 การวางแปลน ภาพภาคผนวกท่ี 2 การสร้างกลอ่ งเกบ็ อุปกรณ์
34 ภาพภาคผนวกที่ 3 ติดต้ัง ESP32 และ HC-SR501 ลงในกลอ่ งเก็บอุปกรณ์ ภาพภาคผนวกท่ี 4 เขียนโปรแกรมการตรวจจับการเคลอ่ื นไหว
35 ภาพภาคผนวกที่ 5 การประกอบชิ้นงาน ภาพภาคผนวกที่ 6 การแกไ้ ขชิน้ งาน
36 ภาพภาคผนวกที่ 7 การทดสอบประสทิ ธิภาพในการตรวจบคุ คลจากระยะตา่ งกัน ภาพภาคผนวกที่ 8 การทดสอบประสทิ ธิภาพในการแยกแยะใบหน้า
37 ภาคผนวก ก
38 ประวัติผศู้ ึกษา ชอ่ื -นามสกลุ นายเกตโุ พธิ์ ใจสงฆ์ วันเดอื นปเี กิด 3 มกราคม 2546 สายการเรียน วทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประวัตกิ ารศึกษา พ.ศ.2552-2557 โรงเรียนพระมารดานจิ านเุ คราะห์ พ.ศ.2558-2560 โรงเรียนสตรวี ทิ ยา ๒ ในพระราชปู ถัมภฯ์ พ.ศ.2561-ปัจจบุ นั โรงเรยี นสตรวี ทิ ยา ๒ ในพระราชูปถัมภฯ์ หน้าท่ี : รวบรวมขอ้ มูล และจัดทารปู เล่มโครงงาน ชื่อ-นามสกลุ นางสาวณัชชา กิจแสนมาก วนั เดือนปเี กดิ 5 ตุลาคม 2546 สายการเรียน วทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ประวตั ิการศึกษา พ.ศ.2552-2557 โรงเรยี นโชคชยั ลาดพรา้ ว พ.ศ.2558-2560 โรงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชปู ถัมภฯ์ พ.ศ.2561-ปจั จบุ นั โรงเรยี นสตรวี ทิ ยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ หน้าที่ : รวบรวมขอ้ มลู ทาการทดลอง และจัดทารปู เล่มโครงงาน
39 ชอ่ื -นามสกลุ นางสาววศิ รา วงษ์รตั นพิพฒั น์ วนั เดอื นปีเกดิ 5 ตลุ าคม 2546 สายการเรียน วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประวตั ิการศึกษา พ.ศ.2552-2557 โรงเรยี นโสมาภานวมนิ ทร์ พ.ศ.2558-2560 โรงเรียนสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชปู ถัมภฯ์ พ.ศ.2561-ปัจจุบนั โรงเรียนสตรวี ทิ ยา ๒ ในพระราชูปถมั ภ์ฯ หน้าท่ี : ทาชิ้นงาน ทาการทดลอง และจัดทารูปเลม่ โครงงาน ชือ่ -นามสกลุ นางสาวสธุ าธาร ศภุ ชยารักษ์ วันเดอื นปีเกิด 5 กมุ ภาพันธ์ 2546 สายการเรียน วิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ประวตั กิ ารศึกษา พ.ศ.2552-2557 โรงเรยี นเอกชัย พ.ศ.2558-2560 โรงเรียนสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชูปถมั ภฯ์ พ.ศ.2561-ปจั จบุ นั โรงเรยี นสตรวี ิทยา ๒ ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ หน้าท่ี : รวบรวมขอ้ มลู ทดสอบประสทิ ธภิ าพ และจัดทารปู เลม่ โครงงาน
40 ชอื่ -นามสกุล นางสาวขวญั ขา้ ว ล้ีนา วนั เดอื นปเี กิด 29 มกราคม 2546 สายการเรยี น วทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ประวตั ิการศึกษา พ.ศ.2552-2557 โรงเรียนทบั ทอง พ.ศ.2558-2560 โรงเรียนสตรวี ิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์ฯ พ.ศ.2561-ปัจจบุ ัน โรงเรียนสตรวี ิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภฯ์ หนา้ ที่ : รวบรวมข้อมลู และจัดทารปู เลม่ โครงงาน ชอ่ื -นามสกลุ นางสาวกวนิ ธิดา ป่นิ ทอง วนั เดอื นปเี กิด 5 กุมภาพันธ์ 2546 สายการเรียน วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ประวตั กิ ารศึกษา พ.ศ.2552-2557 โรงเรยี นนราธปิ พทิ ยา พ.ศ.2558-2560 โรงเรยี นบดินทร์เดชา2 พ.ศ.2561-ปัจจบุ ัน โรงเรียนสตรีวทิ ยา ๒ ในพระราชปู ถัมภ์ฯ หน้าที่ : ทาชนิ้ งาน ทาการทดลอง และจดั ทารปู เลม่ โครงงาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: