บทที่ ๑๑-๑๒ ๔๙ • อนาถบณิ ฑิกเศรษฐี มีช่ือเดมิ วา่ สุทัตตะ เป็นชาวเมอื ง • “อนุฏฐานไสยา” คอื การนอนท่ไี ม่ลุกขนึ้ อีกเลย สาวัตถี • การบชู ามี ๒ อย่าง • อนาถบิณฑิกเศรษฐถี วาย วดั เชตวนั • อนาถบณิ ฑิกเศรษฐี ซอ้ื ที่ดนิ จาก เจ้าเชตราชกุมาร สรา้ ง ๑. อามสิ บูชา คือ การบูชาวตั ถสุ ง่ิ ของ วดั ๒. ปฏิบตั บิ ชู า คอื การบูชาด้วยการปฏบิ ตั ิตาม ทรง • พระพทุ ธองคท์ รงจำพรรษาที่ ๔๕ ณ เวฬวุ คาม เมอื งเว สรรเสริญปฏิบัติบุชา สาลี แคว้นวชั ชี • ถปู ารหบุคคลคือบคุ คลท่ีควรบรรจุใวใ้ นสถูปเพอื่ บูชา มี ๔ • คำว่า “ ปลงอายุสงั ขาร” หมายถึงการ ต้ังใจทจ่ี ะตาย ณ จำพวกคอื ปาวาลเจดีย์ ๑. พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ๒. พระปจั เจกพระพุทธะเจา้ • วนั ทีพ่ ระพทุ ธองค์ทรงปลงอายุสังขารตรงกบั วนั วนั เพ็ญ ๓. พระอรหนั ตสาวก ๔. พระเจ้าจกั รพรรดิ เดอื น ๓ • สงั เวชนยี สถาน คือสถานที่ควรระลกึ ถึง มี ๔ อยา่ ง คือ • ผูท้ ท่ี ลู เชญิ พระพุทธองค์ให้เสดจ็ เข้าสู่ปรินพิ พานคือ พญา มารวสวตั ตี ๑. สถานทีป่ ระสูติ (ลุมพนิ วี ัน) • คำวา่ “นิมติ โอภาส” หมายถึง ตรสั ความทางอ้อมแก่พระ ๒. สถานที่ตรสั รู้ ( ตน้ พระศรีมหาโพธ์ิ) อานนท์ ๓. สถานท่ีแสดงธรรมจักกปั ปวัตนสูตร (ปา่ อสิ ิปตน • พระพทุ ธเจ้าทรงทำนิมิตโอภาส ๑๖ ครงั้ ดงั น้ี ท่ีกรุงรา มฤคทายวัน) ชคฤห์ ๑๐ คร้งั ท่เี มอื งไพสาลี ๖ ครง้ั ๔. สถานทปี่ รนิ พิ พาน คือ สาลวโนทยาน • ตามพทุ ธประวตั ิ เหตุใหเ้ กิดแผน่ ดินไหว มี ๘ อย่าง • สาวกองคส์ ดุ ท้าย มีช่ือว่า สภุ ัททปรพิ าชก • ก่อนเสดจ็ ปรินิพพานพระพทุ ธเจ้าต้ังพระธรรมวินัยเป็น ๑. ลมกำเรบิ ๒. ท่านผู้มฤี ทธ์บิ ันดาล ๓. พระ ศาสดาแทน โพธสิ ัตวจ์ ุติจากดุสิตสู่พระครรภ์ ๔. พระโพธสิ ตั วป์ ระสุติจาก • ปัจฉิมโอวาท พระพุทธเจา้ ทรงแสดงเกี่ยวกับความไม่ ครรภม์ ารดา ประมาท • ในเวลาจวนจะปรนิ พิ พานของพระศาสดา มีพระอานนทแ์ ละ ๕. พระตถาคตเจา้ ตรัสรอู้ นตุ รสัมมาสัมโพธิญาณ พระอนุรุทธะ อยใู่ นท่ีน้ัน ๖.พระตถาคตเจา้ แสดงธรรมจกั รกัปปวัตนสูตร • พระบรมศาสดาปรินพิ พานที่ สาลวโนทยาน ใตต้ น้ สาละคู่ เมืองกุสนิ ารา วนั องั คาร ขึน้ ๑๕ คำ่ เดอื น ๖ ปีมะเส็ง ๗. พระตถาคตเจ้าปลงอายุสังขาร ๘. พระ • ถวายพระเพลงิ พระพทุ ธสรรี ะ ท่ีมกุฏพนั ธนเจดีย์ ทาง ตถาคตเจ้าเสดจ็ ปรนิ ิพพานด้วยอนปุ าทเิ สสนิพพาน ทศิ ตะวันออกแห่งกรุงกุสินารา • ทรงรบั ผ้าสิงควิ รรณ ๑ คู่ จากปกุ กุสะ ราชบตุ รแห่งมัล ลกษัตริย์ บทท่ี ๑๓- ๑๖ • พระฉววี รรณผอ่ งใสใน ๒ เวลา • พระอานนทส์ ่งข่าวสารการเสดจ็ ดบั ขันธปรนิ ิพพานแก่ ๑. ในเวลาจะตรสั รู้อนุตตรสมั มาสมั โพธญิ า ๒.ในราตรี เจา้ มลั ลกษตั ริย์ ท่ีจะปรนิ ิพพานดว้ ยอนปุ าทเิ สสนพิ พาน • สถานทถ่ี วายพระเพลิงพระพุทธสรีระ เรยี กวา่ มกุฏพันธน • บณิ ฑบาตทาน ๒ คราวมีผลเสมอกัน(อานิสงส์มาก) เจดยี ์ • พระสุภทั ทะกลา่ วจาบจว้ งพระธรรมวินัย หลงั จากทราบข่าว ๑. บิณฑบาตทน่ี างสุชาดาถวายในวนั ตรัสรู้ ๒. การปรินพิ พาน บณิ ฑบาตรท่นี ายจนุ ทะถวายในวันปรนิ ิพพาน พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๕๐ • วันถวายพระเพลิง เรียกอีกอยา่ งหนงึ่ ว่า วนั อัฏฐมีบูชา สงั คายนา • พระพุทธเจา้ ปรินิพพานได้ ๘ วนั ถึงถวายพระเพลิง สงั คายนา หรอื สังคีติ หรอื การร้อยกรอง หรือจดั แจงพระ ธรรมวินัยให้เปน็ หมวดหมู่วา่ นี่เปน็ ธรรม นเี่ ปน็ วินัย จดั เปน็ ๓ • การจัดพุทธสรีระ จัดตามแบบพระเจ้าจกั รพรรดิ หมวด เรยี กว่า พระไตรปิฎก คอื • สิง่ ที่พระพุทธองค์อธิษฐานมใิ หเ้ พลิงไหม้ มี ๔ ประการ ๑. ทเี่ ป็นกฎระเบียบ ข้อบงั คับ จัดเปน็ วินัยปฎิ ก ๒. ที่เป็นพระธรรมคำสอน อันเปน็ บคุ ลาธิษฐาน ยก ๑. ผา้ หอ่ พระบรมศพชน้ั ใน ๑ ผืน ชัน้ นอก ๑ ผืน ๒. บุคคลเป็นอุทาหรณ์ จัดเปน็ สุตตันตปิฎก ๓. ทเ่ี ป็นธรรมลว้ น ๆ ไมเ่ กีย่ วกบั บคุ คลเปน็ ธรรมท่สี ุขมุ พระเขยี้ วแกว้ ลึกซง่ึ จัดเป็น อภิธรรมปฎิ ก การทำสงั คายนานนั้ ทพ่ี อจะนับไดม้ ี ๕ ครัง้ ทำใน ๓. พระรากขวญั ทง้ั ๒ (ไหปลาร้า) ๔. ชมพูทวีป ๓ คร้ัง ในลังกาทวีป ๒ ครง้ั คอื ๑. ปฐมสังคายนา ครัง้ ท่ี ๑ กระทำทีห่ นา้ ถ้ำสตั ตบรรณ พระอณุ หิส ( กรอบหนา้ ) คหู า เชิงภเู ขาเวภารบรรพต กรงุ ราชคฤห์ พระเจ้าอชาตศัตรู เป็นองคอ์ ปุ ถัมภก ภายหลังพุทธปรินพิ พาน ๓ เดือน พระ • โทณพราหมณเ์ ป็นผ้แู บ่งพระบรมสารรี ิกธาตุ มหากัสสปะ เปน็ ประธาน พระอบุ าลเี ถระ วสิ ชั นาพระวินัย พระอานนท์ วิสัชนาพระสูตร และพระอภิธรรม รวมกบั พระ • พระบรมสารรี กิ ธาตไุ ด้รบั การแบง่ แก่ ๘ สว่ น ๆ ละ ๒ อรหนั ตขีณาสพจำนวน ๕๐๐ องค์ ปรารภเรื่องพระสภุ ัททะ กลา่ วจ้วงจาบศาสนา กระทำอยู่ ๗ เดือนจึงสำเร็จ ทะนาน ใหแ้ ก่ ๘ เมือง คือ ๒. ทุติยสังคายนา ครงั้ ที่ ๒ กระทำทวี่ าลกิ าราม เม่ือง เวสาลี พระเจา้ กาฬาโศกราชเป็นองคอ์ ุปถัมภก เมื่อ พ.ศ. ๑๐๐ ๑. เมอื งราชคฤห์ ๒. เมอื งไพสาลี ๓. โดยพระอรหนั ต์จำนวน ๗๐๐ องค์ มีพระยสกากัณฑกบุตรเถระ เปน็ ประธานและมีพระสพั พกามีเถระ และพระเรวตั ตเถระ เป็น เมอื งกบลิ พสั ดุ์ ๔. เมืองอลั ลกัปปะ ตน้ ชำระเร่อื งวัตถุ ๑๐ ประการ ท่พี วกภิกษชุ าววชั ชบี ุตร ชาวเมืองเวสาลนี ำมาแสดงวา่ ไมผ่ ิดธรรมวนิ ยั กระทำอยู่ ๘ เดือน ๕. เมอื งรามคาม ๖. เมืองเวฏฐทีปกะ ๗. จงึ สำเร็จ ๓. ตตยิ สังคายนา ครงั้ ที่ ๓ กระทำที่อโศการาม เม่ือง เมืองปาวา ๘. เมืองกสุ นิ ารา ปาฏลีบตุ ร พระเจา้ อโศกมหาราชเปน็ องคอ์ ปุ ถัมภก เม่ือ พ.ศ. ๒๑๘ โดยพระอรหันต์ จำนวน ๑,๐๐๐ องค์ มีพระโมคคลั ลบี ตุ ร • กษัตรยิ เ์ มืองรามคามได้พระอังคารธาตุ ตสิ ส เถระเปน็ ประธาน เนอ่ื งดว้ ยเดียรถยี ์ปลอมบวชในพุทธ ศาสนา กระทำอยู่ ๙ เดือน จึงสำเร็จ • พระเขีย้ วแกว้ บนขวาประดิษฐานที่จุฬามณเี จดีย์ ๔. จตตุ ถสงั คายนา ครัง้ ที่ ๔ กระทำทถี่ ปู าราม เมือง อนุราชบรุ ี ลงั กาทวีป พระเจ้าเทวานมั ปยิ ติสสะ เป็นองค์ • พระเขี้ยวแก้วบนซ้ายประดิษฐานท่แี ควน้ คนั ธาระ อุปถัมภก เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖ โดยพระมหินทเถระ และพระอรฏิ ฐ • ประเภทแหง่ สัมมาสมั พทุ ธเจดีย์ มี ๔ ประเภท ๑. ธาตเุ จดยี ์ หมายถึง พระบรมสารรี กิ ธาตุของ พระพุทธเจา้ ๒. บรโิ ภคเจดีย์ หมายถึง ส่งิ ของหรือสถานที่ท่ี พระพุทธเจา้ ทรงใชส้ อย เช่นบาตร จวี ร กุฏิ วหิ ารเปน็ ตน้ ๓. ธรรมเจดีย์ หมายถึง สง่ิ ทใ่ี ช้จารึกคำสอนของ พระพทุ ธเจ้า เชน่ คมั ภรี ์ พระไตรปิฏก เปน็ ต้น ๔. อทุ เทสกิ เจดีย์ หมายถงึ สงิ่ ที่สรา้ งข้ึนเป็นรูป เหมือนของพระพุทธเจา้ โดยตรง เชน่ พระพุทธรูปเป็นต้น • สังคายนา หมายถึง การร้อยกรองพระธรรมวนิ ยั หรอื การ ประชมุ ตรวจสอบ ชำระสอบทานและจดั หมวดหมู่คำสอนของ พระพุทธเจา้ วางลงเป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกนั พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
เถระ เป็นประธานชกั ชวนภกิ ษชุ าวสหี ล ๖๘,๐๐๐ องค์ เพ่ือ ๕๑ ประดิษฐานพระพุทธศาสนาใหม้ ่นั คงในสังกาทวีป กระทำอยู่ ๑๐ เดือน จึงสำเรจ็ ๒.พิธเี วยี นเทียนในวันสำคญั ทางพระพุทธศาสนา เวยี นเทยี น หมายถึง การเดินเวยี นขวาเพอ่ื แสดงความ ๕. ปญั จมสังคายนา คร้ังที่ ๕ กระทำท่ีอาโลกเลณ เคารพต่อปูชณียวตั ถุ, ปูชณยี สถาน วันสำคัญมี ๔ วัน ดังน้ี สถาน ในมลัยชนบท ลังกาทวีป พระเจ้าวัฏฏคามินีอภัย เปน็ วันมาฆบูชา วนั ข้นึ ๑๕ คำ่ เดอื น๓ พระพทุ ธเจ้าทรง องค์อุปถัมภก เมื่อ พ.ศ. ๔๕๐ โดยภิกษชุ าวสีหลผู้พระอรหันต์ แสดงโอวาทปาฏิโมกข์ วนั จาตรุ งคสันติบาต จำนวน ๑,๐๐๐ องค์ พระติสสมหาเถระ และพระพุทธทัต วนั วสิ าขบูชา วันข้ึน ๑๕ ค่ำเดือน๖ วนั ประสูติ ตรสั รู้ ตเถระเปน็ ตน้ เห็นความเสือ่ มถอยปัญญาแหง่ กลุ บุตรจงึ ไดป้ ระชุม ปรินิพพาน ของพระพทุ ธองค์ เป็นวันสำคญั สากลของโลก กันมาจารกึ พระธรรมวนิ ัย เปน็ อกั ษรลงไว้ในใบลาน ทำอยู่ ๑ ปี วนั อัฎฐมบี ชู า วันแรม ๘ คำ่ เดอื น ๖ วันถวายพระ จึงสำเร็จ ฯ เพลงิ พระพุทธสรีระ ไม่เปน็ วดั หยดุ ราชการ วนั อาสาฬหบชู า วนั ข้นึ ๑๕ คำ่ เดอื น ๘ พระพทุ ธเจ้า ศาสนพิธี (น.ธ.ตร)ี ทรงแสดงปฐมเทศนา พระรตั นตรัย พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เกดิ ครบองค์ ๓ พธิ ี คอื แบบอย่าง, แบบแผนท่ีพึงปฏิบตั ิ ๓.พิธีรักษาอุโบสถศีล ศาสนา คอื คำสง่ั สอน ในที่น้หี มายถงึ พระพุทธศาสนา อโุ บสถ แปลว่า การเข้าจำ หมายถึง การเขา้ ไปอยู่รักษา ศาสนพิธีเกดิ ขึ้นหลงั ประกาศศาสนาแลว้ มีท่ีมาจากหลักการ ศลี ๘ อยา่ งเครง่ ครัด มี ๓ อยา่ งคือ สำคัญทางพระพทุ ธศาสนา คือ โอวาทปาฏโิ มกข์ อนั ได้แก่ การไม่ ปกตอิ ุโบสถ การรักษาเพียงหนงึ่ วัน หน่งึ คืน ทำบาปทง้ั ปวง การกระทำความดี การทำจติ ให้ผอ่ งใส ปฏิชาครอโุ บสถ การรักษาครง้ั ละ ๓ วนั คอื วนั รบั วัน บญุ กิริยาวัตถุ คือ หลกั การทำบญุ ๓ ประการ คือ ทาน, ศีล, รกั ษา วันส่ง ภาวนา ปาฏหิ ารกิ ปักขอุโบสถ การอยจู่ ำเปน็ เวลา ๓ เดือน ศาสนพิธี มี ๔ หมวด คือ ปัจจบุ นั ไม่ค่อยมีแลว้ วาจาอธษิ ฐานอโุ บสถ อิมัง อัฏฐงั คสมนั นาคะตัง ๑. กศุ ลพิธี ได้แก่ พิธีบำเพ็ญกุศล ๒. บุญพธิ ี พทุ ธะปัญญัตตัง อโุ ปสะถัง....ฯ ไดแ้ ก่ พธิ ที ำบญุ หมวดที่ ๒ บุญพธิ ี บญุ พิธี หมายถึง พธิ ีกรรมเกีย่ วกับการทำบญุ ใน ๓. ทานพิธี ไดแ้ ก่ พิธถี วายทาน ๔. ปกิณก พระพุทธศาสนา มี ๒ ประเภท คอื พิธี ไดแ้ ก่ พิธีเบ็ดเตล็ด งานมงคล ปรารภเหตมุ งคล เชน่ ขึน้ บ้านใหม่ มงคล หมวดท่ี ๑ กศุ ลพิธี สมรส ทำบุญวันเกดิ -อายุ นยิ มนิมนตพ์ ระ ๕,๗,๙ รปู ใช้คำ นมิ นต์วา่ อาราธนาเจรญิ พระพทุ ธมนต์ เตรยี มขันนำ้ มนต์+ กุศล แปลว่า ฉลาด สงิ่ ท่ตี ดั ความชั่ว หมายถึงสิ่งทดี่ ีงาม สายสญิ จน์ ถูกต้อง กศุ ลพิธี หมายถึง พธิ ีกรรมท่ฉี ลาด และดีงาม มี ๓ เรือ่ ง งานอวมงคล ปรารภเหตอุ วมงคล เชน่ ทำบุญหน้าศพ คอื บุญอัฐิ นิยมนิมนต์พระ ๖,๘,๑๐ รปู ใช้ว่า อาราธนาสวดพระพุทธ มนต์ ๑.พธิ แี สดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ เตรยี ม ภูษาโยง ไมท่ ำน้ำมนต์ การแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ พุทธมามกะ คือ ผู้ทร่ี บั เอา พระพทุ ธเจา้ เปน็ ที่พึ่งของตนเอง พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๕๒ หมวดท่ี ๓ ทานพธิ ี - พระภกิ ษุรับดว้ ยมือ หรือของทเ่ี นื่องด้วยกาย ทานพิธี คอื พธิ ถี วายทาน ตา่ ง ๆ , ทายก ทายกิ า คือผู้ เชน่ บาตร ผ้ารับประเคน ๓.วิธที ำหนังสืออาราธนา และใบปวารณาบตั รถวาย ถวายทาน, ปฏคิ าหก คือ ผ้รู ับทาน ปัจจยั ๔ ทานวตั ถุ คือ วัตถุท่คี วรให้เป็นทาน มี ๑๐ อยา่ ง เชน่ ๔.วธิ อี าราธนาศีล อาราธนาพระปริตร อาราธนาธรรม อาราธนา คอื การเชอื้ เชิญพระสงฆ์ บางคร้ัง ภตั ตาหาร นำ้ ดืม่ เครื่องนงุ่ ห่ม ดอกไม้ เป็นต้น ใช้ว่า นิมนต์ ทาน มี ๒ ประเภท คือ อาราธนาศีล คือ การนมิ นตพ์ ระให้ศีล (เบญจ ปาฏิปคุ ลกิ ทาน การถวายเจาะจงรูปใดรูปหนึ่ง ศีล,ศีล ๕,ปญั จะสลี านิ) สังฆทาน การถวายแก่สงฆใ์ ห้เปน็ ของกลาง ไมเ่ จาะจง อาราธนาพระปรติ ร คือ นิมนต์พระสงฆ์สวด ทานแบ่งตามกาลเวลาทถ่ี วาย มี ๒ คือ มนต,์ เจรญิ พระพุทธมนต์ กาลทาน คือ ถวายตามกาล เชน่ กฐิน ผา้ จำนำพรรษา อาราธนาธรรม คอื นิมนตพ์ ระแสดงธรรม อกาลทาน คอื ถวายไดท้ ุกฤดูกาล เช่น ผ้าป่า หลกั การอาราธนา พิธีเจริญพระพุทธมนต์ อาราธนาศลี ,อาราธนา เสนาสนะ เป็นต้น พระปริตร คำถวายสงั ฆทานทวั่ ไป = อิมานิ มะยงั ภันเต ภตั ตานิ สะปริ พิธีเลีย้ งพระ อาราธนาศีล วารานิ....ฯ พิธถี วายทาน อาราธนาศลี หมวดท่ี ๔ ปกิณกะ พธิ ีเทศน์ อาราธนาศลี ,อาราธนาธรรม พธิ สี วดศพ อาราธนาศีล,อาราธนาธรรม ปกิณกะ คือ หมวดเบด็ เตลด็ ไดแ้ ก่ พธิ ีกรรมเล็กๆ นอ้ ยๆ วิธกี รวดนำ้ มี ๕ เร่อื ง การกรวดนำ้ ในทน่ี ี้หมายถึง การอทุ ิศส่วนบญุ ให้ ผู้ตาย หรอื ผูล้ ว่ งลับไปแล้ว พระสงฆ์ อนโุ มทนา ดว้ ยบท ๑.วธิ แี สดงความเคารพพระ มี ๓ ลักษณะคือ วา่ ยะถา วาริวหา....ฯ ใหเ้ รม่ิ รนิ น้ำ พระสงฆ์สวดถึงบท ๑.๑อัญชลี การประนมมือ ว่า.........มณโิ ชตริ ะโส ยะถา ให้เทนำ้ จนหมด ประนมมือ ๑.๒ วันทา หรือ นมัสการ คือ การไหว้ รบั พร นำน้ำทก่ี รวดไปเทที่พน้ื ดนิ สะอาด(ปจั จุบัน นยิ ม ๑.๓ อภวิ าท การกราบ นยิ มกราบด้วยองค์ ๕ ที่ รดโคนต้นไม)้ คำกรวดนำ้ แบบสัน้ : อทิ งั เม ญาตนี ัง โหตุ สขุ ิตา เรยี กว่า เบญจางคประดิษฐ์ คือ หน้าผาก๑ ฝา่ มอื ๒ เข่า โหนตุ ญาตะโย ๒ กราบให้องค์ ๕ จรดพ้นื คำแสดงตนเป็นพุทธมามกะ ๒.วิธปี ระเคนของพระ เอสาหัง ภนั เต สจุ ริ ะปรินพิ พุตมั ปิ ตัง ภะคะ วันตงั สะระณงั คจั ฉามิ ธมั มัญจะ สงั ฆัญจะ การประเคน คือ การถวายของโดยสง่ ให้ถึงมือ พุทธมามะโกติ มัง สงั โฆ ธาเรตุ. พระ มีองค์ ๕ ได้แก่ ข้าแตท่ ่านผู้เจรญิ ข้าพเจา้ ขอถงึ พระผมู้ ีพระ ภาคเจา้ พระองคน์ น้ั แมป้ รนิ ิพพานนานแลว้ - ของท่ปี ระเคนไมใ่ หญห่ รอื หนักเกินไป ยกคน เดียวได้ - ผู้ประเคนอย่หู า่ งจากพระประมาณ ศอกหน่ึง (อยู่ในหตั ถบาส) - น้อมสิ่งของเขา้ ไปถวายดว้ ยความเคารพ (ใช้ ทง้ั ๒ มือ) - นอ้ มสง่ ใหด้ ้วยกาย หรือของที่เนอื่ งดว้ ยกาย เชน่ ใชท้ ัพพีตักข้าวใสบ่ าตร พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
ทง้ั พระธรรมและพระสงฆเ์ ป็นท่ีพ่งึ ท่รี ะลกึ ท่ีนบั ๕๓ ถือ ขอพระสงฆ์จงจำข้าพเจ้าไวว้ ่า เปน็ พทุ ธ มามกะ ผู้รบั เอาพระพทุ ธเจ้าเปน็ ท่พี งึ ของตน วิปตั ติปะฏพิ าหายะ สพั พะสัมปตั ตสิ ทิ ธิยา หมายเหต.ุ ผหู้ ญิง ว่า ...พุทธมามะกาติ มงั .. สัพพะโรคะวินาสายะ ปริตตัง พรถู ะ มงั คะลงั หลายคนว่า เอเต มะยงั ...คจั ฉาะ ..พุทธมามะกาติ โน.. คำถวายสังฆทาน คำอาราธนาศลี ๕ อมิ านิ มะยงั ภนั เต ภตั ตานิ สะปรวิ ารานิ มะยงั ภันเต วสิ ุง วิสงุ รักขะณตั ถายะ ตสิ ะ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ระเณนะ สะหะ ปญั จะสีลานิ ยาจามะ ภิกขุสงั โฆ อิมานิ ภัตตานิ สะปรวิ ารานิ ทตุ ยิ ัมปิ มะยัง ภนั เต วสิ งุ วสิ งุ รกั ขะณัตถา ปฏคิ คัณหาตุ อมั หากัง ทฆี ะรตั ตงั หติ ายะ ยะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะสีลานิ ยาจามะ สุขายะ.. ตติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสงุ วิสงุ รักขะณตั ถายะ ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าท้งั หลาย ขอน้อม ตสิ ะระเณนะ สะหะ ปัญจะสีลานิ ยาจามะ. ถวายภัตตาหารกับทงั้ บริวารทง้ั หลายเหล่านี้ คำสมาทานศีล ๕ แกภ่ กิ ษสุ งฆ์ ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอพระภกิ ษุ ปาณาติปาตา เวระมะณีสิกขาปะทัง สะมาทิ สงฆ์ จงรับภตั ตาหารกบั ทงั้ บรวิ ารทง้ั หลาย ยามิ เหล่าน้ี เพ่ือประโยชน์ เพ่อื ความสุข แก่ อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิ ขา้ พเจา้ ทัง้ หลาย ส้นิ กาลนานเทอญ. ยามิ คำกรวดน้ำอยา่ งส้ัน กาเมสมุ จิ ฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทงั อิทัง โน ญาตีนัง โหตุ สุขติ า โหนตุ ญาตะ สะมาทิยามิ โย ฯ มสุ าวาทา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ สุราเมระยะมชั ชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทยิ ามิ คำอาราธนาธรรม พรหมา จะ โลกาธิปะติ สะหมั ปะติ กัตอัญชะ ลี อนั ธิวะรงั อายาจะถะ สันตธี ะ สันตาปปะระชักขะชาติกา เทเสตุ ธมั มัง อะนุกมั ปิมัง ปะชงั คำอาราธนาพระปริตร วิปตั ติปะฏิพาหายะ สัพพะสมั ปตั ตสิ ิทธยิ า สัพพะทกุ ขะวนิ าสายะ ปริตตัง พรูถะ มังคะลัง วปิ ัตตปิ ะฏพิ าหายะ สพั พะสมั ปตั ตสิ ทิ ธยิ า สพั พะภะยะวินาสายะ ปรติ ตัง พรถู ะ มังคะ ลัง พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๕๔ กระทู้ธรรม (น.ธ.ตรี) โครงสรา้ งกระทู้ ........................................................ (ภาษติ ภาษาบาลี) ........................................................ (คำแปลภาษาไทย) (คำนำ) บดั นี้ จักได้อธบิ ายขยายเนอ้ื ความแห่งกระทู้ธรรมสุภาษิตท่ีได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น พอเป็นแนวทางแห่งการศึกษาและ ปฏบิ ัติ เป็นลำดบั ไป (อธบิ ายเน้ือความ) .................................................................................................................. ............................................ ................................................................................................................................................................................ ....................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... สมด้วยธรรมสภุ าษิตทม่ี าใน............................................................................ ความวา่ ..............................................................(ภาษติ ทีย่ กมาอ้าง) .............................................................. (คำแปล) (อธบิ ายเน้ือความ) .............................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................................ฯ (สรุปความ).................................................................................................................. ................ ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... .................................................. สมดังประพนั ธธ์ รรมสภุ าษติ ที่ไดย้ กมาเปน็ นกิ เขปบท ณ เบ้ืองตน้ ว่า(ยกภาษิตท่ีกล่าวเบ้อื งตน้ มากล่าวอีกคร้งั ) .................................. ............................................................................ ดังมีอรรถาธิบายมา ด้วยประการฉะน้ี. พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๕๕ โครงสร้างกระทู้ เลขท…่ี …. ประโยคนักธรรมชน้ั ……… วชิ า………………………………. สอบในสนามหลวง วันท…ี่ ….เดือน…………………..พ.ศ…………… ooooooooooooooooo ooooooooooooooooo oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo บดั น้ีจกั ไดบ้ รรยายขยายความตามธรรมภาษติ ทีไ่ ด้ลขิ ติ ไว้ ณ เบอ้ื งต้น เพ่ือเป็นแนวทางแหง่ การศึกษาและประพฤติปฏบิ ตั ิสบื ไป อธิบายความวา่ (หรือใช้ “อธบิ ายว่า,ดำเนนิ ความวา่ ” กไ็ ด้) ........................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................... นสี้ มด้วยภาษติ ทีม่ าใน...............................ความว่า oooooooooooooooooo oooooooooooooooooo oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo อธิบายความวา่ (หรอื ใช้ “อธิบายวา่ ,ดำเนนิ ความวา่ ” กไ็ ด้) ........................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................... นี้สมดว้ ยภาษติ ทมี่ าใน...............................ความว่า สรุปความวา่ (หรอื ใช้ “รวมความว่า,ประมวลความวา่ ” กไ็ ด้) ................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................... สมด้วยภาษิตทไี่ ดล้ ขิ ิตไว้ ณ เบ้ืองต้นว่า มีอรรถาธิบายดงั ได้พรรณามาดว้ ยประการฉะนี้ --------------------------------------------------------------------------------- **(ต้องเขียนให้ได้อยา่ งน้อย ๓ หนา้ ข้ึนไป) ** (ต้องมีกระท้มู ารบั ๒ กระทู้) ส่วนตา่ งๆ ของโครงรา่ งกระทู้ ๑. การเขียนหัวกระดาษ ๒. กระทู้ต้ัง ๓. คำนำและเนอื้ เร่ืองขยายความ ๔. กระทรู้ บั พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๕๖ ๕. อธบายขยายความ ๖. สรปุ ความกระทู้ ตวั อยา่ งกระทู้ พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๕๗ ตัวอย่างแต่กระทู้ วริ ิเยน ทุกฺขมจเฺ จติ คนจะล่วงทกุ ข์ได้ เพราะความเพยี ร บัดนี้ จักได้อธบิ ายขยายเนื้อความแห่งกระทู้ธรรมภาษิตท่ีได้ลิขิตไว้ ณ เบ้ืองต้น พอเป็นแนวทางแห่งการศึกษาและ ปฏบิ ตั ิ เป็นลำดับไป คำวา่ ทกุ ข์ คือสภาพทบ่ี ีบค้ันเบียดเบียน มคี วามลำบาก ไมส่ บายกาย ไม่สบายใจ มีความคับบแคบใจ อนั มีเหตมุ าจาก ความไมส่ มปรารถนา ไมไ่ ดด้ งั ใจ ได้สิ่งของบางอยา่ งมาแล้วไม่ถกู ใจ ตลอดถงึ การพลัดพรากจากของรักของชอบใจ เปน็ เหตุแหง่ ความ ทุกขเ์ ป็นความลำบาก กล่าวโดยท่ีสดุ พระพุทธเจ้าตรัสวา่ สังขารรา่ งกายนี้กเ็ ป็นทุกข์ ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงตรสั วา่ ความทกุ ข์ เป็นความจริง เปน็ ทกุ ข์อรสิ ัจ ความทุกข์นี้มีมาประจำกับตัวเราแลว้ ต้ังแตเ่ กดิ มีความลำบากในการทจี่ ะหาเลีย้ งชีพ ท้ังตวั เองและ คนอื่น แม้การศึกษาเล่าเรียนของเรานี้ กเ็ หมือนกนั เปน็ ความทกุ ข์ เปน็ ความลำบาก แต่พระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงเทศนาสั่งสอนให้พวกเรา มองให้เหน็ ความทุกข์ และก็ใหย้ อมรับวา่ มันมีอยูจ่ รงิ ไมใ่ ห้จมปรกั อยู่มัน ไมใ่ หเ้ ศรา้ โศกและเสียใจกับสิง่ ทที่ ำให้เกิดทุกข์ พระ พุทธองคท์ รงสอน หาทางหนีจากความทุกข์ หาทางแก้ทกุ ข์ เพื่อทจี่ ะให้มีความทกุ ข์น้อยลง ใหม้ คี วามสุขตามปกติทใ่ี จมุง่ หวัง ใน การที่จะหนจ้ี ากความทกุ ข์ หาทางแก้ทกุ ข์นัน้ พระองค์กท็ รงสอนให้มีความเพยี รก็คือ ประการแรก เพยี รพยายามไม่ใหส้ ง่ิ ทไ่ี ม่ดี เกิดขึน้ แกเ่ รา ประการทสี่ องเพียรละส่งิ ทเ่ี ปน็ อุปสรรคแกค่ วามสุขของเรา ประการท่สี ามเพยี รพยายามทำส่งิ ท่ดี ีเปน็ ประโยชนแ์ กเ่ รา และประการทีส่ เี่ พยี รพยายามความดีส่งิ ท่ีดที ีมีอยู่ในตวั ของเราแลว้ ใหค้ งอยตู่ ่อไป นีค้ ือทางท่ีจะแกค้ วามทุกข์ ทางท่ีจะพน้ จาก ความทุกข์ ความเพยี รสป่ี ระการนี้เปน็ ส่ิงที่คนเรามนษุ ย์สามารถทจี่ ะทำได้ เพราะว่ามนุษย์เปน็ ผมู้ ีความคดิ มสี ตปิ ญั ญาเฉลียวฉลาด กว่าสัตว์เหล่าอ่ืน สมดังพระพุทธภาษติ ทม่ี าในขุททกนิกาย ธัมมปทคาถาวา่ ทนโฺ ต เสฏโฺ ฐ มนุสฺเสสุ ในหมู่มนุษย์ ผู้ฝกึ ตนไดแ้ ลว้ เป็นผปู้ ระเสรฐิ แสดงวา่ มนษุ ยเ์ ราน้ี เป็นผู้ฝึกฝนตนเองได้ ดว้ ยความเพยี รพยายามของตัวเขาเองในการศกึ ษาเล่าเรียนของเรานก้ี เ็ ชน่ กนั กว่าทีเ่ ราจะจบมาได้แต่ละช้ันกม็ ีความยากลำบาก และยิ่งในการทเ่ี ราจบมีเกรดท่ดี ีแล้วไมใ่ ช่เร่ืองง่าย เราต้องใชค้ วามเพยี รพยายาม ฝกึ ฝนตน้ เองหมัน่ ศึกษาคน้ ควา้ ละสิง่ ทเี่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การศกึ ษาเรา เอาใจใสใ่ นงานที่ครูอาจารย์มอบหมายให้ ไมเ่ กยี จครา้ น เม่อื เราหม่นั ขยนั อดทนฝกึ ฝนอยอู่ ยา่ งนี้ กจ็ ะเหน็ ได้าความยากลำบากเหลา่ น้ันไมใ่ ช่เรอื่ งยาก เรากจ็ ะไดร้ บั ผลสำเรจ็ ในการศึกษา และ ภาคภมู ใิ จในตวั ของเรา ไมเ่ ฉพาะตวั เราแมค้ นอนื่ ก็จะยกย่องสรรเสริญวา่ เป็นเด็กดี หรือเปน็ ผู้ประเสรฐิ ถ้าหากขาดการฝึกฝนแลว้ ไซร้ จะกล่าวไดว้ า่ เปน็ บุคคลผ้ปู ระเสรฐิ กห็ าไม่ จะเปน็ คนดีได้อย่างไร สรุปความว่า ความทุกข์ ความลำบากของมนุษย์ต่าง ๆ นานา ของคนเรานั้นเปน็ ส่งิ ที่มนุษย์สามารถจะเอาชนะได้ สามารถ บรรลุความสขุ ผา่ นความทุกข์น้ันได้ ก็เพราะความเพยี ร ดงั ทก่ี ล่าวมาว่า ประการแรกเพียรสังวรระวังไม่ให้สิง่ ที่ไม่ดีเกิดขึ้นแก่ตวั เรา ประการทส่ี องเพยี รละส่ิงที่ไม่ดนี ัน้ ประการท่สี ามเพยี รส่งั สมความดีหรอื ส่ิงท่เี ปน็ ประโยชนแ์ กต่ วั เรา และประการท่สี ่เี พยี รรกั ษา ความดนี ้ันไวใ้ ห้อยกู่ ับตัวเรานาน ๆ เมอื่ ฝกึ ตนเองได้แล้วก็จะเปน็ คนท่ีมแี ต่สวัสดีภาพ เป็นผู้ประเสรฐิ สมดงั นยั พุทธภาษติ ที่ได้ยกขึ้น ไว้ ณ เบอ้ื งตน้ นน้ั ว่า วิรเิ ยน ทุกฺขมจฺ เจติ คนจะลว่ งทุกขไ์ ด้กเ็ พราะความเพยี ร ดงั มีอรรถาธบิ ายมาแลว้ เอวํ ก็มีดว้ ยประการ ฉะน้ี. พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๕๘ พทุ ธศาสนสภุ าษติ หมวดประมาท อปปฺ มาโท อมตํ ปทํ หมวดตน ความไมป่ ระมาท เปน็ ทางไมต่ าย อตตฺ า หิ อตตฺ โน นาโถ ที่มา: คัมภรี ข์ ุททกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) ตนแล เป็นท่ีพ่งึ ของตน อปฺปมาทํ ปสํสนฺติ ทม่ี า: คัมภีร์ขุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) บัณฑติ ทัง้ หลาย ย่อมสรรเสริญความไม่ประมาท อตฺตา หเว ชิตํ เสยโฺ ย ทม่ี า: คมั ภรี ข์ ุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) ชนะตนนั้นแหละ เป็นดี หมวดทุกข์ ที่มา: คัมภรี ข์ ุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ทกุ ฺโข ปาปสฺส อจุ จฺ โย หมวดประมาท การสง่ั สมบาป เป็นทกุ ข์ (ในโลก) อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ทม่ี า: คัมภีรข์ ทุ ทกนิกาย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) ความไมป่ ระมาท เป็นทางไม่ตาย นตถฺ ิ ขนฺธสมา ทุกขฺ า ที่มา: คมั ภีรข์ ทุ ทกนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ความทุกข์อ่ืน เสมอดว้ ยขันธ์(๕) ไม่มี อปฺปมาทํ ปสํสนตฺ ิ ท่มี า: คัมภรี ข์ ุททกนิกาย ธัมมปทคาถา (ขุ.ธ.) บัณฑิตท้งั หลาย ยอ่ มสรรเสริญความไมป่ ระมาท หมวดจติ ที่มา: คัมภีรข์ ุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) จิตฺตํ รกขฺ ถ เมธาวี หมวดปญั ญา ผมู้ ปี ญั ญา พึงรกั ษาจติ นตฺถิ ปญฺญา สมา อาภา ที่มา: คมั ภีร์ขุททกนกิ าย ธัมมปทคาถา (ข.ุ ธ.) แสงสว่าง เสมอดว้ ยปัญญา ไมม่ ี จติ ฺตํ ทนตฺ ํ สุขาวหํ ทม่ี า: คมั ภรี ส์ งั ยตุ ตนิกาย สคาถวรรค (สํ.ส.) จติ ทฝี่ ึกดีแล้ว นำสขุ มาให้ ปญฺญา โลกสมฺ ิ ปชโฺ ชโต ท่ีมา: คมั ภีร์ขุททกนกิ าย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ปัญญา เปน็ แสงสวา่ งในโลก หมวดธรรม ท่มี า: คมั ภีรส์ ังยตุ ตนิกาย สคาถวรรค (ส.ํ ส.) มโนปพุ พฺ งฺคมา ธมมฺ า หมวดขันติ ธรรมทั้งหลาย มใี จเป็นหัวหน้า ขนตฺ ิ ปรมํ ตโป ตตี ิกฺขา ท่มี า: คัมภรี ข์ ุททกนิกาย ธมั มปทคาถา (ข.ุ ธ.) ขันติ คือความอดทน เป็นตบะอย่างย่ิง ธมฺโม สจุ ณิ ฺโณ สขุ มาวหาติ ที่มา: คมั ภีร์ขุททนิกาย ธมั มปทคาถา (ขุ.ธ.) ธรรมท่ีประพฤติดแี ล้ว ยอ่ มนำสุขมาให้ ขนตฺ ิ ตโป ตปสสฺ โิ น ที่มา: คมั ภรี ส์ ังยุตตนิกาย สคาถวรรค (สํ.ส.) ความอดทน เป็นตบะของผ้บู ำเพ็ญเพียร ที่มา: สวดมนต์ฉบบั หลวง (ส.ม.) พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
ก
ก
Search