Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปหลักธรรมมหึมาให้ได้ฝ่ามือเดียว

สรุปหลักธรรมมหึมาให้ได้ฝ่ามือเดียว

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-07-17 07:43:31

Description: สรุปหลักธรรมมหึมาให้ได้ฝ่ามือเดียว

Search

Read the Text Version

หลักธรรม ในพระพุทธศาสนา By Mrs.Panita Najampa

ความจริงที่ อริยสัจ 4 ใช้แก้ปัญหา พระพุทธเจ้าค้นพบ หลักธรรมที่ สอดคล้องกับ ครอบคลุม วิทยาศาสตร์ พิสูจน์ได้ มีเหตุ + ผล

ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค รู้ ละ บรรลุ เจริญ ผล เหตุ ผล เหตุ

ประเภทของทุกข์ ทุกข์ สภาวทุกข์ ปกิณกทุกข์ ทุกข์ประจำ ทุกข์จร

ขันธ์ 5 : องค์ประกอบของชีวิต ทุกข์ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ

จิต เจตสิก : การรับรู้ ปรุงแต่ง ทุกข์ จิต : วิญญาณ กุศล กลาง อกุศล เจตสิก : ธรรมที่ปรุงแต่งให้จิตคิด

โลกธรรม 8 ทุกข์ ธรรมที่มีประจำโลก ธรรมดาของโลก น่าปรารถนา ไม่น่าปรารถนา ได้ลาภ เสื่อมลาภ ได้ยศ เสื่อมยศ สรรเสริญ นินทา สุข ทุกข์

นิยาม 5 : กฎธรรมชาติ สมุทัย 1. อุตุนิยาม : ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ 2. พีชนิยาม : ก.สืบพันธุ์ 3. จิตตนิยาม : จิต อารมณ์ 4. กรรมนิยาม : พฤติกรรมของมนุษย์ 5. ธรรมนิยาม : ค.สัมพันธ์ที่เป็นเหตุเป็นผล

วิตก 3 : ความนึกคิด สมุทัย กุศลวิตก อกุศลวิตก เนกขัมมวิตก : ปลอดจากราคะ โลภะ กาม กามวิตก : คิด about กามคุณ อพยาบาทวิตก : ปลอดจากค.แค้น พยาบาทวิตก : คิดด้วยค.แค้น ชิงชัง อวิหิงสาวิตก : ปลอดจากค.เบียดเบียน วิหิงสาวิตก : คิดที่จะเบียดเบียน ทําร้าย

มิจฉาวณิชชา 5 : การค้าขายที่ผิด/ขัดกับศีลธรรม สมุทัย 1. สัตถวณิชชา : 2. สัตตวณิชชา : ขายอาวุธ ขายสัตว์/มนุษย์ 3. มังสวณิชชา : 4. มัชชวณิชชา : 5. วิสวณิชชา : ขายเนื้อสัตว์ ขายของมึนเมา ขายยาพิษ

นิวรณ์ 5 : สิ่งที่ขัดขวางไม่ให้จิตบรรลุเป้าหมาย สมุทัย 1. กามฉันทะ : 2. พยาบาท : 3. ถีนมิทถะ : พอใจในกามคุณ คิดร้าย/เคืองแค้น หดหู่ เซื่องซึม 4. อุทธัจจกุกกุจจะ : 5. วิจิกิจฉา : ฟุ้งซ่านรําคาญใจ ลังเลสงสัย

อุปาทาน 4 : ความยึดมั่นถือมั่นด้วยอำนาจกิเลส สมุทัย 1. กามุปาทาน 2. ทิฏฐุปาทาน ยึดมั่นในกามคุณ ยึดมั่นในทิฏฐิ ทฤษฏี ลัทธิ โดยไม่รู้จริง ทําให้เกิดค.หวงแหน แย่งชิง ทําให้เกิดก.ถกเถียง หาข้อยุติไม่ได้ 3. สีลัพพตุปาทาน 4. อัตตวาทุปาทาน ยึดมั่นในศีล ธรรมเนียมปฏิบัติ โดยไม่มีเหตุผล ยึดมั่นในวาทะว่ามีตัวตน ยึดมั่นใน ทําให้เป็นอุปสรรค อัตตา ทําให้เกิดทุกข์เมื่ออัตตาเปลี่ยน

ภาวิต 4 : ภาวะที่พัฒนาจากภาวนา 4 นิโรธ ภาวิตกาย ภาวิตศีล ภาวิตจิต ภาวิตปัญญา

วิมุตติ 5 : ความหลุดพ้นจากกิเลส นิโรธ 1. วิกขัมภนวิมุตติ : หลุดพ้นด้วยข่มไว้ 2. ตทังควิมุตติ : หลุดพ้นด้วยธรรมตรงกันข้าม 3. สมุจเฉทวิมุตติ : หลุดพ้นด้วยการตัดขาด 4. ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ : หลุดพ้นด้วยสงบระงับ 5. นิสสรณวิมุตติ : หลุดพ้นด้วยสลัดออกได้

นิพพาน : การดับกิเลส/กองทุกข์ นิโรธ ถาวร ดับกิเลสได้เด็ดขาด ไม่กลับมาเกิดอีก พระอรหันต์ พระอริยบุคคลขั้นโลดาบัน ชั่วคราว เมื่อมีโอกาสก็เกิดกิเลสอีก เช่น ดับค.โลภด้วยก.ให้ ดับค.โกรธด้วยเมตตา

พระสัทธรรม 3 : ธรรมของสัตบุรุษ(คนดี) มรรค ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ

มรรค ปัญญาวุฒิธรรม 4 : ธรรมที่ทำให้ปัญญางอกงาม 1) สัป: ปคุรบิสคสนังดีเสวะ 2) สัทธัมมัสสวนะ 3: )คิโดยถูนกิโวสิธมีมีนเหสิตกุผารล : ต้ั งใจฟังคําแนะนํา 4) ธัมมานุธัมมปฏิบัติ : ปฏิบัติตามได้ถูกต้อง ได้ปัญญา

พละ 5 : ธรรมที่เป็นกำลังสนับสนุนมรรค 8 ให้เกิดปัญญา มรรค สัทธา วิริยะ สติ : ค.เชื่อที่มีเหตุผล : เพียรคิด เพียรทำ : ระลึกได้ ไม่ประมาท สมาธิ ปัญญา : ตั้งใจแน่วแน่แต่นิ่มนวล : รู้ดี รู้ชั่ว

อุบาสกธรรม 5 มรรค : ธรรมของอุบาสกอุบาสิกาที่ดี 1) มีศรัทธา 2) มีศีล 3) ไม่ถือมงคลตื่นข่าว : ไม่งมงาย 4) ไม่แสวงหาทักขิไณยภายนอกหลักคําสอน : ทําบุญตามหลักพระพุทธศาสนา 5) บํารุงศาสนา

อปริยหานิยธรรม 7 : ธรรมที่ทําให้ไม่เสื่อม เจริญอย่างเดียว มรรค 1) หมั่นประชุมกัน 2) พร้อมเพรียงกัน 3) ไม่บัญญัติขัด 4) เคารพผู้ใหญ่ เนืองนิตย์ ประชุม ต่อหลักการเดิม 5) ไม่รังแกผู้ญ./เด็ก 6) เคารพ สักการะ 7) จัดอารักขา เจดีย์/ พระอรหันต์พระภิกษุ อนุสาวรีย์ประจําชาติ

ปาปณิกธรรม 3 : ธรรมของผู้ค้าขาย/ผู้ประกอบการ มรรค จักขุมา วิธุโร นิสสยสัมปันโน ตาถึง จัดเจนธุรกิจ หาแหล่งทุน ร่วมหุ้นส่วน รู้แหล่ง รู้ค.เคลื่ อนไหว รู้ใจลูกค้า

ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 มรรค : ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ ในปัจจุบัน อุฏฐานสัมปา : ขยันหา อารักขสัมปทา : ขยันเก็บ กัลยาณมิตตา : เลือกคบ สมชีวิตา : เลือกใช้

โภคอาทิยะ 5 มรรค : ธรรมในการใช้จ่ายทรัพย์ 1) เลี้ยงตัว-ครอบครัว 2) บํารุงมิตร ผู้ร่วมงาน 3) ป้องกันอันตราย 4) ทําพลีกรรม (เสียสละเพื่อช่วยเหลือ) 5) อุปถัมภ์บํารุงสมณะ ผู้ประพฤติดี

อริยวัฑฒิ 5 : หลักความเจริญของอารยชน มรรค 1) ศรัทธา 2) ศีล 3) สุตะ (รู้ดี รู้มาก คงแก่เรียน) 4) จาคะ (ก.ให้) 5) ปัญญา

มรรค อธิปไตย 3 : อํานาจของจิตที่ถือเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นใหญ่ 1) ถือตนเป็นใหญ่ 2) ถือโลกเป็นใหญ่ 3) ถือธรรมเป็นใหญ่ ยกตนให้ละชั่ว ทําดี ทําใจให้บริสุทธิ์ ถูกต้อง

สาราณียธรรม 6 มรรค : ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึงกัน ทําให้เกิดความสามัคคี 1) กายกรรม 2) วจีกรรม 3) มโนกรรม 4) สาธารณโภคี 5) สีลสามัญญตา 6) ทิฏฐิสามัญญตา

มรรค ทศพิธราชธรรม 10 : คุณธรรมของนักปกครอง 1) การให้ (ทาน) 6) ความมีตบะ (ตปะ) เพียรข่มใจ 2) การต้ั งอยู่ในศีล (ศีล) 7) ความไม่โกรธ (อักโกธะ) 3) การบริจาค (ปริจาคะ) 8) ความไม่เบียดเบียน (อวิหิงสา) 4) ความซื่อตรง (อาชชวะ) 9) ความอดทน (ขันติ) 5) ความอ่อนโยน (มัททวะ) 10) ความไม่คลาดธรรม (อวิโรธนะ)

วิปัสสนาญาณ 9 มรรค : ความรู้ที่ทําให้เกิดความเห็นแจ้ง เข้าใจ สภาวะของสิ่งทั้งหลายตามเป็นจริง 1. อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ (ญาณอันตามเห็นความเกิดและความดับ) 2. ภังคานุปัสสนาญาณ (ญาณอันตามเห็นความสลาย) 3. ภยตูปัฏฐานญาณ (ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว) 4. อาทีนวานุปัสสนาญาณ (ญาณอันคํานึงเห็นโทษ) 5. นิพพทานุปัสสนาญาณ (ญาณอันคํานึงเห็นด้วยความหน่าย) 6.มุญจิตุกัมยตาญาณ(ญาณอันคํานึงด้วยใคร่จะพ้นไปเสีย ปรารถนาที่จะพ้นไปจากสังขาร) 7. ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ (ญาณอันคํานึงพิจารณาหาทาง) 8. สังขารุเปกขาญาณ (ญาณอันเป็นไปโดยความเป็นกลางต่อสังขาร) 9. สัจจานุโลมิกญาณ หรือ อนุโลมญาณ (ญาณอันเป็นไปโดยอนุโลมแก่การหยั่งรู้อริยสัจ)

มรรค มงคล 38 เหตุแห่งความสุข ความก้าวหน้าในการดําเนินชีวิต

สรุป!

จบแล้วค่ะ หากมีข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะ Comment ได้เลยนะคะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook