ใบงานการทดลองท่ี 7 การใชง้ านโมดูล Analog to Digitalวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมเพือ่ ใหน้ ักศกึ ษาสามารถ 1. เขียนโปรแกรมเพื่ออา่ นคา่ แอนะล็อกจากตวั ตา้ นทานปรับค่าไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 2. เขียนโปรแกรมเพือ่ อา่ นคา่ แอนะลอ็ กแล้วนาไปแสดงผลบน Serial Monitor ได้อย่างถกู ตอ้ ง 3. ใช้งานโมดลู LM35 เพอื่ แสดงค่าอณุ หภมู ผิ า่ น Serial Monitor ไดอ้ ย่างถกู ต้อง 4. เขยี นโปรแกรมเพื่ออ่านค่าแอนะล็อกจาก Navigation Switch แล้วนาไปแสดงผลบน Serial Monitor ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งอุปกรณ์ประกอบการทดลอง 1 เครื่อง 1 บอร์ด 1. คอมพิวเตอร์ทีม่ ีชอ่ งเสยี บ USB 1 บอร์ด 2. บอร์ด Arduino Mega 2560 5 เสน้ 3. บอร์ด One the all 1 เส้น 4. สายเชือ่ มตอ่ 5. สาย USB type A to USB type Bลงชือ่ ผูท้ ดลอง 1. _____________________________ 2.__________________________________ทฤษฎที ่เี ก่ียวข้อง ลกั ษณะของสัญญาณในงานอิเล็กทรอนิกส์น้ัน นอกจากจะเป็นในลักษณะของสัญญาณดิจิทัลแล้ว ยังมีสัญญาณที่เป็นแอนะล็อกอีกชนิดหน่ึง ซ่ึงไมโครคอนโทรลเลอร์อาร์ดุยโนน้ันมีโมดูลสาหรับการอ่านค่าแอนะล็อกไว้เพอ่ื นามาใช้งานต่อไปได้ โดยคาสง่ั ท่ีเกย่ี วขอ้ งต่อการใช้งานโมดูลนนั้ มีดงั น้ี คาส่ัง analogRead(PIN); ตัวอยา่ ง int data = analogRead(A0); จากตวั อย่างข้างต้นจะเป็นการประกาศตัวแปร data ซ่ึงเป็นชนิด int ซ่ึงใช้เก็บค่าท่ีอ่านค่าแอนะล็อกไดจ้ ากขาสัญญาณแอนะล็อก A0 นน่ั เอง ซึง่ คา่ ที่ได้จะอยูใ่ นช่วง 0 – 1023 นั่นเอง หนังสือชดุ ฝกึ ดา้ นดิจิทลั 147
โดยแหล่งสัญญาณที่จะใช้การอ่านค่าแบบแอนะล็อกน้ัน จะต้องมีลักษณะท่ีเป็นแรงดัน โดยมีแรงดันสูงสุดไม่เกนิ 5VDC และแรงดนั ต่าที่สุดไม่ต่ากวา่ 0VDCแหล่งสัญญาณแอนะลอ็ กจากตัวต้านทานปรับค่าได้ อปุ กรณต์ วั หนึ่งทีน่ ิยมนามาใชเ้ พอ่ื แบง่ แรงดัน และสามารถนามาทดสอบการอา่ นค่าแบบแอนะล็อกได้น่นั คอื ตัวต้านทานปรบั ค่าได้ ซึ่งแสดงไดด้ งั รูปที่ 7-1 รปู ใบงานท่ี 7-1 ตัวตา้ นทานปรับค่าได้ การทดสอบการอ่านค่า ADC อย่างง่าย สามารถโดยการใช้ตัวต้านทานปรับค่าได้ ต่อวงจรในลักษณะดังรูปใบงานที่ 7-2 ก็สามารถทจ่ี ะใชท้ ดสอบการอ่านค่าแบบแอนะลอ็ กได้ รปู ใบงานท่ี 7-2 การตอ่ วงจรตัวตา้ นทานปรับคา่ ได้เพื่อใช้ในวงจรแอนะลอ็ ก148 หนงั สือชุดฝึกดา้ นดิจิทัล
โดยจากรูปใบงานท่ี 7-2 เป็นการแบ่งแรงดันอย่างง่าย โดยภาพด้านขวาจะเป็นตัวอย่างขณะหมุนตัวต้านทานปรับค่าได้ ไปที่ตาแหน่ง 50% จึงเป็นการกระจายความตา้ นทานในตัวต้านทานไปทั้งสองฝั่งเท่าๆ กันโดยทั้งนี้เพราะว่าการต่อวงจรในลักษณะดังกล่าวเสมือนเป็นการต่อวงจร โดยมีตัวต้านทานสองตัวต่ออนุกรมกัน ซ่ึงเป็นการต่อวงจรแบบแบ่งแรงดัน (Voltage Divider) นั่นเอง และหากคานวณก็จะทราบได้ว่าแรงดันVout ก็จะมีค่าเท่ากับ 50% ของ 5VDC เช่นเดียวกัน น่ันคือ 2.5VDC และหากทดสอบอ่านค่าด้วยฟังก์ช่ันanalogRead() ก็ จ ะได้ ค่ าท่ี ป ระม าณ 512 โด ย แส ด งก ารเป รีย บ เที ย บ ค่ า 10Bit แ ละแ รงดั น ได้ดังตารางใบงานท่ี 7-1ตารางใบงานที่ 7-1 ขอ้ มลู ขนาด 10 บติ เปรียบเทยี บกับแรงดัน 0-5VDC10Bit read Vout (VDC) 1023 5.00 921 4.50 818 4.00 716 3.50 614 3.00 512 2.50 409 2.00 307 1.50 205 1.00 102 0.50 0 0.00 โดยจากตารางข้างต้นจะเห็นได้ว่า ค่าที่ได้จากการอ่านค่าแอนะล็อกนั้น จะมีลักษณะสัมพันธ์กับค่าแรงดันที่เปล่ียนไป ซ่ึงโดยทั่วไป ผู้ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ จะนาข้อมูลเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป เช่น คา่ แรงดนั ทีส่ ่งมาจากเซนเซอร์ หรือคา่ แรงดนั ทสี่ ่งมาจากแหล่งต่างๆ แล้วอา่ นค่าเข้ามาเพื่อใช้คานวณค่า และใชง้ านตอ่ ไป หนงั สอื ชดุ ฝกึ ด้านดจิ ิทลั 149
การทดลองย่อยท่ี 1 การอา่ นคา่ แอนะล็อกจากตัวต้านทานปรบั ค่าได้ แลว้ ไปแสดงผลผ่าน Serial Monitorขั้นตอนการทดลอง ในการทดลองนี้ จะเป็นการอ่านคา่ แอนะล็อกจากตวั ตา้ นทานปรับคา่ ได้ แลว้ แสดงค่าที่อ่านได้ผา่ นSerial พอร์ต โดยใช้ตัวแสดงผลผา่ น Serial Monitor1.1 เชอื่ มตอ่ โมดลู ADC เข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์ ดงั รูปใบงานที่ 7-3 รูปใบงานที่ 7-3 เชือ่ มต่อโมดูล VR เขา้ กับขา A0 ของอาร์ดุยโน1.2 เขียนโปรแกรมบน Arduino IDE ตามโปรแกรมการทดลองที่ 7-1โปรแกรมการทดลองท่ี 7-1 1 const int analogInPin = A0; 2 int value = 0; 3 void setup() { 4 Serial.begin(9600); 5} 6 7 void loop() { 8 value = analogRead(analogInPin); 9 Serial.print(\"value = \" ); 10 Serial.println(value); 11 delay(10); 12 }150 หนังสอื ชดุ ฝกึ ด้านดจิ ิทัล
อธิบายการทางานบรรทัดที่ 1 : ประกาศตัวแปรเป็นชนิดคา่ คงท่กี าหนดให้ตวั แปร analogInPin เป็นคา่ A0บรรทดั ท่ี 8 : อ่านคา่ แอนะลอ็ กจากขา A0 แลว้ นาไปเกบ็ ไวใ้ นตวั แปร valueบรรทดั ที่ 9-10 : แสดงค่า Value ที่อา่ นเขา้ มาผ่านทางพอรต์ Serial1.3 ทาการ Compile แล้ว Upload โปรแกรมลงบน Arduino1.4 เปิด Serial Monitor เพื่อดูข้อมูล Serial ที่ส่งมาจาก Arduino ผ่านทางสาย USB โดยการคลิกท่ีปุ่มด้านมุมบนขวามือ ของโปรแกรม Arduino IDE ดังรปู ใบงานที่ 7-4 รูปใบงานที่ 7-4 เช่ือมตอ่ โมดลู VR เข้ากับขา A0 ของอารด์ ยุ โน1.5 จะปรากฏหน้าต่าง Serial Monitor ซ่ึงแสดงผลเป็นค่าที่อ่านได้จากโมดูล ADC ดังรูปใบงานที่ 7-5 โดยหากไม่แสดงผล หรอื แสดงผลไมถ่ ูกต้อง ใหต้ รวจสอบค่า Baud rate ให้ตรงกับคา่ ใน Serial.begin() ดว้ ย รูปใบงานท่ี 7-5 สง่ั งานให้แสดงผลผ่าน Serial หนังสอื ชดุ ฝกึ ดา้ นดิจิทลั 151
1.6 ทดสอบปรับและหมุน VR และดูความเปล่ียนแปลงไปของค่าดังกล่าว โดยเมื่อหมุนไปทางขวาจนสุดอ่านค่าได้ ............... และเม่ือหมนุ ไปทางซา้ ยสุด อา่ นค่าได้...............1.7 แก้ไขโปรแกรมเพ่มิ เติม ดังโปรแกรมการทดลองท่ี 7-2โปรแกรมการทดลองท่ี 7-21 const int analogInPin = A0;2 int value = 0;3 void setup() {4 Serial.begin(9600);5}67 void loop() {8 value = analogRead(analogInPin);9 float volt = (5.0/1024)*value;10 Serial.print(\"value = \" );11 Serial.println(value); // delete ln12 Serial.print(\" Voltage = \" );13 Serial.println(volt);14 delay(10);15 }อธิบายการทางานบรรทัดท่ี 8 : อ่านค่าแอนะลอ็ กจากขา A0 แล้วนาไปเก็บไวใ้ นตวั แปร valueบรรทดั ที่ 9 : คานวณค่าทอี่ า่ นเขา้ มาใหแ้ สดงผลเปน็ แรงดันแล้วเก็บไว้ในตวั แปร voltบรรทัดที่ 12-13 : แสดงผลแรงดนั จากตวั แปร volt1.8 ทาการ Compile แล้ว Upload โปรแกรมลงบน Arduino1.9 ทดลองหมุน VR แลว้ บนั ทกึ ผลการทางานท่ีได้ วา่ มีการเปลีย่ นแปลงไปอย่างไร…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………1.10 จากโปรแกรมขา้ งตน้ จงเพม่ิ การแสดงผลเปน็ เปอร์เซ็นต์ โดยกาหนดให้แสดงต้ังแต่ 0-100% พร้อมอธบิ ายวธิ ีการมาดว้ ย…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………152 หนังสือชุดฝกึ ด้านดิจิทัล
การทดลองย่อยท่ี 2 การประยกุ ต์ใชง้ านโมดลู ADC รว่ มกับไอซวี ดั อณุ หภูมิ LM35 LM35 เป็นเซนเซอร์วดั อุณหภูมิ มีลักษณะเป็นไอซี 3 ขา ให้ระดับแรงดันเอาต์พุตที่แตกต่าง สอดคล้องกับหน่วยองศาเคลวิน สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องมีวงจรปรับตั้งค่า การนามาประยุกต์ใช้เป็นหน่วยองศาเซลเซียสต้องทาการเขียนโปรแกรมเพ่ือแปลงหน่วยให้สอดคล้อง ให้ข้อมูลมีความผิดพลาดไม่เกิน ±¼ องศาเซลเซียสท่ีอุณหภูมิห้อง และไม่เกิน ±¾ องศาเซลเซียสในอุณหภูมิทั่วไป ขอบเขตการอ่านค่าอุณหภูมิอยู่ในช่วง -55 องศาเซลเซียส ถึง +150 องศาเซลเซียส ลักษณะขาสัญญาณของไอซี LM35 แสดงดังรูปใบงานที่ 7-6 รูปใบงานที่ 7-6 การเรียงขาสญั ญาณของไอซี LM35 การนาไอซี LM35 ไปใช้งานทาได้โดยต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแรงดัน 5 โวลต์ ที่ขา +Vs และGND สัญญาณเอาต์พุต (VOUT) ออกมาเป็นระดับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงขึ้นอยู่กับอุณหภูมิในอัตราส่วน+10mV ต่อองศาเซลเซียส บนบอร์ด One the All ได้ต่อแหล่งกาเนิดไฟตรงท่ีขา +Vs และ GND ไวเ้ รยี บร้อยแลว้ เราสามารถนาเอาตพ์ ตุ จาก LM35 ที่ขา OUT มาใช้ไดเ้ ลย ดังภาพที่ 7-7 รปู ใบงานท่ี 7-7 ช่องเช่ือมต่อ OUTPUT จาก LM35 หนังสือชดุ ฝกึ ดา้ นดิจทิ ัล 153
ในการแปลงค่าอุณหภูมิจะต้องนาค่าที่ไดจ้ ากพอรต์ แอนะล็อกอินพุตของอาร์ดุยโน ซ่งึ มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง1023 มาคานวณหาคา่ อณุ หภมู ใิ นหนว่ ยองศาเซลเซียส โดยอ้างอิงตามอตั ราการเปลี่ยนแปลงแรงดันทีข่ า OUTของ LM35 ด้วยอัตราส่วน 10mV ตอ่ องศาเซลเซยี ส ดงั สมการค่าอุณหภมู ิ = คา่ ท่ไี ด้จากพอร์ต ������������������������������������ ������������������������������ ������ 5 ������ 100 1023 สาหรับในการทดลองน้ีเราจะมาทดลองเขียนโปรแกรมรบั ค่าจาก LM35 จากน้ันทาการคานวณหาค่าอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส แล้วส่งค่าผ่านพอร์ตอนุกรม Serial 0 ของอาร์ดุยโนมายังคอมพิวเตอร์โดยใช้แอนะล็อกอินพุต ขา A0 ในการรบั คา่ แรงดนั อนาลอกจาก LM35 โดยทาตามข้นั ตอนต่อไปน้ีข้นั ตอนการทดลอง2.1 ต่อวงจรบนบอรด์ One the All ตามรปู ใบงานท่ี 7-8 รปู ใบงานท่ี 7-8 เช่อื มตอ่ ช่อง OUT ของ LM35 เข้ากบั ขา A0154 หนงั สอื ชดุ ฝึกด้านดิจทิ ัล
2.2 เขยี นโปรแกรมดังโปรแกรมการทดลองท่ี 7-3โปรแกรมการทดลองที่ 7-3 1 const int analogInPin = A0; 2 int value=0; 3 float temp=0; 4 5 void setup() { 6 Serial.begin(9600); 7} 8 9 void loop() { 10 value = analogRead(analogInPin); 11 temp = (value * 5 * 100)/1024; 12 Serial.print(\"temp = \"); 13 Serial.println(temp); 14 delay(100); 15 }อธบิ ายการทางานบรรทัดท่ี 11 : คานวณค่าจากตวั แปร value เพอ่ื แปลงเป็นค่าอุณหภูมิบรรทดั ท่ี 12-13 : แสดงคา่ อณุ หภมู ิ2.3 ทาการ Compile แลว้ Upload โปรแกรมลงบน Arduino2.4 ตรวจสอบค่าอณุ หภูมิว่ามีคา่ เทา่ ใด โดยกดป่มุ SerialMonitor เพื่อดกู ารแสดงผล ดังรปู ใบงานท่ี 7-9 รปู ใบงานที่ 7-9 คา่ ทีไ่ ดจ้ ากการอา่ นค่าอณุ หภูมดิ ้วยไอซี LM352.5 จงบนั ทึกคา่ อณุ หภมู ทิ ่ไี ด้ วา่ มอี ุณหภูมิเทา่ ใด…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………2.6 ทดสอบจับตวั ถังของไอซี LM35 แล้วบนั ทึกคา่ ที่ไดว้ า่ มกี ารเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ อยา่ งไร…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… หนงั สือชดุ ฝกึ ด้านดจิ ทิ ัล 155
การทดลองยอ่ ยท่ี 3 การประยกุ ตใ์ ช้งานโมดูล ADC รว่ มกับ Navigation Switch Navigation Switch เป็นอุปกรณ์ท่ีมีลักษณะเป็นคันโยกบังคับทิศทางได้ 2 แกนพร้อมๆ กันโดยใช้ตัวต้านทานปรับค่าได้ 2 ตัว ท่ีมีการเปลยี่ นแปลงคา่ ความต้านทานตามการโยกคันโยกในแกน X และแกน Y และนอกจากน้ันยังใช้เปน็ ปุ่มกดโดยตรงหรอื Push Button Switch ไดด้ ้วย โดยลักษณะของ Navigation Switchแสดงดงั รูปใบงานท่ี 7-10 รูปใบงานที่ 7-10 ลักษณะภายนอกของ Navigation Switch เม่ือคันโยกอยู่ในสภาวะปกติคือไม่มีการโยกคันโยก ค่าท่ีอ่านได้จากตัวต้านทานปรับค่าได้ท้ังแกนX และแกน Y จะเปน็ ค่ากลางมีค่าประมาณ 512 แต่ถ้าโยกคนั โยกไปทางซ้าย ค่าที่อา่ นไดจ้ ากแกน X จะลดลงจนเมื่อโยกไปจนถึงซ้ายสุดค่าที่อ่านได้จะเป็น 0 ในทางตรงกันข้าม ถ้าโยกคันโยกไปทางขวาค่าท่ีอ่านได้จะเพ่ิมขึน้ เรื่อยๆ จนเมื่อโยกถึงขวาสุดค่าที่อ่านได้จะมีค่าเท่ากับ 1023 ในขณะเดียวกันการโยกคันโยกทาง แกนY จะอ่านค่าได้ลักษณะเหมือนกับแกน X กล่าวคือ ถ้าโยกคันโยกขึ้นบนสุด ค่าที่อ่านได้จากแกน Y มีค่าเป็น 0และถ้าโยกคันโยกลงล่างสุดคา่ ทีอ่ ่านได้มคี ่าเป็น 1023 นอกจากการอ่านค่าตาแหน่งจากคันโยกแล้ว Navigation Switch ยังสามารถตรวจสอบการกดของผู้ใช้ด้วย Push Button Switch ที่อยู่ภายใน Navigation Switch ได้ด้วย บนบอร์ด One the All จะมีR Pull-up ต่อไว้กับ Push Button Switch ตัวนี้ ดังน้ันเมื่อผู้ใช้กดลงบนก้านของ Navigation Switchจะอ่านค่าจากขา SW ได้เท่ากับลอจิก 0 แต่ถ้าไม่กดลอจิกมีค่าเท่ากับ 1 หรือท่ีเรียกว่า Active Lowรายละเอียดขาสัญญาณเอาต์พตุ ของ Navigation Switch แสดง ดงั รูปใบงานที่ 7-12 รูปใบงานที่ 7-11 จดุ เช่ือมต่อสัญญาณเอาต์พตุ ของ Navigation Switch156 หนังสือชดุ ฝกึ ดา้ นดจิ ิทัล
โดยในแตล่ ะขาสัญญาณ มีรายละเอียดการใช้งาน ดงั ตารางใบงานท่ี 7-2 ดงั นี้ตารางใบงานที่ 7-2 รายละเอียดขาสัญญาณของ Navigation Switchขาสัญญาณ รายละเอยี ด5V แรงดนั ไฟเล้ียง +5VVERT แอนะล็อก เอาต์พตุ จากการโยกคันโยกในแกน Y (Vertical)HORZ แอนะล็อก เอาต์พุต จากการโยกคนั โยกในแกน X (Horizontal) ดิจทิ ัล เอาต์พตุ จาก Push Button SwitchSEL 0 = Navigation Switch ถกู กด 1 = Navigation Switch ไม่ถกู กด สาหรับในการทดลองนี้เราจะมาทดลองเขียนโปรแกรมรับค่าการโยกคันโยกของ NavigationSwitch แล้วส่งค่าผ่านพอร์ตอนุกรม Serial 0 ของอารด์ ุยโนมายังคอมพิวเตอร์ โดยใช้แอนะล็อกอนิ พุต ขา A0และ A1 ในการรับค่าแอนะล็อกเอาต์พุต จาก Navigation Switch และใช้ดิจิทัล I/O ขา 13 ในการรับค่าจากการกด Push Button Switch โดยทาตามขน้ั ตอนตอ่ ไปนี้ขน้ั ตอนการทดลอง3.1 ตอ่ วงจรบนบอร์ด One the All โดยเชื่อมต่อ ขา VERT -> A0 ,ขา HORZ -> A1 และ ขา SEL -> D13 ตามรปู ใบงานท่ี 7-12 รูปใบงานที่ 7-12 เชอื่ มต่อ Navigation Switch เข้ากับ Arduino หนังสือชุดฝกึ ด้านดิจิทลั 157
3.2 เขยี นโปรแกรมดงั โปรแกรมการทดลองที่ 7-4โปรแกรมการทดลองท่ี 7-4 1 int VertPin = A0; 2 int HorzPin = A1; 3 int SelPin = 13; 4 int VERT; 5 int HORZ; 6 boolean SEL; 7 8 void setup() 9 { pinMode(SelPin, INPUT); 10 Serial.begin(9600); 11 } 12 void loop() 13 { 14 VERT = analogRead(VertPin); 15 HORZ = analogRead(HorzPin); 16 SEL = digitalRead(SelPin); 17 Serial.print(\"VERT = \"); 18 Serial.print(VERT); 19 Serial.print(\" HORZ = \"); 20 Serial.print(HORZ); 21 if(SEL==0){ 22 Serial.print(\" SELECT\"); 23 } 24 Serial.println(\"\"); 25 delay(100); 26 }3.3 ทาการ Compile แล้ว Upload โปรแกรมลงบน Arduino3.4 ตรวจสอบคา่ อณุ หภมู วิ า่ มีค่าเทา่ ใด โดยกดปุ่ม SerialMonitor เพอ่ื ดูการแสดงผล ดงั รูปใบงานท่ี 7-13 รปู ใบงานท่ี 7-13 เชือ่ มตอ่ Navigation Switch เข้ากับ Arduino158 หนงั สือชุดฝึกดา้ นดจิ ทิ ัล
3.5 ทดลองขยบั Navigation Switch ไปดา้ นตา่ งๆ แล้วบันทกึ คา่ ต่างๆ ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองทิศทาง ค่า VERT คา่ HORZ ………………………. ……………………….UP ………………………. ……………………….DOWN ………………………. ……………………….LEFTRIGHT ………………………. ………………………. หนังสือชุดฝกึ ดา้ นดจิ ิทัล 159
3.6 จงอธบิ ายความแตกตา่ งระหว่างการใชง้ าน VR ในการทดลองย่อยท่ี 1 และการใช้ Navigation Switch ว่ามีความเหมือนหรอื แตกตา่ งกันอยา่ งไร…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………สรปุ ผลการทดลอง……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………คาถามท้ายการทดลอง 1. การใช้งานโมดลู ADC เพือ่ อ่านค่าแอนะล็อก มวี ิธีการพนื้ ฐานอยา่ งไรบ้าง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จงหาอุปกรณ์หรอื เซนเซอรท์ ใี่ ห้เอาต์พตุ แบบแอนะลอ็ ก มาอย่างนอ้ ย 5 อย่าง……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………160 หนงั สอื ชุดฝึกดา้ นดจิ ิทัล
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: