Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเตรียมสอบธรรมศึกษาชั้นโท มัธยม

คู่มือเตรียมสอบธรรมศึกษาชั้นโท มัธยม

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-06-24 15:54:21

Description: ตรงตามหลักสูตรแม่กองธรรมสนามหลวง
ปี ๒๕๖๑

Search

Read the Text Version

ก คมู่ ือเตรียมสอบ ธรรมศกึ ษาช้ันโท ระดบั มัธยมศกึ ษา ตรงตามหลกั สูตรแม่กองธรรมสนามหลวง ปี ๒๕๖๑ รวมสรุปย่อเนอ้ื หาทใี่ ชใ้ นการเตรยี มสอบธรรมศกึ ษาชัน้ โท ระดับมธั ยมศกึ ษา ภายในเล่ม มเี น้ือหาประกอบดว้ ย เทคนิคการเขยี นเรยี งความแก้กระทธู้ รรม สรุปย่อเนอื้ หาและตวั อย่างขอ้ สอบทีใ่ ชส้ อบในปจั จบุ นั ครบทกุ วิชา เหมาะอย่างยิ่งสำหรบั นกั เรยี นใช้ทบทวนเนือ้ หา และเตรียมความพร้อมกอ่ นสอบ ชว่ ยเพมิ่ ความม่ันใจในการสอบมากยิง่ ข้ึน

ข คมู่ อื เตรียมสอบธรรมศกึ ษาช้ันโท ระดบั มธั ยมศึกษา ที่ปรึกษา : พระมหาสธุ รรม สรุ ตโน ป.ธ.๙, ดร. พระมหาวิทยา จิตฺตชโย ป.ธ.๙ ผู้เรยี บเรยี ง : พระอตคิ ุณ ฐิตวโร ดร. ลขิ สิทธ์ิ : โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม วัดพระธรรมกาย ๒๓/๒ หมู่ ๗ ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ๑๒๑๒๐ http://www.pariyat.com, E-mail : [email protected] พิมพค์ รงั้ แรก : ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวน : ๕๐๐ เล่ม พมิ พ์ที่ : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สติ เลขที่ ๙๙ หมู่ ๑๘ ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี ๑๒๑๒๑ สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการใหท้ ัง้ ปวง หนงั สอื เลม่ นไี้ ดร้ ับการสนับสนุนการจัดพิมพแ์ ละเผยแพร่เป็นธรรมทาน โดย มลู นิธิธรรมกาย สำหรับสำนกั ศาสนศึกษา สถานศกึ ษา ทมี่ คี วามประสงคจ์ ะนำไปใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน ธรรมศกึ ษาช้ันโท ระดบั มัธยมศกึ ษา ตดิ ตอ่ ไดท้ ่ี โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม วัดพระธรรมกาย จ.ปทมุ ธานี โทร. ๐-๒๘๓๑-๑๐๐๐ ต่อ ๑๓๗๘๐

ค คำนำ คู่มือเตรียมสอบธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยมศึกษา จัดพิมพ์ ขนึ้ เพอ่ื ให้นักเรียนไดม้ ีคู่มือเตรียมสอบ ที่สามารถอา่ นไดท้ ้ังสรุปย่อเนื้อหา และตวั อยา่ งข้อสอบ ตรงตามหลักสูตรแม่กองธรรมสนามหลวง ปี ๒๕๖๑ ภายในเล่มมีเนื้อหาประกอบด้วย เทคนิคการเขียนเรียงความแก้กระทู้ ธรรม สรุปย่อเนื้อหาและตัวอย่างข้อสอบที่ใช้สอบในปัจจุบันครบทุกวิชา เหมาะอย่างยิ่งสำหรับนักเรียนใช้ทบทวนเนื้อหาและเตรียมความพร้อม ก่อนสอบ คณะผู้จดั ทำหวงั ว่า นักเรยี นธรรมศึกษาจะได้รับประโยชน์จาก การศึกษาหนังสือเลม่ น้ี โดยเฉพาะวิธกี ารเขยี นเรียงความแก้กระทู้ธรรมที่ ง่ายต่อการจดจำ และสรุปย่อเน้ือหาแต่ละวิชาที่จะช่วยเสริมความเข้าใจ และจดจำแนวทางการออกข้อสอบได้ง่าย ใช้ทบทวนเนื้อหาก่อนเข้าสอบ ธรรมสนามหลวง เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการทำข้อสอบได้มากยิ่งขึ้น สามารถสอบผ่านธรรมศึกษาชนั้ โทไดอ้ ยา่ งภาคภูมใิ จ ท้ายที่สุดนี้ ขอขอบคุณผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และผู้มี สว่ นเกย่ี วขอ้ งทกุ ทา่ นทใ่ี หค้ ำแนะนำ พรอ้ มทัง้ ความช่วยเหลือสนับสนุนใน การจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้จนสำเร็จเรียบร้อยด้วยดีทุกประการ ขอน้อม อุทิศบุญกุศลทั้งหลายอันจะเกิดขึ้น แด่มหาปูชนียาจารย์ มารดาบิดา คณุ ครอู ุปชั ฌายอ์ าจารย์และผ้มู ีพระคุณทุกท่าน ขอขอบคณุ และอนุโมทนาบุญ พระอติคณุ ฐติ วโร, ดร. ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

ง หนา้ ๑ สารบญั ๒ บทท่ี ๑ การเขียนเรียงความแกก้ ระทู้ธรรม ธรรมศกึ ษาชนั้ โท ๓ ระดบั มธั ยมศึกษา ๔ ๑.๑ วธิ อี า่ นภาษาบาลี ๖ ๑.๒ หลักเกณฑ์การเขียนเรยี งความแก้กระทู้ธรรม ๑๑ ๑.๓ โครงสรา้ งการเขียนกระทู้ธรรม ๑๕ ๑.๔ แนวทางการอธบิ ายหัวข้อกระทูธ้ รรม ๑๘ ๑.๕ ตัวอยา่ งขอ้ สอบวิชาเรยี งความแก้กระทูธ้ รรม ๑.๖ กระทยู้ อดนิยม ๑๙ ๒๘ บทที่ ๒ สรุปย่อเนือ้ หา-แนวขอ้ สอบธรรมศกึ ษาชั้นโท ๓๓ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ๓๗ ๒.๑ แนวข้อสอบธรรมศกึ ษาชนั้ โท วชิ าธรรมวิภาค ๔๔ ๒.๒ แนวขอ้ สอบธรรมศกึ ษาชั้นโท วชิ าอนุพุทธประวตั ิ ๖๘ ๒.๓ แนวขอ้ สอบธรรมศกึ ษาชน้ั โท วชิ าศาสนพธิ ี ๒.๔ แนวขอ้ สอบธรรมศึกษาชั้นโท วิชาอุโบสถศีล กระดาษเขยี นเรยี งความแก้กระท้ธู รรม บรรณานุกรม

๑ บทที่ ๑ การเขยี นเรยี งความ แก้กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชน้ั โท ระดับมธั ยมศกึ ษา

๒ ๑.๑ วธิ ีอ่านภาษาบาลี ๑) พยญั ชนะที่มีสระกำกับอยู่ ให้อา่ นออกเสยี งตามสระนัน้ ๆ เช่น ปรุ ิมานิ อา่ นวา่ ปุ-ร-ิ มา-นิ ตีณิ อา่ นวา่ ต-ี ณิ ๒) พยญั ชนะที่ไมม่ สี ระใดๆ กำกับอยูเ่ ลย ให้อ่านออกเสยี งสระ อะ ทุกแห่ง เชน่ นววิธํ อ่านวา่ นะ-วะ-ว-ิ ธงั ปน อา่ นวา่ ปะ-นะ ๓) พยัญชนะที่มี พนิ ทุ ( ฺ ) อยูข่ ้างล่าง แสดงว่าพยญั ชนะตัวน้ันเป็นตวั สะกด ใหอ้ า่ นออกเสียงรวมกบั สระของพยญั ชนะ ท่อี ยู่ข้างหนา้ เชน่ ภิกฺขู (ภิ+ก=ภกิ ) อ่านว่า ภกิ -ขู โหนตฺ ิ (โห+น=โหน) อ่านว่า โหน-ติ ถ้าพยญั ชนะที่อยูข่ า้ งหน้าไม่มีสระใดๆ กำกับอยเู่ ลย พนิ ทุ ( ฺ ) นนั้ จะเท่ากบั ไมห้ นั อากาศ เชน่ ตตถฺ (ตะ+ต=ตัต) อ่านวา่ ตัต-ถะ อฏฺฐ (อะ+ฏ=อฏั ) อ่านวา่ อฏั -ฐะ ๔) พยัญชนะทมี่ ี นคิ หิต ( ํ ) อยู่ข้างบนและมสี ระกำกบั อยู่ด้วย ใหอ้ ่านออกเสยี งมี ง เปน็ ตวั สะกด เชน่ กึ (กิ+ง=กงิ ) อา่ นวา่ กงิ กาตุํ (ต+ุ ง=ตุง) อ่านวา่ กา-ตงุ ถา้ พยัญชนะทม่ี ี นิคหติ ( ํ ) อยขู่ ้างบน แตไ่ มม่ ีสระใดๆ กำกบั อย่เู ลย นคิ หิต ( ํ ) นัน้ จะเท่ากับ อัง เชน่ วตตฺ ํ (ตะ+ง=ตัง) อา่ นว่า วัต-ตัง อยํ (ยะ+ง=ยัง) อา่ นว่า อะ-ยงั ๕) พยัญชนะตวั หนา้ ที่มี พินทุ ( ฺ ) อยขู่ า้ งลา่ ง ให้อ่านออกเสียงสระ อะ กึ่งเสยี ง เช่น เทฺว อ่านวา่ ท๎-เว พฺยตตฺ ํ อา่ นว่า พ-๎ ยตั -ตงั ๖) ถา้ มี ร อยู่หลังพยัญชนะทม่ี ี พนิ ทุ ( ฺ ) อยู่ขา้ งลา่ ง ใหอ้ า่ นออกเสียงควบกล้ำกัน เช่น ตตฺร อ่านวา่ ตัต-ตระ พฺรหมฺ จรยิ า อ่านวา่ พรมั -มะ-จะ-ร-ิ ยา ๗) ส ที่มี พินทุ ( ฺ ) อยขู่ ้างล่าง ใหอ้ ่านออกเสียงเปน็ ตัวสะกดของพยัญชนะท่ีอยูข่ ้างหน้า และออกเสยี ง ส นั้นอกี กงึ่ เสยี ง เช่น อมิ สฺมึ อา่ นวา่ อิ-มัส-ส๎-หมงิ ตสมฺ า อา่ นวา่ ตัส-ส-๎ หมา

๓ ๘) คำที่ลงทา้ ยด้วย ตวฺ า ตวฺ าน ให้อ่านออกเสยี ง ต เปน็ ตวั สะกดของพยญั ชนะท่ีอยู่ขา้ งหน้า และออกเสยี ง ต นั้น อีกก่งึ เสยี ง เชน่ กตฺวา อ่านว่า กตั -ต-๎ วา คเหตวฺ า อา่ นวา่ คะ-เหต-ต-๎ วา ๙) ฑ ใหอ้ ่านออกเสียงเปน็ ตวั ด ทั้งหมด เช่น ปิณฑฺ ปาตํ อา่ นว่า ปิณ-ดะ-ปา-ตงั ปณิ ฺฑาย อ่านวา่ ปิณ-ดา-ยะ ๑๐) ห ที่มีสระ อี อยู่ดว้ ย ใหอ้ ่านออกเสียงเป็น ฮี เช่น ตณุ หฺ ี อ่านวา่ ตณุ -ณ๎-ฮี อจฺฉาเทหีติ อ่านว่า อัจ-ฉา-เท-ฮ-ี ติ ๑.๒ หลักเกณฑ์การเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม ๑) กระทตู้ ง้ั คือ ธรรมภาษติ ท่ีเป็นปัญหาทยี่ กข้ึนมากอ่ นสำหรบั ให้แตง่ แก้ เช่น ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลฺยาณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปก.ํ บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนัน้ ผ้ทู าํ กรรมดี ย่อมไดผ้ ลดี ผทู้ าํ กรรมชวั ่ ยอ่ มได้ผลชวั ่ ๒) คำนำ คือ คำขึ้นต้นหรือคำชี้แจงก่อนจะแต่งต่อไป กล่าวคือ เมื่อยกคาถาบทตั้งไว้แล้วเวลาจะแต่งต้อง ขนึ้ อารมั ภบทก่อนวา่ บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น เพื่อเป็นแนวทาง แหง่ การประพฤติปฏิบตั ิของสาธุชนผู้ใครใ่ นธรรมสืบไป ๓) เนื้อเรื่องของกระทู้ตั้ง ต้องมีเนื้อหาสาระสำคัญ ลำดับเนื้อหาสาระให้ต่อเนื่องกันเป็นเหตุเป็นผล โดย ขนึ้ ต้นด้วยคำว่า “อธบิ ายความวา่ ” กอ่ นจบการอธิบายจะลงท้ายด้วยคำวา่ “นี้สมดว้ ยธรรมภาษติ ท่มี าใน (ใส่ท่ีมาของ ธรรมภาษติ ที่นำมารับ) วา่ ” เพอ่ื รับรองไว้เปน็ หลักฐาน เชน่ นี้สมด้วยธรรมภาษติ ทม่ี าใน ขทุ ทกนกิ าย ธรรมบท วา่ ๔) กระทู้รับ คือ ธรรมภาษิตที่ยกขึ้นมารับรองให้สมเหตุสมผลกับกระทู้ตั้ง เพราะการแต่งเรียงความนั้น ตอ้ งมีกระท้รู บั อ้างให้สมจริงกบั เนือ้ ความทไี่ ดแ้ ต่งไป มใิ ชเ่ ขยี นไปแบบลอย ๆ เช่น อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา อตฺตนา หิ สทุ นฺเตน นาถํ ลภติ ทลุ ลฺ ภ.ํ

๔ ตนแล เป็นที่พึ่งของตน คนอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ กบ็ ุคคลมตี นฝึ กฝนดีแลว้ ยอ่ มได้ท่ีพึง่ ท่ีหาได้โดยยาก. ๕) เน้ือเรื่องของกระทู้รับ คอื อธิบายเนือ้ หาสาระสำคัญของธรรมภาษติ ท่ยี กมารับ โดยขนึ้ ตน้ ด้วยคำวา่ “อธบิ ายความว่า” ๖) บทสรุป คือ การรวบรวมใจความสำคญั ของเรื่องที่ได้อธบิ ายมาแต่ตน้ โดยกล่าวสรุปลงสั้นๆ หรือย่อ ๆ ให้ได้ความหมายที่ครอบคลมุ ถึงเน้ือหาที่กล่าวมาทั้งกระทู้ตั้งและกระทู้รบั โดยขึ้นตน้ ดว้ ยคำวา่ “สรุปความว่า” ก่อนจบ การสรุปจะลงท้ายด้วยคำว่า “สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า” แล้วจึงเขียนกระทู้ตั้ง พร้อมคำแปลอีก คร้ังหนึง่ เชน่ สมดว้ ยธรรมภาษิตทไี่ ด้ลิขิตไว้ ณ เบ้ืองตน้ วา่ ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลยฺ าณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปก.ํ บุคคลหวา่ นพชื เช่นใด ยอ่ มได้ผลเช่นนัน้ ผ้ทู าํ กรรมดี ย่อมได้ผลดี ผทู้ าํ กรรมชวั ่ ยอ่ มได้ผลชวั ่ ๗) คำลงท้าย คือ ประโยคที่เป็นการจบการเขียนเรียงความ จะใช้คำว่า “มีนัยดังได้พรรณนามาด้วย ประการฉะนี้ ฯ” โดยใหเ้ ขียนขน้ึ บรรทัดใหม่ชิดเส้นกน้ั หน้า ๘) จำนวนกระทู้รบั คือ จำนวนธรรมภาษติ ทจ่ี ะต้องหามาเชอ่ื มกบั กระทู้ต้ัง สำหรับระดบั ธรรมศกึ ษาช้ันโท ใหใ้ ช้ ๒ ธรรมภาษติ ๙) จำนวนหน้าที่ต้องเขียน คือ การเขียนเรียงความในกระดาษตอบสนามหลวง ขนาด F14 เว้นบรรทัด สำหรับระดับธรรมศึกษาชั้นโท ต้องเขียนอย่างน้อย ๓ หน้ากระดาษขึ้นไป และห้ามใช้ดินสอหรือปากกาน้ำหมึกสีแดง เขียนหรือขีดเส้นโดยเด็ดขาด ให้ใช้ปากกาน้ำหมึกสีน้ำเงินหรือสีดำเท่านั้น หากเขียนผิดเล็กน้อย สามารถใช้น้ำยาหรือ เทปลบคำผดิ ได้ ๑๐) การเขียนตัวเลขบอกจำนวน หากต้องเขียนตัวเลขบอกจำนวนขอ้ เช่น ๑)........ ๒)........ ๓)........ ให้ ใช้ตัวเลขไทย หา้ มเขียนตวั เลขอารบคิ และไมต่ ้องข้ึนยอ่ หน้าใหม่ ให้เขียนเรียงตอ่ กันอยใู่ นย่อหน้าของการอธบิ ายความ ๑.๓ โครงสร้างการเขยี นกระทูธ้ รรม (กระท้ตู ้ัง)-------------. (คำแปลกระท้ตู งั้ )-------------. (ไมต่ ้องเขียนทม่ี าของกระทตู้ ้ัง) บัดนจี้ กั ได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตท่ไี ด้ลขิ ิตไว้ ณ เบื้องต้น เพอ่ื เป็นแนวทางแห่งการประพฤติ ปฏิบัติของสาธชุ นผใู้ ครใ่ นธรรมสืบไป อธิบายความว่า -------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------

๕ ----------------------(เขยี นอธิบายประมาณ ๘-๑๐ บรรทัด)------------------------ - ------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- ------ นสี้ มด้วยธรรมภาษิต ท่มี าใน --(เขยี นทม่ี าของกระทู้รบั ท่ี ๑ เช่น ขุททกนิกาย ธรรมบท)--ว่า (กระทูร้ บั ท่ี ๑)----------. (คำแปลกระทู้รบั ท่ี ๑)----------. อธิบายความว่า -------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- -----------------------(เขียนอธบิ ายประมาณ ๘-๑๐ บรรทัด)----------------------- -------------------------------------------------------------------- --------------- นี้สมด้วยธรรมภาษิต ทมี่ าใน -----(เขยี นที่มาของกระท้รู บั ๒)-----ว่า (กระทูร้ บั ที่ ๒)----------. (คำแปลกระทรู้ บั ท่ี ๒)-----------. อธิบายความว่า -------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- ------------------------(เขียนอธิบายประมาณ ๘-๑๐ บรรทดั )---------------------- -------------------------------------------------------------------- --------------------------------------- สรุปความว่า ---------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- ------ -------------------(เขยี นสรุปประมาณ ๕-๘ บรรทัด)----------------------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- ---------------- สมดว้ ยธรรมภาษติ ทไ่ี ด้ลิขิตไว้ ณ เบอ้ื งตน้ วา่ (กระทูต้ ง้ั )-----------. (คำแปลกระทู้ตั้ง)-----------. (ไมต่ อ้ งเขียนทม่ี าของกระทู้ตั้ง) มีนยั ดงั ได้พรรณนามาด้วยประการฉะนี้ ฯ

๖ ๑.๔ แนวทางการอธิบายหัวข้อกระท้ธู รรม สำหรับการเรียนการสอนธรรมศึกษาชั้นโท ระดับประถมศึกษา มีขอบข่ายพุทธศาสนสุภาษิตที่จะใช้เป็น หวั ข้อกระทู้ตัง้ มี ๓ หมวดธรรม ไดแ้ ก่ ๑) หมวดตน ๒) หมวดกรรม ๓) หมวดปัญญา มรี ายละเอยี ด ดังน้ี ๑. อตั ตวรรค คอื หมวดตน ในหมวดน้ีมพี ุทธศาสนสภุ าษิตท่ีต้องศกึ ษา ๓ หัวขอ้ (ข้อสอบอาจจะเลือกมาเป็นกระทู้ต้ัง) คือ ๑) อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหนุ าปิ น หาปเย อตฺตทตถฺ มภิญญฺ าย สทตฺถปสุโต สิยา. บคุ คลไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ผ้อู ื่นแม้มาก ร้จู กั ประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท อธิบายความว่า คำว่า ประโยชน์ หมายถึง ผลที่บุคคลผู้ประพฤติปฏิบัติจะได้รับ ในที่นี้หมายถึง ความดี หรืออกศุ ลกรรมทีบ่ ุคคลได้กระทำและบำเพญ็ ไว้ แลว้ ไดร้ ับประโยชน์จากส่งิ น้นั ๆ มี ๒ อย่าง คือ ๑) ประโยชน์ของตนเอง ๒) ประโยชน์ของผ้อู น่ื ประโยชน์ท่เี กดิ ข้นึ น้นั มีหลายระดับตัง้ แตป่ ระโยชน์ในปัจจบุ นั คือ มคี วามสุขสบายทางกายและใจ ประสบความสำเร็จในชวี ิต ประโยชน์ในภพชาติเบื้องหน้า คือ ละโลกแล้วได้ไปสูส่ ุคติโลกสวรรค์ จนถึงได้เขา้ พระนิพพาน ซึ่งทุกคนต้องเร่งขวนขวายประกอบเหตุเพื่อทำประโยชน์เหล่านั้นให้เกิดขึ้น โดยกำหนดได้ว่า นี้เป็นประโยชน์ของตน ก็ ยนิ ดีพอใจทำกจิ ธุระท่สี ำคญั ของตนเองให้เสร็จสน้ิ เสียก่อน ไม่ปล่อยเวลาให้ผา่ นเลยไป เชน่ การปฏบิ ัตธิ รรม ศกึ ษาธรรมะ ขณะที่ยังแข็งแรง ไม่มัวหลงในการทำมาหากินเพื่อสั่งสมความมั่งคั่งร่ำรวย จนกระทั่งเข้าสู่วัยชรา แล้วจึงค่อยสั่งสมบุญ กุศลใหแ้ กต่ ัวเอง เพราะการสง่ั สมบุญกุศลนนั้ เปน็ การทำประโยชน์ของตนให้เกิดข้นึ ๒) อตฺตานญเฺ จ ตถา กยิรา ยถญญฺ มนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุททฺ โม. ถ้าสอนผ้อู ่ืนฉันใด พึงทาํ ตนฉันนัน้ ผ้ฝู ึ กตนดีแล้ว ควรฝึ กผอู้ ่ืน ได้ยินว่าตนแลฝึ กยาก. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท อธิบายความว่า คำวา่ พร่ำสอนผ้อู นื่ ฉนั ใด พึงทำตนฉนั นน้ั หมายถึง การสอนให้เขาทำอยา่ งใด ก็ทำเช่นนั้น เปน็ ตวั อย่างดว้ ย ไม่ใช่สอนอยา่ งหนึ่ง แต่การกระทำเป็นอีกอยา่ งหนึง่ คอื ตอ้ งเป็นทงั้ ผู้แนะและผู้นำดว้ ย ผู้แนะ คือ ผู้ที่ชี้ แนวทางว่า อะไรดี อะไรชั่ว อะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป อะไรเป็นประโยชน์ อะไรไม่เป็นประโยชน์ อะไรควรทำ อะไรไม่ ควรทำ ผู้นำ คอื ทำตนเองใหเ้ ป็นแบบอย่างที่ดี ประพฤติตนอยใู่ นศีลธรรม มีความซอ่ื สัตยส์ ุจริต หาเล้ยี งชีพโดยชอบธรรม ดังน้ัน เม่ือจะสอนใครให้รับฟังและให้เขาอยากปฏิบตั ิตาม ต้องหมน่ั ฝึกฝนจนเกิดความชำนาญก่อน ไมว่ ่าจะเป็นเรื่องใดๆ เช่น การให้ทาน รักษาศีล เจริญสมาธิภาวนา เวลาไปแนะนำผู้อ่ืนย่อมชี้แจงและสอนเขาได้อย่างถูกต้อง และง่ายต่อการ ปฏบิ ตั ิ เพราะสอนจากประสบการณ์จรงิ ของตน ถา้ ผสู้ อนยงั ปฏิบตั ิไม่ได้ หากไปฝึกคนอนื่ ยอ่ มไม่มใี ครเชื่อถอื ถ้อยคำ

๗ ๓) อตตฺ านเมว ปฐมํ ปฏิรเู ป นิเวสเย อถญญฺ มนุสาเสยยฺ น กิลิสเฺ สยฺย ปณฺฑิโต. บณั ฑิตพึงตงั้ ตนไว้ในคณุ อนั สมควรก่อน สอนผอู้ ื่นภายหลงั จึงไม่มวั หมอง. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท อธิบายความว่า คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ดำเนินชีวิตด้วยปัญญา คำว่า คุณอันสมควร หมายถึง มีความ ปรารถนาน้อย สันโดษ เลี้ยงง่าย คำว่า มัวหมอง หมายถึง คนที่สอนอะไรแล้วไม่ปฏิบัติตามอย่างทีส่ อน ถูกผู้อื่นนินทาวา่ ร้ายจึงมีความมัวหมอง ผู้ที่มีหน้าที่สั่งสอนผู้อื่นต้องเป็นผู้ทีม่ ีความรู้คู่กับคุณธรรม สามารถประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ได้จึงสมควรได้รับการยกย่องสรรเสริญ สมควรให้ผู้อื่นเอาแบบอย่างที่ดีของตนเองไปเป็นตัวอย่าง ความมัวหมองจึงไม่ เกดิ ขน้ึ แกบ่ คุ คลผู้มีปัญญานัน้ อยา่ งแน่นอน ๒. กมั มวรรค คือ หมวดกรรม ในหมวดนี้มีพุทธศาสนสภุ าษิตทต่ี ้องศึกษา ๔ หัวข้อ (ข้อสอบอาจจะเลือกมาเปน็ กระทู้ต้ัง) คอื ๑) อติสีตํ อติอณุ ฺหํ อติสายมิทํ อหุ อิติ วิสสฺ ฏฺฐกมมฺ นฺเต อตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเว. ประโยชน์ทงั้ หลายย่อมล่วงเลยคนผ้ทู อดทิ้งการงาน ด้วยอ้างว่าหนาวนัก ร้อนนัก เยน็ เสียแล้ว. ทีม่ า ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค อธิบายความว่า คำว่า ประโยชน์ หมายถึง ผลที่ได้ตามที่ต้องการ แบ่งได้ ๓ ประเภท คือ ๑) ประโยชน์ใน ปจั จุบัน ๒) ประโยชน์ในอนาคต ๓) ประโยชนอ์ ย่างยงิ่ คอื นิพพาน ประโยชนต์ ามทีไ่ ด้กล่าวนี้ สำหรบั คนทเ่ี กียจครา้ นไม่ ทำงาน ไม่มีวันที่จะได้รับเลย เพราะคนที่เกียจคร้านมักจะมีข้ออ้างอยู่เสมอ เช่น อากาศหนาวอยู่ อากาศร้อน เย็นมาก แล้ว ไม่ยอมทำงานหรือสร้างความดี เช่น ให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ผัดวันประกันพรุ่งอยู่ร่ำไป ทำให้ชีวิตคนเกียจ คร้านเป็นที่รังเกียจของสังคม หาความเจริญไม่ได้ ส่วนคุณธรรมที่ช่วยให้สำเร็จประโยชน์ในปัจจุบัน ให้ดำเนินตาม หลักทิฏฐิธัมมิกัตถประโยชน์ ได้แก่ ขยันหา รักษาไว้ คบเพื่อนดี มีงานสุจริต ด้านประโยชน์ในอนาคตต้องประพฤติ หลักสัมปรายิกัตถประโยชน์ ได้แก่ ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ศีล การเสียสละ และปัญญา และประโยชน์อย่างยิ่งคือพระ นพิ พาน ด้วยการปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา ได้แก่ ศีล สมาธิ ปญั ญา ดงั น้นั ผูป้ รารถนาประโยชนท์ ้ังหลายเหล่านี้ จึงควร หมนั่ ปฏิบัติตามคำสอนของพระสมั มาสัมพุทธเจ้า ไมป่ ลอ่ ยเวลาใหล้ ่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์ ๒) ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลยฺ าณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปก.ํ บคุ คลหว่านพชื เช่นใด ยอ่ มได้ผลเช่นนัน้ ผ้ทู าํ กรรมดี ยอ่ มได้ผลดี ผทู้ าํ กรรมชวั่ ยอ่ มได้ผลชวั่ . ทีม่ า สงั ยุตตนิกาย สคาถวรรค

๘ อธบิ ายความว่า คำว่า ผู้ทำกรรมดี หมายถงึ ผูท้ ำกุศลธรรม ๓ อย่าง คอื ๑) อโลภะ ไม่อยากได้ของผู้อ่ืนมา เป็นของตน ๒) อโทสะ ไม่คิดประทุษร้ายผู้อื่น หรือกระทำให้ผู้อื่นได้รับความเดือดร้อน ๓) อโมหะ ไม่หลงงมงาย คือ เชื่อโดยความถูกต้อง เมื่อกระทำกรรมดีตามท่ีกล่าวแลว้ ผู้นั้นย่อมได้รับผลดีคือไมต่ ้องกลวั เดือดร้อน เพราะกรรมที่ตน กระทำไว้ดีแล้ว มีความสุข ความสบาย และมีสุคติเป็นเบื้องหน้า ส่วนผู้กระทำกรรมชั่ว คือ กรรมอันลามกหรือ บาปกรรม เขายอ่ มได้รบั ผลช่ัวตามท่ีได้ประกอบกรรมช่วั ไวเ้ ป็นความทุกข์ ความเดอื ดร้อนในโลกนี้ แล้วไปประสบความ เดือดร้อนในอบาย ในสัมปรายภพต่อไป เหมือนชาวนา เมื่อถึงฤดูทำนาย่อมไถและหว่านข้าวลงในนา เพราะมีน้ำหรือ ฝนตกถกู ต้องตามฤดกู าล ข้าวท่ีหวา่ นไว้ก็เจรญิ งอกงามและออกรวงสมบรู ณ์ หากข้าวที่ปลูกไวไ้ มไ่ ดร้ บั ดแู ลเอาใจใส่อย่าง ดี ไมไ่ ด้รับนำ้ ตามสมควร ยอ่ มไมอ่ อกรวงหรอื ไดผ้ ลผลิตไมเ่ ต็มท่ี ชาวนาย่อมขาดทุน ไดร้ ับความเดือดรอ้ นในท่สี ุด ๓) โย ปพุ เฺ พ กตกลยฺ าโณ กตตโฺ ถ นาวพชุ ฺฌติ อตฺถา ตสสฺ ปลุชชฺ นฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา. ผใู้ ด อนั ผ้อู ่ืนทาํ ความดี ทาํ ประโยชน์ให้ในกาลก่อน แต่ไม่ร้สู ึก (คณุ ของเขา) ประโยชน์ที่ผ้นู ัน้ ปรารถนาย่อมฉิบหาย. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ชาดก สตั ตกนิบาต อธิบายความว่า บุคคลผู้ใด เมื่อผู้อื่นกระทำความดีให้ โดยการชักชวนให้บำเพ็ญกุศล มีการบริจาคทาน สละให้ปันสิ่งของของตน เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น เพื่อกำจัดความตระหนี่ของตนออกไป ให้รักษาศีล คือ รักษากาย วาจาให้เรียบร้อย โดยการไม่เบียดเบียนผู้อื่นทั้งทางร่างกายและทรัพย์สิน ทางวาจา ไม่โกหก หลวกลวง หรือไม่พูด สอ่ เสยี ดใส่รา้ ยผู้อ่นื ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย และให้เจริญสมาธิภาวนา เพือ่ อบรมจิตให้ปราศจากความขุ่นมวั จากเครื่องเศร้า หมองจิต คือ กิเลส ตัณหา อุปาทาน ที่ดองอยู่ในสันดานของตน ให้เป็นจิตที่ผ่องใส และได้ทำประโยชน์ คือ การ ช่วยเหลือสงเคราะห์ด้วยปัจจัย ๔ แก่เขา แต่เขาก็ไม่รู้สึกตัว คือ ไม่มีปัญญารู้ทั่วถึงความดีและประโยชน์นั้นเลย ประโยชน์และความดที ่ีผนู้ ัน้ ปรารถนายง่ิ แล้ว ยอ่ มฉิบหายไปโดยเปลา่ ประโยชน์ ๔) สขุ กามานิ ภตู านิ โย ทณฺเฑน วิหึสติ อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ โส น ลภเต สุข.ํ สตั วท์ งั้ หลาย ย่อมต้องการความสุข ผ้ใู ดแสวงหาสุขเพอื่ ตน เบยี ดเบยี นเขาด้วยอาชญา ผ้นู ัน้ ละไปแล้ว ย่อมไมไ่ ด้สุข. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท. อธิบายความว่า คำว่า สัตว์ทั้งหลาย หมายถึง ผู้มีความข้อง ซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ มีรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ด้วยความพอใจรกั ใคร่ รวมถึงมนุษย์ที่มีความรูส้ ึกและมีเหตุผล ความสุข หมายถึง ความสบายกาย ความสบาย ใจ ไม่เดือดร้อนกาย ไม่เดือดร้อนใจ ความสุขทางกาย เช่น ความสุขอยู่ในบ้านหลังใหญ่ มีเครื่องอำนวยความสะดวก ภายในบ้านทุกอย่าง ส่วนความสุขทางใจ เช่น แม้จะมีที่อยู่อาศัยหลังเล็กๆ ไม่มีความสะดวกสบาย แต่มีความพอใจ ยนิ ดีตามฐานะความเปน็ อย่ขู องตน ผู้ทปี่ รารถนาความสุขดงั กลา่ ว ย่อมประสบความสุขได้ โดยการแสวงหานัน้ ตอ้ งไม่ทำ ให้ผู้อื่นได้รับความเดือดร้อน หากแสวงหาความสุขโดยการเบียดเบียนผู้อื่น เช่น ทำร้าย ลักขโมย คดโกงผู้อื่นเพื่อให้

๙ ตนเองรำ่ รวยขึ้น คนผู้ประพฤตทิ จุ รติ เชน่ น้ี แม้ชีวิตทางกายจะเปน็ อยอู่ ย่างสขุ สบาย มีเครื่องอำนวยความสะดวก แตท่ าง ใจหาความสขุ ความสงบไม่ได้ เพราะความชัว่ ย่อมให้ผลเป็นความทุกข์ กลวั จะถูกหักหลัง ถูกทำร้าย เม่ือละจากโลกน้ีไป แลว้ ก็ไปเกดิ ในอบายภมู ิ หาความเจรญิ ไมไ่ ด้อีกดว้ ย ๓. ปญั ญาวรรค คอื หมวดปญั ญา ในหมวดน้ีมพี ุทธศาสนสุภาษิตท่ตี อ้ งศกึ ษา ๓ หัวข้อ (ข้อสอบอาจจะเลอื กมาเปน็ กระทู้ตั้ง) คอื ๑) ชีวเตวาปิ สปปฺ ญโฺ ญ อปิ วิตฺตปริกฺขยา ปญญฺ าย จ อลาเภน วิตฺตวาปิ น ชีวติ. ถึงสิ้นทรพั ย์ ผ้มู ีปัญญากเ็ ป็นอยูไ่ ด้ แต่อบั ปัญญา แมม้ ที รพั ยก์ เ็ ป็นอย่ไู ม่ได้. ขทุ ทนิกาย เถรคาถา อธิบายความว่า คำว่า คนมีปัญญา คือ คนที่มีความรู้ ความฉลาดอยู่กับตัว เพราะเป็นคนดีที่ได้ยินได้ฟัง วิทยาการต่างๆ มามาก โดยมีความรู้ทั้งวิชาการทางโลกและวิชาการทางธรรม สามารถคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาต่างๆ ได้ด้วยความรู้ความฉลาดของตนเอง คนเช่นนี้แม้จะเกิดมาไม่มีทรัพย์หรือทรัพย์มีอยู่แล้ว แต่สูญหายไปด้วยภัยพิบัติ ต่างๆ เขาก็มีสติมั่นคง หันมาใช้ปัญญา คือ ความรู้ที่เขามีอยู่ ก็สามารถสร้างเนื้อสรา้ งตัวขึ้นมาได้ใหม่อีก ส่วนผู้ท่ีอับจน ปัญญา แม้มีทรัพย์มากมาย ก็อาจรักษาทรัพย์ไว้ให้มั่นคงไม่ได้นาน เพราะเมื่อมีทรัพย์ก็ใช้ทรัพย์ไม่เป็น ทรัพย์ที่ชำรุดก็ ไม่มีปัญญาจะซ่อมแซม หากสูญหายก็ไม่ติดตามหา ดังนั้น ปัญญาจึงสามารถช่วยบุคคลได้มากกว่าทรัพย์ภายนอก เพราะเป็นกุญแจไขไปสู่มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติได้ และปัญญายังจัดได้ว่าเป็นทรัพย์ชนิดหนึ่ง เรียกวา่ อรยิ ทรัพย์ อันเป็นทรพั ย์ทปี่ ระเสริฐ สามารถตดิ ตามตัวไปขา้ มภพข้ามชาติได้ ๒) ยสํ ลทฺธาน ทมุ เฺ มโธ อนตฺถํ จรติ อตฺตโน อตตฺ โน จ ปเรสญจฺ หึสาย ปฏิปชชฺ ติ. คนมีปัญญาทราม ได้ยศแล้วยอ่ มประพฤติส่ิงท่ีไม่เป็นประโยชน์ แก่ตน ยอ่ มปฏิบตั ิเพ่ือเบียดเบียนทงั้ ตนและผ้อู ื่น. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ชาดก เอกนิบาต อธิบายความว่า คำว่า คนมีปัญญาทราม หมายถึง คนโง่เขลาเบาปัญญา เพราะไม่สนใจศึกษาเล่าเรียน ไม่ เคารพในการศึกษานั่นเอง คนประเภทนี้ แม้มียศหรือได้ยศมาด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม ก็ย่อมจะถูกยศนั้นครอบงำ มัวเมา ประมาทในยศที่ตนมี จนอาจประพฤติในสิ่งที่ไม่เหมาะไม่ควรได้ เช่น ขาดความอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้มวี ัยสูง กลายเปน็ คนหัวดื้อถือร้ันทำตามอำเภอใจตนเอง โดยไม่คำนึงถึงจารีตประเพณีและศีลธรรมที่ดีงามของสังคม คนเบาปัญญาอาจ ประพฤติตัวเบียดเบียนคนอื่นหรือทำตัวอยู่เหนือกฎหมายบ้านเมืองได้ด้วย ในที่สุดก็ต้องประสบกับความเดือดร้อน เพราะความโง่เขลาเป็นเหตุทั้งสิ้น ดังนั้น ผู้หวังความสุขในชีวิต พึงเป็นผู้ฉลาดรู้เท่าทันยศตำแหน่งที่เกิดขึ้นตามความ เป็นจริง อย่ามัวเมาหรือประพฤตชิ ่วั เพราะยศเลย หากปฏบิ ัติได้เช่นน้ชี วี ติ ก็จะมคี วามสขุ ตลอดไป

๑๐ ๓) โย จ วสสฺ สตํ ชีเว ทปุ ปฺ ญโฺ ญ อสมาหิโต เอกาหํ ชีวิตํ เสยโฺ ย ปญฺญวนฺตสสฺ ฌายิโน. ผ้ใู ดมปี ัญญาทราม มีใจไม่มนั่ คง พงึ เป็นอยู่ตงั้ ร้อยปี ส่วนผ้มู ีปัญญาเพ่งพินิจ มีชีวิตอยเู่ พียงวนั เดียวดีกว่า. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท อธิบายความว่า คำว่า คนมีปัญญาทราม หมายถึง คนโง่เขลาและมีจิตใจไม่คงที่ ฟุ้งซ่านไปตามอารมณ์ ตา่ งๆ น้นั มกั จะทำอะไรไมส่ ำเรจ็ คนเชน่ นีแ้ ม้จะทำงานเล็กๆ น้อยๆ กไ็ ม่สามารถทจ่ี ะรับผิดชอบใหง้ านเป็นไปด้วยความ เรยี บรอ้ ยได้ เพราะความเขลาเปน็ เหตนุ ั่นเอง แมจ้ ะมอี ายยุ ืนยาวเป็นร้อยปีก็คงเติบโตแต่ร่างกายเท่าน้ัน ส่วนสติปัญญา และความรู้สึกนึกคดิ หาไดเ้ จรญิ เติบโตไปตามรูปร่างไม่ ชวี ติ ของเขาจึงยากทปี่ ระสบกับความเจริญ ยังใช้ชีวิตไปในทาง เสื่อม เพราะไม่รู้จักบาปบุญคณุ โทษแลว้ จึงอาจประกอบความชวั่ ใหต้ นเองและผู้อื่นเดือดรอ้ น ชวี ติ จงึ เปน็ โมฆะไร้คุณค่า ส่วนผู้มีปัญญาหรือคนฉลาดและมีจิตใจมั่นคง แม้จะมีชีวิตอยู่ในโลกไม่นานแต่ใช้ปัญญาให้เป็นประโยชน์ทั้งแก่ตนเอง และผู้อื่นตลอดเวลา ผู้นั้นย่อมเป็นที่ต้องการของสังคม ดังนั้น ผู้หวังความเจริญก้าวหน้าและต้องการให้ตนเองมีคุณค่า พึงแสวงหาปัญญาด้วยการหมั่นศึกษาเล่าเรียนให้มีปัญญากว้างขวาง ทั้งวิชาการทางโลกและความรูท้ างธรรมควบคู่กนั ไป ชวี ิตจึงจะมคี ณุ ค่าและเจรญิ กา้ วหน้าอยา่ งแนน่ อน

๑๑ ๑.๕ ตัวอยา่ งขอ้ สอบวชิ าเรียงความแกก้ ระทธู้ รรม

๑๒ เลขที่............ ประโยคธรรมศกึ ษาชนั้ [ ]ตรี [✓]โท [ ]เอก ช่วงช้นั [ ]ประถม [✓]มัธยม [ ]อดุ ม วิชา เรียงความแกก้ ระทู้ธรรม สอบในสนามหลวง วันท่ี ___ เดือน __________ พ.ศ.____ อตตฺ านเมว ปฐมํ ปฏิรเู ป นิเวสเย อถญญฺ มนุสาเสยยฺ น กิลิสเฺ สยยฺ ปณฺฑิโต. บณั ฑิตพงึ ตงั้ ตนไว้ในคณุ อนั สมควรก่อน สอนผ้อู ่ืนภายหลงั จงึ ไมม่ วั หมอง. บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น เพื่อเป็นแนวทางแห่งการประพฤติปฏิบัติของสาธุชนผู้ใคร่ในธรรม สบื ไป อธิบายความว่า คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ดำเนินชีวิตด้วยปัญญา คำว่า คุณอันสมควร หมายถึง มีความปรารถนาน้อย สันโดษ เลี้ยงง่าย คำว่า มัวหมอง หมายถึง คนที่สอนอะไรแล้วไม่ปฏิบัติตามอย่างที่สอน ถูกผู้อื่นนินทา ว่าร้ายจึงมีความมัวหมอง ผู้ที่มีหน้าที่สั่งสอนผู้อื่นต้องเป็นผู้ที่มีความรู้คู่กับ คุณธรรม สามารถประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีได้จึงสมควรได้รับการยกย่อง สรรเสริญ สมควรให้ผูอ้ ืน่ เอาแบบอยา่ งที่ดขี องตนเองไปเปน็ ตัวอยา่ ง ความมัว

๑๓ หมองจงึ ไมเ่ กิดขนึ้ แกบ่ ุคคลผ้มู ีปัญญานัน้ อยา่ งแน่นอน นี้สมดว้ ยธรรมภาษิตที่มา ใน ขทุ ทกนกิ าย ธรรมบทว่า อตตฺ านญเฺ จ ตถา กยิรา ยถญญฺ มนุสาสติ สทุ นฺโต วต ทเมถ อตตฺ า หิ กิร ทุททฺ โม. ถ้าสอนผ้อู ื่นฉันใด พึงทาํ ตนฉันนัน้ ผ้ฝู ึ กตนดีแลว้ ควรฝึ กผอู้ ื่น ได้ยินวา่ ตนแลฝึ กยาก. อธบิ ายความวา่ คำว่า พรำ่ สอนผ้อู น่ื ฉนั ใด พงึ ทำตนฉนั นนั้ หมายถงึ การสอนให้เขาทำอย่างใด ก็ทำเช่นนั้นเป็นตัวอย่างด้วย ไม่ใช่สอนอย่างหนึ่ง แตก่ ารกระทำเป็นอีกอย่างหนึง่ คอื ตอ้ งเปน็ ทัง้ ผู้แนะและผนู้ ำด้วย ผู้แนะ คือ ผทู้ ่ี ชี้แนวทางว่า อะไรดี อะไรชั่ว อะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป อะไรเป็นประโยชน์ อะไรไม่เป็นประโยชน์ อะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ ผู้นำ คือ ทำตนเองให้เป็น แบบอย่างที่ดี ประพฤติตนอยู่ในศีลธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต หาเลี้ยงชีพโดย ชอบธรรม ดังนั้น เมื่อจะสอนใครให้รับฟังและให้เขาอยากปฏิบัติตาม ต้องหมนั่ ฝึกฝนจนเกิดความชำนาญก่อน เช่น การให้ทาน รักษาศีล เจริญสมาธิภาวนา เวลาไปแนะนำผู้อื่นย่อมชี้แจงและสอนเขาได้อย่างถูกต้อง และง่ายต่อการปฏิบัติ เพราะสอนจากประสบการณ์จริงของตน ถ้าผู้สอนยังปฏิบัติไม่ได้ หากไปฝึกคน อื่น ย่อมไม่มีใครเชื่อถือถ้อยคำ นี้สมด้วยธรรมภาษิตที่มาใน สังยุตตนิกาย สคาถวรรคว่า

๑๔ ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลฺยาณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปก.ํ บคุ คลหว่านพชื เช่นใด ยอ่ มได้ผลเช่นนัน้ ผทู้ าํ กรรมดี ย่อมได้ผลดี ผ้ทู าํ กรรมชวั่ ยอ่ มได้ผลชวั่ อธิบายความว่า คำว่า ผู้ทำกรรมดี หมายถึง ผู้ทำกุศลธรรม ๓ อย่าง คือ ๑) อโลภะ ไม่อยากได้ของผู้อื่นมาเป็นของตน ๒) อโทสะ ไม่คิด ประทษุ ร้ายผู้อ่นื หรอื กระทำใหผ้ ูอ้ ่นื ได้รบั ความเดือดร้อน ๓) อโมหะ ไม่หลงงม งาย คือ เชื่อโดยความถูกต้อง เมื่อกระทำกรรมดีตามที่กล่าวแล้ว ผู้นั้นย่อม ได้รับผลดีคือไม่ต้องกลัวเดือดร้อน เพราะกรรมที่ตนกระทำไว้ดีแล้ว มีความสุข ความสบาย และมสี คุ ติเปน็ เบ้ืองหน้า สว่ นผกู้ ระทำกรรมช่วั คือ กรรมลามก หรือ บาปกรรม เขาย่อมได้รับผลชั่วตามที่ได้ประกอบกรรมชั่วไว้ เป็นความทุกข์ ความเดือดร้อนในโลกนี้ แล้วก็ประสบความเดือดร้อนในอบาย ในสัมปรายภพ ต่อไป เหมือนชาวนา เมื่อถึงฤดูทำนาย่อมไถและหว่านข้าวลงในนา เพราะมีน้ำ หรือฝนตกถูกต้องตามฤดูกาล ข้าวที่หว่านไว้ก็เจริญงอกงามและออกรวง สมบูรณ์ หากข้าวทีป่ ลูกไว้ไม่ได้รับดูแลเอาใจใสอ่ ย่างดี ไม่ได้รับน้ำตามสมควร ยอ่ มไมอ่ อกรวงหรอื ไดผ้ ลผลติ ไม่เตม็ ที่ ชาวนาย่อมขาดทุน ได้รับความเดือดร้อน ในท่สี ดุ สรุปความว่า ผู้เป็นบัณฑิตที่มีหน้าทีส่ ั่งสอนผู้อ่ืนต้องเป็นผู้ที่มคี วามรู้ ค่กู บั คุณธรรม ประพฤตติ นเปน็ แบบอย่างทดี่ ี ดว้ ยการประพฤติกศุ ลรรม เวน้ จาก

๑๕ กรรมช่วั ท้ังปวง และยอ่ มไดร้ ับผลดคี ือไม่ตอ้ งกลวั ความเดือดร้อน มีความสุขกาย สบายใจ สามารถแนะนำผู้อนื่ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและง่ายตอ่ การปฏิบัติ ผเู้ ปน็ บัณฑติ จึงสมควรได้รับการยกย่องสรรเสริญ ส่วนผู้สอนที่มีความรู้แต่ยังปฏิบัติไม่ได้ หากไปฝึกสอนคนอื่น ย่อมไม่มีใครเชื่อถือถ้อยคำ เกิดความมัวหมองตามมาใน ภายหลงั สมด้วยธรรมภาษิตทไ่ี ดล้ ขิ ติ ไว้ ณ เบือ้ งตน้ วา่ อตตฺ านเมว ปฐมํ ปฏิรเู ป นิเวสเย อถญญฺ มนุสาเสยยฺ น กิลิสเฺ สยยฺ ปณฺฑิโต. บณั ฑิตพงึ ตงั้ ตนไว้ในคณุ อนั สมควรก่อน สอนผ้อู ่ืนภายหลงั จึงไม่มวั หมอง. มีนยั ดงั ไดพ้ รรณนามาด้วยประการฉะน้ี ฯ ๑.๖ กระทูย้ อดนยิ ม ในการเตรียมตัวก่อนสอบ นักเรยี นสามารถเลือกท่องพุทธศาสนสุภาษิตที่นยิ มนำมาเปน็ กระทู้รับเพ่ิมเติมได้ ซ่ึงไดเ้ ลือกกระทรู้ ับยอดนิยม พร้อมแนวทางการอธบิ ายไว้ ๕ กระทู้ ดงั น้ี กระท้รู บั ท่ี ๑ ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลยฺ าณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปก.ํ บคุ คลหวา่ นพชื เช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนัน้ ผทู้ าํ กรรมดี ย่อมได้ผลดี ผทู้ าํ กรรมชวั่ ย่อมได้ผลชวั่ . ทีม่ า สงั ยตุ ตนิกาย สคาถวรรค. อธิบายความว่า คำว่า ทำดี คือ ทำสุจริต ๓ ได้แก่ ๑) กายสุจริต ความประพฤติดีทางกาย มีการงด เว้นจากการฆ่าสัตว์ เป็นต้น ๒) วจีสุจริต ความประพฤติดีทางวาจา มีการพูดคำสัตย์ เป็นต้น ๓) มโนสุจริต ความ ประพฤติดีทางใจ มีการไม่เพ่งเล็งอยากได้ของของผู้อื่น เป็นต้น คำว่า ทำชั่ว คือ ทำทุจริตทั้ง ๓ คือ ทางกาย ทาง

๑๖ วาจา และทางใจ ธรรมดาบุคคลหว่านพืชเม่ือถึงฤดูทำนา ย่อมไถและหว่านข้าวลงในนา เพราะมีน้ำหรอื ฝนตกต้อง ตามฤดูกาล ขา้ วทีห่ วา่ นไว้กเ็ จรญิ งอกงามและออกรวง ผู้กระทำความดี ผู้น้นั ย่อมไดร้ บั ผลดคี ือไม่ตอ้ งกลวั เดือดร้อน เพราะกรรมที่ตนกระทำไว้ดี ผลที่ได้รับคือความสุข ความสบายและมีสุคติเป็นเบื้องหน้า แต่ผู้ที่กระทำกรรมชั่วคือ กรรมลามก เขากไ็ ด้รบั ผลชัว่ ตามทไ่ี ด้ประกอบกรรมทำชัว่ ไว้เป็นความทุกข์ความเดือดร้อนในโลกน้ี แมล้ ะจากโลกน้ี แลว้ กย็ ่อมประสบกับความเร่าร้อนในอบาย กระท้รู บั ที่ ๒ อตตฺ า หิ อตตฺ โน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา อตฺตนา หิ สทุ นฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภ.ํ ตนแล เป็นท่ีพ่งึ ของตน คนอ่ืนใครเล่า จะเป็นที่พึ่งได้ กบ็ คุ คลมตี นฝึ กฝนดีแล้ว ยอ่ มได้ที่พึ่งท่ีหาได้โดยยาก. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท. อธิบายความวา่ ตน หมายถงึ รา่ งกายและจิตใจ ทเ่ี รยี กว่าอัตภาพหรือตวั ตนของเรา เป็นท่ีพึ่งของตน หมายถงึ ใหพ้ ่งึ ตวั เองให้มาก ในขอบเขตท่ีสามารถทำได้ ในขณะที่ยังอยู่ในวัยหรือในภาวะหน่งึ ๆ พระสัมมาสัมพุทธ เจ้าตรัสสอนให้คนเราพึ่งตนเอง ซึ่งทำได้ ๒ อย่าง คือ ๑) ทางร่างกาย อาศัยแรงกายทำงานประกอบสัมมาอาชีพ ดำรงชีวิตเพื่อให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ ๒) ทางจิตใจ อาศัยร่างกายนี้เป็นส่วนหนึ่งที่จะตอบสนองให้ทำสิ่งต่างๆ เช่น ทำ ความดี ทำบุญกุศล ที่พึ่งอย่างอื่นที่คนเราจะยึดเป็นที่พึ่งไปตลอดชีวิต ไม่ว่า บิดามารดา ครูอาจารย์ ย่อมจะทำได้ โดยยาก การสั่งสมทรัพย์สินเงินทองไว้เพื่อให้เราพึ่งตนเองได้ในโลกนี้ เพราะเมื่อสิ้นชีวิตลงทรัพย์เหล่านั้นไม่ สามารถนำติดตัวไปได้ ส่วนการส่ังสมบุญกุศลเปน็ การทำทีพ่ ึ่งใหแ้ ก่ตนเองในโลกหน้า ดังนั้น เราจึงต้องทำบุญด้วย ตนเอง อยา่ ไปหวังพึง่ ผ้อู ื่น เพราะเมือ่ ละจากโลกนไี้ ปแล้ว ยอ่ มได้ไปเกดิ ในสคุ ติโลกสวรรค์ กระท้รู บั ที่ ๓ โย จ วสสฺ สตํ ชีเว กสุ ีโต หีนวีริโย เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วิริยํ อารภโต ทฬฺห.ํ ผเู้ กียจคร้าน มคี วามเพียรเลว พึงเป็นอยตู่ งั้ ร้อยปี ส่วนผ้ปู รารภความเพียรมนั่ คง มีชีวิตอยู่เพียงวนั เดียวประเสริฐกว่า. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท. อธิบายความว่า คำว่า เกียจคร้าน คือ การไม่อยากทำงาน ผัดวันประกันพรุง่ ให้เวลาผ่านไปโดยเปลา่ ประโยชน์ คำว่า มีความเพียรเลว คือ เพียรพยายามทำความไม่ดี มีการลักขโมย ปล้น จี้ วิ่งราวทรัพย์ เบียดเบียน ผู้อื่น ทำความเดือดร้อนให้ผู้อื่น ชอบทำงานที่ไร้ประโยชน์ คำว่า ผู้ปรารภความเพียรมั่นคง คือ คนที่มีความ พยายามทำสิ่งที่เป็นบุญกุศลหมั่นทำความเพียรเพือ่ ชำระจิตใจให้สะอาดหมดจด ดังนั้นผู้ท่ีเกียจคร้าน เพียรทำสิ่ง ชั่วไม่ทำสิ่งที่ดีงาม ถึงมีอายุยืนเป็นร้อยปีก็เปล่าประโยชน์ ไม่มีใครๆ ต้องการ เมื่อตายไปย่อมไปอบายภูมิ มีนรก

๑๗ เป็นต้น ส่วนผู้ที่มีความขยันหมั่นเพียรประกอบบุญกุศล มีความเพียรมั่นคง ปรารภความเพียรมั่นคง ประพฤติ ปฏบิ ตั ิธรรม เมือ่ ตายไปย่อมไปสู่สคุ ติโลกสวรรค์ กระท้รู บั ท่ี ๔ ปญุ ญฺ ญเฺ จ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปนุ ปปฺ นุ ํ ตมหฺ ิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปญุ ฺญสสฺ อจุ ฺจโย. ถา้ บุคคลจะกระทาํ บุญ ควรทาํ บุญนัน้ บอ่ ย ๆ ควรทาํ ความพอใจในบุญนัน้ การสงั่ สมบุญนําความสขุ มาให้. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท. อธิบายความว่า บุญ หมายถึง สิ่งเกิดขึ้นในจิตใจ แล้วทำให้จิตใจใสสะอาดบริสุทธิ์ ปราศจากความ เศรา้ หมองขุ่นมวั บุญเปน็ ชอื่ ของความสุขและความสำเร็จ เป็นผลจากการประกอบกรรมดี เกิดข้นึ ไดด้ ้วยอาการ ๓ อยา่ ง คอื ๑) ทานมยั บุญสำเรจ็ ดว้ ยการให้ทาน ๒) ศลี มัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล ๓) ภาวนามัย บญุ สำเร็จดว้ ย การเจริญสมาธิ คนทั่วไปแม้จะมองไม่เห็นบุญ แต่สามารถรู้อาการของบุญหรือผลของบุญได้ว่าเกิดขึ้นแล้วทำให้ จติ ใจชมุ่ ชน่ื เป็นสขุ และสามารถติดตามผ้ทู ี่ทำบุญเหมือนเงาตดิ ตามตวั อีกทัง้ บญุ ยงั เปน็ ของเฉพาะตน อยากได้ต้อง ทำเอง ไม่สามารถใหใ้ ครทำแทนได้ บญุ สามารถสัง่ สมไดด้ ้วยการทำความดี การทำบญุ จึงควรทำความพึงพอใจ ควร มีอตุ สาหะขวนขวายในบญุ เพราะการสง่ั สมบญุ ชอื่ ว่าทำให้เกิดความสขุ กระท้รู บั ท่ี ๕ สพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ กสุ ลสสฺ ูปสมฺปทา สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พทุ ฺธานสาสนํ. การไม่ทาํ บาปทงั้ ปวง ๑ การยงั กศุ ลให้ถึงพร้อม ๑ การทาํ จิตของตนให้ผ่องแผ้ว ๑ นี้ เป็นคาํ สอนของพระพทุ ธเจ้าทงั้ หลาย. ทีม่ า ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท. อธิบายความว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางหลักการปฏบิ ัติตนให้พุทธศาสนิกชนไว้ ๓ ประการ คือ ๑) การไม่ทำบาปทั้งปวง หมายถึง การไม่ประพฤติชั่วทางกาย วาจา ใจ คือ ไม่ทำสิ่งที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ ตนเองและผู้อื่น ๒) การยังกุศลให้ถึงพร้อม หมายถึง การประพฤติชอบทางกาย วาจา ใจ คือ ทำสิ่งที่ก่อให้เกิด ความสุข ความเจริญ แก่ตนเองและผู้อื่น ๓) การทำจิตของตนให้ผ่องแผ้ว หมายถึง การอบรมจิตใจของตนเองให้ บริสุทธิ์สะอาด ปราศจากเครื่องเศร้าหมอง คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ที่ทรง อบุ ัติขึน้ ในโลกนี้ ก็ล้วนทรงประทานโอวาท ๓ ข้อนอี้ ันเปน็ หัวใจของพระพุทธศาสนา ให้แกม่ หาชนได้ยดึ ถือเป็นหลัก ปฏิบตั ิในการดำเนินชวี ิตทถ่ี ูกต้อง เพือ่ ใหส้ ามารถลว่ งพ้นจากทุกขแ์ ละมีสุขในปัจจบุ ันและในภพชาติต่อไปจนกระท่ัง เข้าสู่พระนิพพาน

๑๘ บทที่ ๒ สรุปย่อเนอื้ หา-แนวขอ้ สอบ ธรรมศกึ ษาช้นั โท ระดบั มธั ยมศกึ ษา

๑๙ ๒.๑ แนวขอ้ สอบธรรมศกึ ษาชั้นโท วชิ าธรรมวภิ าค สขุ ๒ หมวด ๒ กาม ๒ สุข หมายถึง สภาพที่ทนได้ง่าย คือ ความสบายกาย สบายใจ มี ๒ อย่าง กาม หมายถึง ความรักใคร่ ความพอใจ หรือความ ๑) กายิกสุข สุขทางกาย หมายถึง มีสุขภาพร่างกาย ตอ้ งการ มี ๒ อยา่ ง คือ สมบรู ณ์ แขง็ แรง ไม่มีโรคภัยไขเ้ จบ็ มาเบียดเบยี น ๑) กิเลสกาม กิเลสเป็นเหตุใคร่ หมายถึง กิเลสที่อยู่ใน จติ ของบุคคล เชน่ ความโลภ ความอจิ ฉารษิ ยา ๒) เจตสิกสุข สขุ ทางใจ เม่อื กายสงบ ใจก็มีความสขุ พบ ๒) วัตถุกาม วัตถุอันน่าใคร่ หมายถึง สิ่งที่น่าใคร่ ชอบ เจอแต่เร่อื งดๆี มปี ระโยชน์ไม่ทำใหใ้ จขุน่ มัว หงดุ หงิด ใจ ได้แก่ กามคณุ ๕ คือ รูป เสยี ง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ _____________ กิเลสกาม จัดเป็นมารเพราะเปน็ ตน้ เหตุล้างผลาญความดี ๑. ความไม่มโี รค เป็นลาภอนั ประเสริฐ จัดเข้าในสขุ ขอ้ ใด ? ก. กายิกสุข ข. เจตสกิ สุข วัตถุกาม จัดเป็นบว่ งแหง่ มารเพราะเป็นเครือ่ งผูกจิตของ ค. สามิสสขุ ง. นริ ามสิ สขุ ผไู้ มร่ เู้ ทา่ ทนั ให้ติดในกามคณุ ๒. เจตสกิ สุข คือสขุ ทางใจ มีลกั ษณะเชน่ ไร ? _____________ ก. เพราะได้ลาภลอย ข. เพราะไดร้ บั มรดก ๑. กาม มีโทษโดยรวมแก่สัตว์อยา่ งไร ? ค. เพราะได้เลือ่ นยศ ง. เพราะไมถ่ ูกกเิ ลสครอบงำ ก. ทำใหข้ ้องอยู่ในโลก ข. ทำใหร้ บราฆ่าฟันกนั ๓. อะไรเป็นเหตุให้เกดิ สุขทางกาย ? ค. ทำใหเ้ หน็ แกต่ ัว ง. ทำใหแ้ ขง่ ขันกันในโลก ก. ไมม่ ีโรค ข. ไมม่ หี น้ี ๒. ผทู้ ่ชี อบเลน่ เกมคอมพวิ เตอร์ ช่ือว่าหลงยึดตดิ ในอะไร ? ค. ไม่มีศัตรู ง. ไม่มกี ิเลส ก. กิเลสกาม ข. วัตถกุ าม ๔. อะไรเปน็ เหตใุ หเ้ กิดสุขทางใจ ? ค. กามตัณหา ง. ภวตัณหา ก. อำนาจ ข. ทรัพย์ ๓. ข้อใด ไม่ใชก่ เิ ลสกาม ? ค. บริวาร ง. คณุ ธรรม ก. ราคะ ข. โลภะ ๕. ความไมม่ โี รคเปน็ ลาภอันประเสริฐจดั เปน็ สขุ ประเภทใด ? ค. อิจฉา ง. รูป ก. กายกิ สขุ ข. เจตสกิ สุข ๔. เสียงประเภทใด จัดเป็นวตั ถุกาม ? ค. สามิสสุข ง. นิรามสิ สุข ก. เสียงสวดมนต์ ข. เสยี งเพลง ๖. ข้อใด เป็นเหตุใหเ้ กิดเจตสิกสุข สุขทางใจ ? ค. เสียงผรุสวาท ง. เสียงนนิ ทา ก. รจู้ กั พอเพยี ง ข. มีการงานดี ๕. กเิ ลสอันเปน็ เหตุใหใ้ คร่ เรียกว่าอะไร ? ค. มที รพั ย์มาก ง. มตี ำแหน่งสูง ก. กามคุณ ข. กิเลสกาม หมวด ๓ ค. วตั ถุกาม ง. กามฉันทะ อธิปเตยะ ๓ ๖. สิ่งทีน่ า่ ปรารถนานา่ พอใจ เรียกวา่ อะไร ? อธปิ เตยะ หมายถึง ความเปน็ ใหญ่ เปน็ ความต้องการท่ีมี อำนาจ ๓ ประเภท ก. กามสังโยชน์ ข. กเิ ลสกาม ค. วัตถุกาม ง. กามฉันทะ

๒๐ ๑) อัตตาธิปเตยยะ ความมีตนเป็นใหญ่ หมายถึง การ ๘. ประชาธิปไตยที่แทจ้ รงิ มุ่งประโยชนเ์ พื่อใคร ? ยึดตนเองเป็นใหญ่นึกถึงประโยชน์ที่ตนจะได้รับ เช่น เกยี รตยิ ศ ชื่อเสยี ง ก. คนร่ำรวย ข. คนยากจน ๒) โลกาธิปเตยยะ ความมีโลกเป็นใหญ่ หมายถึง การ ค. คนมีอำนาจ ง. ทกุ ๆ คน ถือเอาความคิดเห็นของคนส่วนมากเป็นประมาณ ทำตาม กระแสสงั คมนยิ ม ตณั หา ๓ ๓) ธมั มาธปิ เตยยะ ความมีธรรมเป็นใหญ่ หมายถงึ การ ตณั หา หมายถึง ความทะยานอยาก ดน้ิ รน แสวงหา มี ๓ กระทำที่ยึดหลักธรรม หลักการตลอดถึงวิธีการที่ถูกต้อง มี อยา่ ง เหตุมผี ลเปน็ ใหญ่ ๑) กามตัณหา ความอยากในกามคุณ หมายถึง ความ _____________ อยากในกามที่ชกั ชวนใหร้ กั ใคร่ ใหย้ ินดี ใหพ้ ัวพนั ลุ่มหลง ๑. ผู้มีอัตตาธิปเตยยะ มลี ักษณะเช่นไร ? ๒) ภวตัณหา ความอยากในภพ หมายถึง อยากมีอยาก ก. ถอื ความเหน็ ของตน ข. ถอื ความเห็นพวกพ้อง เปน็ ตามใจต้องการ เชน่ อยากมีอำนาจ มชี ือ่ เสียง ค. ถอื ความเห็นหมูญ่ าติ ง. ถือความเห็นสว่ นรวม ๓) วิภวตัณหา ความอยากพ้นไปจากภพ หมายถึง ความไม่อยากในภพที่ไม่อยากเป็นนั้นเปน็ นี้ ไม่พอใจกับสิ่งท่ี ๒. การทำงานมุง่ ความถูกต้อง จัดวา่ มอี ธปิ ไตยใด? เป็นอยู่ ก. อตั ตาธปิ ไตย ข. โลกาธิปไตย _____________ ๑. ผู้อยากได้ไม่มีทีส่ น้ิ สุด เพราะถูกอะไรครอบงำ ? ค. ธรรมาธิปไตย ง. ประชาธิปไตย ก. ราคะ ข. โทสะ ๓. ผ้มู ีอตั ตาธิปเตยยะ คือถืออะไรเป็นใหญ่ ? ค. โมหะ ง. ตณั หา ก. ตนเอง ข. พวกพ้อง ๒. ขอ้ ใด จัดเป็นภวตณั หา ? ค. หม่ญู าติ ง. บริวาร ก. อยากรำ่ รวย ข. อยากมีรถ ๔. ทำดีตามกระแสนิยมเพือ่ ใหผ้ อู้ ื่นยกย่องตรงกับข้อใด ? ค. อยากมโี ทรศัพท์ ง. อยากเปน็ ใหญ่ ก. อัตตาธิปเตยยะ ข. โลกาธปิ เตยยะ ๓. ความทะยานอยาก หมายถงึ ข้อใด ? ค. ธัมมาธปิ เตยยะ ง. ถูกทุกขอ้ ก. ราคะ ข. โทสะ ๕. ความเป็นใหญ่ ใครๆ กช็ อบ ถืออะไรเป็นใหญ่จึงจะดี ? ค. โมหะ ง. ตณั หา ก. ถือตน ข. ถอื เสียงขา้ งมาก ๔. อยากกนิ อาหารรสอร่อยๆ จดั เป็นตณั หาประเภทใด ? ค. ถอื ประชาชน ง. ถือธรรมะ ก. กามตณั หา ข. ภวตัณหา ๖. ปัจจบุ ันประเทศสว่ นใหญ่ใชห้ ลักอธิปไตยใด ปกครอง ค. วภิ วตณั หา ง. ถูกทุกข้อ ประเทศ ? ๕. อยากอยู่ในตำแหนง่ นานๆ จดั เป็นตณั หาประเภทใด ? ก. อัตตาธปิ ไตย ข. โลกาธิปไตย ก. กามตณั หา ข. ภวตณั หา ค. ธมั มาธิปไตย ง. อนาธปิ ไตย ค. วภิ วตัณหา ง. ถกู ทุกข้อ ๗. คำวา่ ทำตามใจคือไทยแท้ จดั เขา้ ในอธปิ ไตยใด ? ก. อตั ตาธปิ ไตย ข. โลกาธิปไตย ค. ธัมมาธิปไตย ง. ประชาธปิ ไตย

๒๑ อคั คิ ๓ วฏั ฏะ ๓ อัคคิ แปลว่า ไฟ หมายถึง กิเลสภายในจิตใจ เป็นไฟเผา วัฏฏะ แปลว่า วน หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิดของ จติ ใจมนษุ ยใ์ หเ้ รา้ รอ้ น มี ๓ อยา่ ง คือ สรรพสัตว์ทงั้ หลาย ดุจลอ้ รถหมนุ เวียนไปอยา่ งไมม่ ีที่สิ้นสุด ๑) ราคัคคิ ไฟคือราคะ หมายถึง กิเลสที่มีความกำหนัด รกั ใครใ่ นกามคณุ ๕ เปน็ ตวั เผาลนจิตใจ ๑) กิเลสวัฏฏะ วนคือกิเลส หมายถึง การหมุนเวียนเป็น ราคัคคิ จะดับได้ด้วยการเจริญอสุภสญั ญา วงจรของกเิ ลส ต้องเกดิ แก่ เจบ็ ตาย อยู่เรื่อยไป ๒) โทสัคคิ ไฟคือโทสะ หมายถึง กิเลสที่มีความโกรธ ความขัดเคือง เปน็ เหตใุ ห้หงดุ หงดิ ๒) กมั มวัฏฏะ วนคอื กรรม หมายถึง กรรมเกดิ ข้ึน เพราะ โทสัคคิ จะดับได้ด้วยการเจริญเมตตาพรหมวิหาร และ อัปปมัญญาภาวนา แรงผลักดันของกเิ ลส กิเลสมาก ย่อมทำกรรมช่วั ไดม้ าก ๓) โมหัคคิ ไฟคือโมหะ หมายถึง กิเลสที่มีความลุ่มหลง ไมร่ ู้จริง เหน็ ผดิ เปน็ ชอบ ๓) วิปากวัฏฏะ วนคือวิบาก หมายถึง ผลของการ โมหัคคิจะดับได้ด้วยการเจริญสมาธิอยู่เป็นประจำ จนมี ความเหน็ ทีถ่ กู ตอ้ ง (สัมมาทิฏฐิเกิด) กระทำ อันเป็นเหตุให้เกิดในภพต่างๆ ถ้าเป็นกรรมดี ผลท่ี ไดร้ บั เป็นความสุข สรุป เมื่อกิเลสเกิดขึ้น บังคับมนุษย์ไปสร้างกรรม ย่อม ไดร้ บั วิบากผลของการกระทำต่อๆ ไปไม่รู้จบ _____________ ๑. การเวียนว่ายตายเกดิ มอี ะไรเปน็ สาเหตุ ? _____________ ก. กิเลส กรรม วิบาก ข. ราคะ โทสะ โมหะ ๑. ผู้ไมร่ จู้ ักบาปบญุ คุณโทษ เพราะถกู ไฟอะไรแผดเผา ? ค. กศุ ล อกุศล ง. ทาน ศลี ภาวนา ก. ราคะ ข. โทสะ ๒. ในเร่ืองวฏั ฏะ ขอ้ ใดจัดเปน็ วิบาก ? ค. โมหะ ง. ตัณหา ก. กรรม ข. ขอขมากรรม ๒. เมอ่ื ไฟคอื โทสะเกดิ ขึ้น จะระงับดว้ ยวิธใี ด ? ค. ทำกรรม ง. รบั กรรม ก. เจริญเมตตา ข. เจรญิ อสภุ ะ ๓. การเวียนวา่ ยตายเกิด หมายถงึ ข้อใด ? ค. เจรญิ ปัญญา ง. เจริญอนสุ สติ ก. วัฏฏะ ข. จุติ ๓. รปู สวยเสียงไพเราะ ก่อให้เกิดไฟกเิ ลสประเภทใด ? ค. ปฏิสนธิ ง. อุบตั ิ ก. ไฟราคะ ข. ไฟโทสะ ๔. พระอริยบุคคลใด ตดั การเวียนวา่ ยตายเกิดได้ ? ค. ไฟโมหะ ง. ไฟรษิ ยา ก. พระโสดาบนั ข. พระสกทาคามี ๔. คนท่ถี กู ไฟโทสะแผดเผา มักมีอาการเชน่ ไร ? ค. พระอนาคามี ง. พระอรหนั ต์ ก. โกรธงา่ ย ข. หงดุ หงดิ ง่าย ๕. อะไร เปน็ เหตุให้ทำกรรม ? ค. อารมณร์ ้อน ง. ถกู ทกุ ขอ้ ก. กิเลส ข. กรรม ๕. คนท่ไี มร่ ูจ้ ักบุญคุณพ่อแม่ เพราะถูกไฟกิเลสชนิดใด ค. วิบาก ง. ตณั หา แผดเผา ? ญาณ ๓ ก. ไฟราคะ ข. ไฟโทสะ ญาณ หมายถงึ ปรชี าหยั่งร้ใู นสิง่ ตา่ งๆ ตามความเป็นจริง ในอริยสัจ ๔ มี ๓ อย่าง ค. ไฟโมหะ ง. ไฟตัณหา

๒๒ ๑) สัจจญาณ ปรีชาหยง่ั รู้อริยสัจ ๑. อปัสเสนธรรมขอ้ พิจารณาแล้วอดกล้ัน ควรใช้เมือ่ ใด ๒) กจิ จญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันควรทำ ก. ถกู ทกุ ขเวทนาครอบงำ ข. ถูกกเิ ลสครอบงำ ๓) กตญาณ ปรีชาหยัง่ รกู้ จิ อนั ทำแลว้ ค. ถูกความเส่อื มครอบงำ ง. ถูกพยาบาทครอบงำ _____________ ๒. อปัสเสนธรรมขอ้ ว่า พจิ ารณาแล้วเวน้ ตรงกับขอ้ ใด ? ๑. คำวา่ สจั จญาณ หมายถึงหยั่งรอู้ ะไร ? ก. ทุกขเวทนา ข. บัณฑิต ก. ทกุ ข์ ข. สมุทยั ค. ยารกั ษาโรค ง. คนพาล ค. นิโรธ ง. อรยิ สัจ ๓. ถูกเพ่อื นดา่ ควรใช้อปัสเสนธรรมข้อใด ? ๒. ข้อใด เป็นกิจจญาณในอริยสัจ ๔ ? ก. รบั รู้ ข. อดกลน้ั ก. รูค้ วามจริง ข. รูส้ ่ิงทีค่ วรทำ ค. เว้น ง. บรรเทา ค. รู้ส่ิงทที่ ำแล้ว ง. รู้อนาคต ๔. ในอปสั เสนธรรม เมือ่ พจิ ารณาแล้วควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ? ๓. ญาณ ๓ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. อดกลั้น ข. เว้น ก. สมาธิชัน้ สงู ข. การบรรลุธรรม ค. บรรเทา ง. ถูกทุกข้อ ค. ปญั ญาหย่ังรู้ ง. อทิ ธฤิ ทธ์ิ ๕. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่วธิ ปี ฏิบตั ใิ นอปัสเสนธรรม ? หมวด ๔ ก. อดกล้นั ข. ร้แู จ้ง อปสั เสนธรรม ๔ ค. บรรเทา ง. เสพ อปัสเสนธรรม หมายถึง ธรรมดุจพนักพิง เป็นปฏิปทา อปั ปมัญญา ๔ เพื่อความเจริญ เป็นเหตุให้อกุศลที่เกิดขึ้นแล้วเสื่อมไป กุศล ที่ยังไม่เกิดย่อมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป อัปปมัญญา หมายถึง การภาวนาอันมีสัตว์หาประมาณ มี ๔ อย่าง มิได้เป็นอารมณ์ เป็นการแผ่บุญกุศล หรือความปรารถนาดี ที่ไม่เจาะจงตัวผู้รับ ไม่มีการกำหนดเขตแดน โดยแผ่ให้กับ ๑) พิจารณาแล้วเสพของอย่างหนึ่ง หมายถึง ก่อนที่จะ สรรพสัตวท์ กุ หมู่เหลา่ มี ๔ อยา่ ง กนิ จะใช้สิ่งของตา่ งๆ ควรพจิ ารณากอ่ นเพอ่ื ไม่ให้หลงมัวเมา ๑) เมตตา ความรักใคร่ที่ปราศจากราคะ หมายถึง การ ๒) พิจารณาแล้วอดกลั้นของอย่างหนึ่ง หมายถึง การ แผเ่ มตตาจิตไปดว้ ยความรกั ใครท่ ีไ่ ม่มีความกำหนัดเจอื ปน ประสบกับสิ่งที่ไม่น่าปรารถนา เช่น ความหนาว ร้อน หิว กระหาย คำเสียดแทง เป็นต้น ควรพิจารณารู้จักข่ม และ ๒) กรุณา ความสงสาร หมายถึง การแผ่ความสงสาร อดทนใหไ้ ด้ ความหวั่นใจ คดิ ช่วยให้ผู้อน่ื พ้นจากความทุกข์ ๓) พิจารณาแล้วเว้นของอย่างหนึ่ง หมายถึง พิจารณา ๓) มุทิตา ความพลอยยินดี หมายถึง การชื่นชม ความ เวน้ ไม่เสพในสงิ่ ทจ่ี ะมผี ลเปน็ ความทกุ ข์ เดอื ดร้อนต่อตนเอง พลอยยนิ ดเี ม่ือผ้อู น่ื ได้ดี แสดงถงึ ความชื่นชมยนิ ดี บันเทิงใจ ในภายหลงั ๔) อุเบกขา ความวางเฉย หมายถึง การวางตนเป็น ๔) พิจารณาแล้วบรรเทาของอย่างหนึ่ง หมายถึง การ กลาง ความวางเฉย ไม่เอนเอียงเข้าไปด้วยความไม่ชอบ บรรเทาสิ่งที่มีโทษ เป็นอันตราย คิดจะก่อให้เกิดความ หรือชอบก็ตาม ควรใช้สติปัญญาพิจารณาเหตุผล ด้วยความ เสียหายแกต่ น ยุตธิ รรม _____________ อปั ปมญั ญา คือ การแผโ่ ดยไมเ่ จาะจง พรหมวหิ าร คอื การแผโ่ ดยเจาะจง

๒๓ ๑. การภาวนาข้อใด จัดเป็นอัปปมญั ญา ? ๑. อกศุ ลธรรมท่คี รอบงำจิตไม่ให้ก้าวขนึ้ ส่ธู รรมชนั้ สูงข้ึนไป ก. ไมเ่ จาะจง ข. เจาะจงบคุ คล ตรงกบั ข้อใด ? ค. เจาะจงสัตว์ ง. เจาะจงตนเอง ก. มจั ฉรยิ ะ ข. นวิ รณ์ ๒. ยนิ ดเี ม่อื เพื่อนสอบได้ จดั ว่ามีอปั ปมัญญาขอ้ ใด ? ค. ตณั หา ง. มาร ก. เมตตา ข. กรณุ า ๒. รปู เสยี ง กลิน่ รส ที่นา่ ชอบใจ ก่อให้เกิดนิวรณใ์ ด ? ค. มทุ ติ า ง. อเุ บกขา ก. กามฉันทะ ข. พยาบาท ๓. ขอ้ ใด จดั เป็นขา้ ศกึ ของเมตตา ? ค. ถีนมิทธะ ง. วิจกิ ิจฉา ก. ความรกั ข. ความโลภ ๔. คนเปน็ โรคซมึ เศรา้ เพราะจิตถกู นวิ รณใ์ ดครอบงำ ? ค. ความหลง ง. ความพยาบาท ก. พยาบาท ข. ถนี มิทธะ ๔. วิธีแผ่เมตตาท่ถี กู ต้อง ควรเร่ิมทีใ่ คร ? ค. อุทธจั จกกุ กุจจะ ง. วิจกิ จิ ฉา ก. ตนเอง ข. มิตร ๕. คนทม่ี คี วามสงสัยในเร่ืองบาปบุญ เพราะจิตถูกนวิ รณ์ใด ค. ศัตรู ง. สรรพสตั ว์ ครอบงำ ? ๕. ขอใหส้ รรพสัตว์พน้ จากทกุ ขเ์ ถิด เป็นการเจริญ ก. กามฉนั ทะ ข. พยาบาท อัปปมญั ญาใด ? ค. ถีนมิทธะ ง. วิจกิ จิ ฉา ก. เมตตา ข. กรุณา มัจฉรยิ ะ ๕ ค. มทุ ติ า ง. อเุ บกขา มัจฉริยะ คอื ความตระหนี่ เสียดาย หวงแหน เป็นกิเลสท่ี ๖. สตั ว์ทัง้ หลายมกี รรมเป็นของของตน เปน็ การเจริญ ทำใหก้ ลายเปน็ คนตระหน่ี เหน็ แก่ตวั มี ๕ อย่าง อัปปมัญญาใด ? ๑) อาวาสมจั ฉริยะ ความตระหน่ีทอ่ี ยู่ ก. เมตตา ข. กรุณา ๒) กลุ มจั ฉรยิ ะ ความตระหนี่สกุล ค. มทุ ติ า ง. อุเบกขา ๓) ลาภมัจฉรยิ ะ ความตระหนล่ี าภ หมวด ๕ ๔) วัณณมจั ฉรยิ ะ ความตระหน่ีวรรณะ นวิ รณ์ ๕ ๕) ธัมมมัจฉรยิ ะ ความตระหน่ธี รรม นวิ รณ์ เครอื่ งกดี กั้นการทำงานของจติ สงิ่ ที่ขดั ขวางความ _____________ ดีงามของจิตมี ๕ อย่าง ๑. ความตระหนีอ่ ะไร จดั เปน็ ธัมมมัจฉรยิ ะ ? ๑) กามฉันทะ ความพอใจในกาม ก. ความดี ข. ความรู้ ๒) พยาบาท ความขดั เคืองแค้นใจ ๓) ถนี มิทธะ ความหดหู่และเซอ่ื งซึม ค. ทอ่ี ยู่ ง. ตระกลู ๔) อทุ ธจั จกุกกจุ จะ ความฟ้งุ ซา่ นและเดอื ดรอ้ นใจ ๕) วิจิกิจฉา ความลังเลสงสยั ๒. ความตระหนอี่ ะไร จดั เป็นวัณณมจั ฉรยิ ะ ? _____________ ก. ความดี ข. ความรู้ ค. ทอ่ี ยู่ ง. ตระกูล ๓. ข้อใด จดั เป็นความหมายของอาวาสมจั ฉริยะ ? ก. หวงที่อยู่อาศยั ข. หวงเงนิ ทอง ค. หวงวิชาความรู้ ง. หวงวงศ์สกุล

๒๔ ๔. อาวาสมัจฉริยะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ๔. ความสบายใจ มคี วามหมายตรงกับเวทนาใด ? ก. หวงทอี่ ยู่ ข. หวงสกุล ก. สขุ เวทนา ข. ทกุ ขเวทนา ค. หวงลาภ ง. หวงวรรณะ ค. โสมนสั เวทนา ง. อุเบกขาเวทนา ๕. คนทไี่ ม่ถือชาติช้นั วรรณะ แสดงว่าไมม่ ีมัจฉริยะใด ? ๕. อาการที่ไมด่ ใี จเสียใจ มีความหมายตรงกับเวทนาใด ? ก. กุลมจั ฉริยะ ข. ลาภมัจฉรยิ ะ ก. สขุ เวทนา ข. ทกุ ขเวทนา ค. วัณณมัจฉรยิ ะ ง. ธัมมมัจฉริยะ ค. โสมนัสเวทนา ง. อเุ บกขาเวทนา ๖. คนท่ีกลัวคนอนื่ จะไดด้ ีกวา่ ช่อื วา่ มีความตระหนี่ในเรือ่ ง ๖. ความสบายกาย มคี วามหมายตรงกบั เวทนาใด ? อะไร ? ก. สุขเวทนา ข. ทกุ ขเวทนา ก. ตระกูล ข. ทีอ่ ยู่ ค. โสมนสั เวทนา ง. อเุ บกขาเวทนา ค. วรรณะ ง. ลาภ หมวด ๖ ๗. ธมั มมจั ฉริยะ มีความหมายตรงกบั ข้อใด ? จริต ๖ ก. หวงวิชา ข. หวงสกุล จริต หมายถึง ความประพฤติ อุปนิสัย พื้นเพของจิตใจที่ แท้จริงที่ฝังแน่นติดอยู่ในสันดานมักแสดงออกมาให้เห็นอยู่ ค. หวงลาภ ง. หวงวรรณะ เสมอ มี ๖ อย่าง เวทนา ๕ ๑) ราคจริต มีความประพฤตหิ นกั ไปทางรักสวยรักงาม ๒) โทสจริต มโี ทสะเกิดขนึ้ เสมอ ใจจะรอ้ น หงดุ หงดิ เวทนา หมายถึง ความรับรู้อารมณ์หรือความรู้สึกที่มา ๓) โมหจรติ มโี มหะเป็นปกติ คอื เขลา ไมก่ ลา้ แสดงออก ๔) วิตักกจริต มีความคิดฟุ้งซ่าน ชอบสร้างวิมานใน กระทบเขา้ มี ๕ อย่าง อากาศ วติ กกังวลจนเกินเหตุ ๕) สัทธาจริต มีจิตใจพร้อมที่จะเชื่อถือ เลื่อมใส ในสิ่งที่ ๑) สขุ ความรู้สึกสบายกาย ไดย้ นิ ได้ฟัง ๖) พุทธิจรติ มีปญั ญา ใช้เหตุผล ใช้ความคดิ พจิ ารณา ๒) ทุกข์ ความรู้สึกไมส่ บายกาย ๓) โสมนสั ความรูส้ ึกสบายใจ ๔) โทมนัส ความรู้สกึ ไมส่ บายใจ ๕) อุเบกขา ความรูส้ กึ เฉยๆ _____________ _____________ ๑. อเุ บกขาในเวทนา ๕ หมายถึง วางเฉยในสง่ิ ใด ? ก. หมู่สัตว์ ข. ความดี ๑. คนโทสจริต มลี กั ษณะเชน่ ใด ? ค. การงาน ง. สุขทกุ ข์ ก. รกั สวยรกั งาม ข. โกรธง่าย ๒. เวทนาเกดิ ขึ้นได้เพราะอาศยั อะไร ? ค. หลงงมงาย ง. เชอ่ื ง่าย ก. สมั ผัส ข. กเิ ลส ๒. คนโทสจรติ ควรแกด้ ว้ ยกัมมฏั ฐานใด ? ค. กรรม ง. ตัณหา ก. เมตตา ข. อสภุ ะ ๓. ข้อใด กล่าวความหมายของเวทนาได้ชัดเจนทสี่ ุด ? ค. อนสุ สติ ง. อานาปานสติ ก. ความรู้สึก ข. ความเจบ็ ปวด ๓. คนสัทธาจรติ มลี กั ษณะเช่นใด ? ค. ความสงสาร ง. ความเหน็ ใจ ก. เชอื่ งา่ ย ข. โกรธง่าย ค. เขลางมงาย ง. รกั สวยรักงาม

๒๕ ๔. คนราคจรติ มลี กั ษณะอยา่ งไร ? ๑. อปริหานิยธรรม เปน็ หลกั ธรรมสง่ เสริมประเทศชาติใน ก. อวดดี ข. ชอบโอ้อวด เร่ืองใด ? ค. ขม่ คนอ่นื ง. โมโหร้าย ก. ความสามัคคี ข. ความมนั่ คง ๕. คำวา่ จรติ เรยี กอกี อย่างหนึ่งวา่ อยา่ งไร ? ค. ความทันสมัย ง. ความร่ำรวย ก. วิตก ข. จรยิ า ๒. ข้อใด เปน็ หลักอปรหิ านิยธรรม ? ค. วิจาร ง. วพิ ากย์ ก. หมน่ั ประชมุ ข. เคารพผู้ใหญ่ ๖. จริตของมนษุ ย์ในโลกนี้ แบง่ ไดเ้ ปน็ กีป่ ระเภท ? ค. ไมบ่ งั คบั สตรี ง. ถูกทกุ ข้อ ก. ๒ ประเภท ข. ๔ ประเภท หมวด ๙ ค. ๖ ประเภท ง. ๘ ประเภท สงั ฆคุณ ๙ ๗. คนทีเ่ ช่ืองา่ ยไร้เหตผุ ล เป็นคนจริตใด ? สังฆคุณ หมายถึง คุณของพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติชอบตาม ก. โทสจรติ ข. วิตกั กจรติ คำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม ค. สทั ธาจริต ง. พุทธจิ ริต ไปด้วย มี ๙ อยา่ ง ๘. คนท่เี ช่อื งา่ ยไรเ้ หตุผล แก้ด้วยการเจรญิ กมั มฏั ฐานใด ? ๑) สปุ ฏิปนั โน เปน็ ผูป้ ฏบิ ตั ดิ ี ก. อสุภกัมมัฏฐาน ข. เมตตา ๒) อชุ ุปฏปิ ันโน เป็นผปู้ ฏิบัตติ รง ค. มรณัสสติ ง. อนสุ สติ ๓) ญายปฏิปนั โน เป็นผู้ปฏบิ ัติเป็นธรรม (ถกู ทาง) ๙. คนมคี วามรชู้ อบใช้เหตผุ ล เป็นลกั ษณะของคนจรติ ใด ? ๔) สามีจปิ ฏปิ ันโน เป็นผ้ปู ฏิบัตสิ มควร ก. วิตักกจริต ข. โทสจริต ๕) อาหุเนยโย เป็นผคู้ วรแกก่ ารคำนับ ค. สทั ธาจรติ ง. พุทธจิ ริต ๖) ปาหุเนยโย เปน็ ผู้ควรแกข่ องตอ้ นรับ หมวด ๗ ๗) ทกั ขเิ นยโย เป็นผู้ควรแกข่ องทำบุญ อปรหิ านิยธรรม ๗ ๘) อัญชลีกรณโี ย เปน็ ผูค้ วรทำอญั ชลี อปริหานิยธรรม หมายถึง ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความไม่ ๙) อนุตตรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ เป็นเนื้อนาบุญ เสอื่ ม มี ๗ อย่าง ของโลก ไมม่ ีนาบญุ อื่นยิ่งกวา่ ๑) หม่นั ประชมุ กันเนืองนติ ย์ ๒) พร้อมเพรยี งกันประชมุ ๑. สงั ฆคุณว่า สามจี ิปฏปิ นโฺ น ตรงกบั ข้อใด ? ๓) ไม่บัญญัติสิ่งที่ยังไม่ได้บัญญัติและไม่เลิกล้มสิ่งที่ บัญญตั ไิ ว้แลว้ ก. ปฏบิ ัติดี ข. ปฏบิ ัติถกู ทาง ๔) เคารพนับถือผู้ใหญ่การเคารพและรับฟังคำสั่งสอน ของผูใ้ หญ่ ค. ปฏิบัติตรง ง. ปฏิบตั ิสมควร ๕) ไม่ขม่ เหงล่วงเกินสตรี ๖) สกั การะเคารพเจดยี ์ ๒. ผ้คู วรรับของทำบุญ ตรงกับสังฆคณุ ข้อใด ? ๗) ให้การคุ้มครองบรรพชิต ซึ่งเป็นผู้สืบทอด พระพุทธศาสนาให้คงอยูต่ ลอดไป ก. อาหเุ นยโฺ ย ข. ปาหุเนยฺโย ค. ทกฺขิเณยฺโย ง. อญฺชลกิ รณีโย ๓. สงั ฆคุณวา่ ญายปฏปิ นฺโน ตรงกบั ข้อใด ? ก. ปฏบิ ัตดิ ี ข. ปฏบิ ัติตรง ค. ปฏิบตั เิ พอ่ื รแู้ จ้ง ง. ปฏิบตั ิสมควร

๒๖ ๔. เปน็ ผู้ควรของทำบญุ ตรงกับสังฆคุณขอ้ ใด ? ๕) วิริยบารมี คือ ความแกล้วกล้าบากบั่นไม่ย่อท้อต่อ ปญั หาอปุ สรรคทจ่ี ะมาขัดขวางในการทำความดี ก. อาหเุ นยฺโย ข. ปาหุเนยฺโย ๖) ขันติบารมี คือ การอดทนในการควบคุมตนไม่ให้ทำ ค. ทกฺขเิ ณยโฺ ย ง. อญชฺ ลกิ รณโี ย ความช่วั และอดทนตอ่ การทำความดีไม่ให้ท้อถอย ๕. พระสงฆ์ในสงั ฆคุณ ๙ หมายถึงพระสงฆ์ในข้อใด ? ๗) สัจจบารมี คือ ความตั้งใจว่าจะทำสิ่งใดแล้วก็ทำส่ิง นั้นอย่างแน่วแน่ไม่เปลี่ยนความตั้งใจง่ายๆ เป็นคนที่พูดจริง ก. สมมติสงฆ์ ข. อริยสงฆ์ ทำจริง ค. พระอนาคามี ง. พระอรหันต์ ๘) อธิษฐานบารมี คือ การตั้งใจมั่นอย่างยิ่งยวด มีมโน ปณิธานในชีวิตที่แน่นอนมั่งคง ทำตามมโนปณิธานที่ตั้งไว้ ๖. สังฆคุณบทวา่ สุปฏิปนฺโน มคี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด ? ด้วยใจทก่ี ล้าหาญเด็ดเดียวแมช้ วี ิตกส็ ละได้ ก. ปฏิบตั ิดี ข. ปฏบิ ตั ิตรง ๙) เมตตาบารมี คือ การมีความรัก ความปรารถนาดีต่อ เพื่อนมนุษย์และสรรพสัตว์เสมอกัน หวังแต่ความสุขความ ค. ปฏบิ ัติเปน็ ธรรม ง. ปฏิบัตสิ มควร เจรญิ โดยถา่ ยเดยี ว ๗. พระสงฆป์ ฏบิ ตั ิอย่างไร ชอื่ วา่ เป็นเนอื้ นาบญุ ของโลก ? ๑๐) อุเบกขาบารมี คือ การวางใจที่เป็นกลางอย่าง ก. ปฏิบตั ดิ ี ข. ปฏบิ ัติตรง ค. ปฏิบัตเิ ปน็ ธรรม ง. ถกู ทุกข้อ ๘. สังฆคุณบทว่า ทกฺขิเณยโฺ ย มคี วามหมายตรงกับข้อใด ? ก. ควรคำนับ ข. ควรต้อนรับ ค. ควรของทำบญุ ง. ควรกราบไหว้ ยิ่งยวด สม่ำเสมอ เที่ยงธรรมไมม่ ีอคติ ๔ หมวด ๑๐ _____________ ๑. บารมใี นทางพระพุทธศาสนา ตรงกบั ข้อใด ? บารมี ๑๐ ก. อำนาจวาสนา ข. โชคลาภ บารมี คือ การบำเพ็ญปฏิปทาอย่างยิ่งยวด ด้วยเจตนา และสัจจะที่มั่นคงแม้ชีวิตก็สละได้เพื่อรักษาความดี มี ๑๐ ค. บุญญาธิการ ง. คุณธรรมอนั ยวดยง่ิ อย่าง คอื ๒. ตัง้ ใจงดเหลา้ เขา้ พรรษา ชื่อวา่ บำเพญ็ บารมใี ด ? ๑) ทานบารมี คอื การตั้งใจให้แน่วแน่ในการให้ทาน การ แบ่งปัน การเสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่ผู้อื่นโดยไม่หวัง ก. ขนั ตบิ ารมี ข. ศลี บารมี ผลตอบแทน ค. วิรยิ บารมี ง. อธษิ ฐานบารมี ๒) สีลบารมี คือ การตั้งใจให้แน่วแน่ในการรักษากาย วาจา ให้เรยี บร้อย ๓. พระเวสสันดร บำเพญ็ บารมใี ดเป็นพิเศษ ? ๓) เนกขัมมบารมี คือ การตั้งใจแน่วแน่พยายามปลีก ก. ทานบารมี ข. ศลี บารมี กายปลีกใจให้หลุดพ้นจากอารมณอ์ ันเป็นเหตุทำให้เกิดความ กำหนัด ขัดเคอื ง หลง มวั เมา เปน็ ต้น ค. เนกขัมมบารมี ง. เมตตาบารมี ๔) ปัญญาบารมี คือ การตั้งใจแน่วแน่ในการศึกษาหา ๔. บริจาคไตใหโ้ รงพยาบาล จัดเป็นบารมอี ะไร ? ความรู้ ทั้งจากการฟัง คิด พิจารณา ไปตามความเป็นจริง แลว้ ลงมอื ปฏบิ ัตติ ามจนเกดิ ผล ก. ทานบารมี ข. ทานอุปบารมี ค. ทานปรมัตถบารมี ง. มหาบารมี ๕. การศึกษาธรรมใหเ้ กดิ ความรู้ จดั ว่าบำเพญ็ บารมใี ด ? ก. ปญั ญาบารมี ข. วริ ิยบารมี ค. ขนั ตบิ ารมี ง. สจั จบารมี

๒๗ ๖. ในพระพุทธศาสนา คนมีบารมี หมายถงึ ใคร ? ก. คนมีอำนาจ ข. คนมวี าสนา ค. คนมบี รวิ าร ง. คนมคี ณุ ธรรมสงู ๗. ในบารมี ๑๐ บารมีใดเปน็ ขอ้ แรก ? ก. ศีล ข. เนกขัมม์ ค. ปัญญา ง. ทาน ๘. ในบารมี ๑๐ พระมหาชนก ทรงบำเพญ็ บารมีใด ? ก. ทาน ข. วริ ิยะ ค. ขันติ ง. สัจจะ ๙. คนทีต่ ั้งใจแนว่ แน่ จะไมเ่ สพสงิ่ เสพตดิ ชื่อว่าบำเพ็ญ บารมีใด ? ก. ศีล ข. ขันติ ค. อธษิ ฐาน ง. อุเบกขา _____________

๒๘ ๒.๒ แนวขอ้ สอบธรรมศกึ ษาช้ันโท ๒. พระอุบาลี วชิ าอนพุ ุทธประวตั ิ ๑. พระมหากัสสปะ พระอุบาลี เป็นลูกชายของช่างกัลบก (ช่างตัดผม) พระพุทธเจ้าทรงประทานการบวชให้ตามประสงค์ด้วยวิธี พระมหากัสสปะ ชื่อเดิมว่า ปิปผลิ ได้ตัดสินใจออกบวช เอหิภกิ ขอุ ปุ สัมปทาการสงั คายนาพระไตรปิฎกครัง้ แรกมีพระ พร้อมกับนางภัททกาปิลานี พบพระพุทธเจ้าที่ใต้ต้นไทร ชื่อว่า พหุปุตตนิโครธ ได้รับประทานการบวชให้ด้วยวิธี มหากัสสปะเป็นประธาน คณะสงฆ์เลือกพระอุบาลีเป็น โอวาทปฏคิ คหณูปสมั ปทา คือบวชดว้ ยการรบั โอวาท ๓ ข้อ ผ้ตู อบพระวินยั ปฎิ ก ตำแหน่งเอตทคั คะ “ผทู้ รงธุดงค์” นพิ พานอายุ ๑๒๐ ปี ตำแหนง่ เอตทคั คะ “ผทู้ รงพระวนิ ัย” _____________ _____________ ๑. ปปิ ผลิ เปน็ ชอ่ื เดมิ ของพระเถระใด ? ๑. พระอุบาลี เป็นบุตรของใคร ? ก. ช่างยอ้ มผ้า ข. ช่างตัดผม ก. พระสารบี ุตร ข. พระมหากสั สปะ ค. ชา่ งเยบ็ ผ้า ง. ช่างทอง ค. พระอุบาลี ง. พระสวิ ลี ๒. พระเถระใด เคยดำรงตำแหนง่ นายภษู ามาลาของเจา้ ๒. พระมหากัสสปะเกิดทเี่ มืองใด ? ศากยะ ? ก. กบิลพัสด์ุ ข. พาราณสี ก. พระฉันนะ ข. พระอานนท์ ค. ราชคฤห์ ง. สาวตั ถี ค. พระอบุ าลี ง. พระกาฬุทายี ๓. พระมหากัสสปะเกิดในวรรณะใด ? ๓.พระสวี ลี ก. กษตั ริย์ ข. พราหมณ์ พระสีวลี พระมารดาพระนามว่า สุปปวาสา ท่านอยู่ใน ค. แพศย์ ง. ศูทร ครรภข์ องพระมารดา ๗ ปี ๗ เดือน ๗ วนั พระสารบี ตุ รชวน ๔. พระพุทธเจ้าทรงสรรเสรญิ พระมหากสั สปะ ในคณุ ธรรม สีวลีกมุ ารออกบวช ปลงผมเสรจ็ บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ ข้อใด ? ตำแหน่งเอตทัคคะ “ผมู้ ลี าภมาก” ก. อดทน ข. มกั นอ้ ย _____________ ๑. พระมารดาของพระสีวลี มีพระนามว่าอะไร ? ค. ขยนั ง. มีเมตตา ๕. พระมหากสั สปะดับขนั ธนิพพาน เม่อื อายุกีป่ ี ? ก. ปมิตา ข. อมิตา ก. ๘๐ ปี ข. ๙๐ ปี ค. สุปปวาสา ง. รูปนนั ทา ค. ๑๑๐ ปี ง. ๑๒๐ ปี ๒. พระเถระใด อยู่ในครรภ์พระมารดาถึง ๗ ปี ๗ เดอื น ๗ ๖. บรขิ ารใด ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ประทานแกพ่ ระมหากสั สปะ ? วัน ? ก. สบง ข. จวี ร ก. พระอานนท์ ข. พระกาฬทุ ายี ค. สงั ฆาฏิ ง. บาตร ค. พระอุบาลี ง. พระสีวลี ๗. พระมหากัสสปะเป็นประธานทำสงั คายนาครง้ั ท่เี ท่าไหร่ ? ๓. พระสีวลีเรยี นกรรมฐานเบือ้ งต้น จากพระเถระใด ? ก. ครั้งที่ ๑ ข. ครงั้ ท่ี ๒ ก. พระสารบี ุตร ข. พระอานนท์ ค. ครง้ั ท่ี ๓ ง. ครง้ั ที่ ๔ ค. พระอุบาลี ง. พระนนั ทะ

๒๙ ๔. พระสวิ ลี ไดร้ ับยกย่องวา่ เป็นผเู้ ลิศในด้านใด ? ๕. พระเขมาเถรี ก. ทรงวนิ ยั ข. มีลาภ พระเขมาเถรี เป็นอัครสาวิกาฝ่ายขวาของพระพุทธเจ้า ค. มักนอ้ ย ง. ทรงธดุ งค์ พระนางมีผิวพรรณดงั สีนำ้ ทอง จึงไดช้ ือ่ วา่ เขมา แปลว่า ทอง ๔. พระมหากจั จายนะ ได้ฟังพระธรรมเทศนาเรื่องราคะและการกำจัดราคะ พระ พระมหากัจจายนะ ท่านมีผิวกายเหมือนทองคำ บิดา นางก็บรรลุพระอรหัตผลขณะประทับยนื อยู่ ณ วดั เวฬวุ ัน เป็นปุโรหิตของพระเจ้าจันฑปัชโชต ฟังธรรมจาก พระพุทธเจ้าที่วัดเชตวัน บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ พระ ตำแหน่งเอตทคั คะ “ผู้มปี ญั ญามาก” มหากจั จายนะไดแ้ สดงมธรุ สตู ร คอื พระสตู รทก่ี ล่าวถงึ ความ ไมแ่ ตกต่างกันของวรรณะ ๔ เหลา่ _____________ ๑. พระนางเขมา ได้อภเิ ษกสมรสกบั กษัตริยพ์ ระองคใ์ ด ? ตำแหน่งเอตทัคคะ “ผู้อธบิ ายเนื้อความย่อให้พิสดาร” ก. ปเสนทโิ กศล ข. พมิ พิสาร ค. อุเทน ง. จณั ฑปชั โชต _____________ ๒. สตรีใด บรรลพุ ระอรหันตใ์ นขณะเปน็ คฤหัสถ์ ? ๑. พระมหากจั จายนะ เกดิ ท่ีเมืองใด ? ก. อบุ ลวรรณา ข. เขมา ก. ไพสาลี ข. สาวตั ถี ค. ปฏาจารา ง. กสี าโคตมี ค. พาราณสี ง. อุชเชนี ๓. พระนางเขมาบรรลุพระอรหันต์ ในอริ ิยาบถใด ? ๒. พระมหากจั จายนะ เคยรับราชการในตำแหนง่ ใด ? ก. ยืน ข. เดนิ ก. ปุโรหิต ข. อำมาตย์ ค. น่งั ง. นอน ค. อปุ ราช ง. ราชทูต ๔. พระเถรใี ด ได้รบั ยกย่องวา่ มีปญั ญามาก ? ๓. พระเถระใด ได้รับยกยอ่ งว่าเป็นผเู้ ลิศในการอธิบายความ ก. กสี าโคตมี ข. อบุ ลวรรณา ย่อให้พสิ ดาร ? ค. เขมา ง. ปฏาจารา ก. พระสารีบตุ ร ข. พระอานนท์ ๖. พระอบุ ลวรรณาเถรี ค. พระราหุล ง. พระมหากจั จายนะ พระอุบลวรรณาเถรี อดีตชาติ คือ กัณหาชินาราชกุมารี ๔. วรรณะทัง้ ๔ ย่อมเสมอกนั ด้วยกรรม ใครกลา่ ว ? พระธดิ าของพระเวสสนั ดร ไดช้ ่อื ว่า “อุบลวรรณา” เพราะมี ก. พระมหากสั สปะ ข. พระมหากจั จายนะ ผวิ พรรณเหมือนกลบั ดอกอบุ ลเขียว ค. พระอานนท์ ง. พระอนุรุทธะ ตำแหน่งเอตทคั คะ “ผูม้ ีฤทธ์ิ” ๕. พระสาวกรปู ใด บรรลุพระอรหัตก่อนบวช ? _____________ ๑. พระอบุ ลวรรณาเถรี เกดิ ท่ีเมืองใด ? ก. พระอนุรุทธะ ข. พระมหากัสสปะ ค. พระมหากจั จายนะ ง. พระอานนท์ ก. พาราณสี ข. สาวัตถี ๖. กัจจายนพราหมณ์ เคยดำรงตำแหน่งปโุ รหติ ของใคร ? ค. โกสัมพี ง. อชุ เชนี ก. พระเจ้าปเสนทิโกศล ข. พระเจา้ จันฑปัชโชต ๒. พระเถรีใด เป็นอัครสาวิกาเบอื้ งซา้ ย ? ค. พระเจา้ พิมพสิ าร ง. พระเจ้าโกรัพยะ ก. อบุ ลวรรณา ข. เขมา ค. ปฏาจารา ง. รปู นนั ทา

๓๐ ๓. พระอุบลวรรณาเถรี ไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เป็นผเู้ ลิศในด้านใด ? ๑. สตรีใด เขา้ ใจว่ามยี าท่ีสามารถรักษาคนตายให้ฟืน้ ได้ ? ก. มีลาภ ข. มีฤทธิ์ ก. ปฏาจารา ข. กสี าโคตมี ค. มีปัญญา ง. มคี วามเพียร ค. เขมา ง. ปชาบดี ๗. พระปฏาจาราเถรี ๒. พระเถรีใด ได้รบั ยกย่องวา่ เปน็ ผ้เู ลิศในด้านทรงผา้ เศร้า พระปฏาจาราเถรี นางสูญเสียครอบครัว สามี ลูกๆ ใน หมอง ? คราวเดยี ว ไดฟ้ งั ธรรมจากพระพุทธเจา้ ไดส้ ตกิ ลับคืนมา ก. ปชาบดี ข. พิมพา ตำแหนง่ เอตทัคคะ “ผทู้ รงพระวนิ ัย” ค. อุบลวรรณา ง. กีสาโคตรมี _____________ ๓. มีชอ่ื วา่ “กีสาโคตม”ี เพราะมรี ปู ร่างตรงกบั ข้อใด ? ๑. สตรใี ด เสียสติเพราะสญู เสียคนในครอบครัว ? ก. อ้วน ข. ผอม ก. อบุ ลวรรณา ข. เขมา ค. หนา้ ตาดี ง. สงู ใหญ่ ค. ปฏาจารา ง. กสี าโคตรมี ๔. กสี าโคตมีตามหาหมอเพื่อใหร้ ักษาส่งิ ใด ? ๒. พระปฏาจาราเถรี ได้รบั ยกย่องวา่ เป็นผ้เู ลศิ ในด้านใด ? ก. โรคประจำตวั ข. ลกู ทีป่ ่วย ก. ทรงวนิ ัย ข. มฤี ทธ์ิ ค. ลกู ท่ตี ายแลว้ ง. สามที ีถ่ กู งูกัด ค. มีปญั ญา ง. ทรงผา้ เศร้าหมอง ๙. บัณฑติ สามเณร ๓. นางปฏาจาราเสียสติเพราะเรอื่ งใด ? บณั ฑติ สามเณร เกดิ ในตระกลู อปุ ฎั ฐากของพระสารีบุตร บวชตอนอายุได้ ๗ ขวบ สามารถสำเร็จอรหันต์ในวันที่ ๘ ก. ลูกตาย ข. สามตี าย ของการบวช มารดาตั้งชื่อว่า \"บัณฑิต\" เหตุเพราะเมื่อ สามเณรได้มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ก็ปรากฏว่าคนใน ค. พ่อแมต่ าย ง. ถกู ทุกข้อ บ้านเรือนมีแต่ความฉลาดปราดเปรื่องมากขึ้น มีเห็น เหตุการณ์ ๓ อย่าง คอื ๔. พระปฏาจาราเถรีเห็นอะไรจึงไดบ้ รรลุธรรม ? ๑) เหน็ คนชักนำ้ เขา้ นา ก. เปลวไฟ ข. ซากศพ ๒) เห็นคนกำลงั ถากไมท้ ำเกวยี นอยู่ ๓) เห็นคนกำลังใช้ไฟลนลกู ศรเพอื่ จะดัดให้ตรง ค. น้ำล้างเท้า ง. เปลวแดด ๘. พระกีสาโคตมีเถรี พระกีสาโคตมีเถรี มีชื่อเดิมว่า \"โคตมี\" แต่เพราะมี _____________ ร่างกายผ่ายผอมหลายคนจึงตั้งชื่อให้ใหม่ว่า \"กีสาโคตมี\" ๑. บณั ฑิตสามเณรเกดิ ในตระกูลอปุ ฏั ฐาก ของพระเถระใด ? แปลว่า \"นางโคตมีผอม\" หลงั การเสียชวี ิตของบุตร ทำให้ท่าน มีความเศร้าโศกเสียใจมากจนมาได้พบพระพุทธเจ้าและทรง ก. พระสารีบุตร ข. พระโมคคัลลานะ ใช้อุบายทรงแนะอุบายคลายความทุกข์โดยการให้นางไป เสาะหาเมล็ดพันธุ์ผักกาดจากบา้ นทไี่ ม่เคยมีคนตาย ค. พระอานนท์ ง. พระราหุล ตำแหนง่ เอตทคั คะ “ผทู้ รงจีวรเศร้าหมอง” ๒. มารดาของสามเณรใด ขณะแพ้ทอ้ งตอ้ งการนงุ่ ผา้ กาสาว _____________ พัสตร์ ? ก. สังกจิ จะ ข. บณั ฑิต ค. สมุ นะ ง. สุขะ

๓๑ ๓. พระเถระใด เป็นพระอปุ ชั ฌายข์ องบัณฑิตสามเณร ? ๓. หลังถงึ แก่กรรม ธรรมกิ อุบาสกไปเกดิ ในสวรรค์ชน้ั ใด ? ก. พระสารีบตุ ร ข. พระโมคคัลลานะ ก. ดาวดงึ ส์ ข. ยามา ค. พระอานนท์ ง. พระมหากสั สปะ ค. ดสุ ิต ง. นิมมานรดี ๔. มีบุญทำใหค้ นหายโง่คือสามเณรรปู ใด ? ๔. พระสตู รใด ทธี่ รรมิกอบุ าสกฟงั จากภิกษุท้ังหลาย ? ก. บณั ฑิตสามเณร ข. สุขสามเณร ก. สติปฏั ฐานสูตร ข. มงคลสูตร ค. สมุ นสามเณร ง. วนวาสีตสิ สสามเณร ค. รตนสตู ร ง. เมตตสูตร ๕. ผู้ท่เี คยทำบญุ ด้วยปลาตะเพียนแดงในชาติก่อนคือใคร? ๕. “พวกท่านจงรอก่อน” ธัมมิกอบุ าสกกลา่ วกับใคร ? ก. บัณฑติ สามเณร ข. สุขสามเณร ก. บุตรธดิ าที่ขอสมบตั ิ ข. ภกิ ษทุ ี่สาธยายธรรม ค. สมุ นสามเณร ง. สงั กจิ จสามเณร ค. เทวดาทีม่ ารอรับ ง. หมอทีม่ ารักษา ๖. สามเณรบัณฑติ ท่ีได้ชือ่ อย่างน้ีเพราะเหตใุ ด ? ๖. ยงั ไม่ตาย แต่มเี ทวดามารับ คือบคุ คลใด ? ก. รู้ทันคน ข. เจ้าเล่ห์ ก. อนาถบิณฑิกเศรษฐี ข. จติ ตคฤหบดี ค. ฉลาด ง. ปญั ญาทึบ ค. นางวิสาขา ง. ธมั มกิ อบุ าสก ๗. ขอ้ ใดไม่ใช่เหตทุ ำให้บัณฑิตสามเณรอยากปฏิบตั ธิ รรม ? ๗. ธัมมกิ อบุ าสก ตายแล้วไปเกิด ณ สวรรคช์ ั้นใด ? ก. คนถากไม้ ข. คนไขน้ำ ก. ดาวดงึ ส์ ข. ดสุ ติ ค. คนดดั ลูกศร ง. คนตาย ค. จาตมุ หาราชิกา ง. ยามา ๑๐. ธมั มกิ อุบาสก ๑๑. พระนางมลั ลิกาเทวี ธัมมิกอุบาสก เป็นชาวเมืองสาวัตถี เป็นผู้ใจบุญใจกุศล พระนางมัลลิกาเทวี เป็นธิดาของนายมาลาการ (ช่างทำ ชอบทำบุญให้ทาน เขาจะถวายทานแก่ภิกษุสงฆ์อย่าง ดอกไม้) ในเมืองสาวัตถี ต่อมาได้เป็นมเหสีของพระเจ้า สม่ำเสมอทุกวัน เมื่อใกล้จะละโลก จึงได้นิมนต์พระมาแสดง ปเสนทิโกศล ทรงเป็นพุทธสาวิกาผู้มั่นคงในพระพุทธศาสนา ธรรมที่บ้าน ขณะที่พระภิกษุสงฆ์กำลังสวดมหาสติปัฏฐาน ได้จัดการถวายอสทิสทานให้กับพระเจ้าปเสนทิโกศล และ สูตรอยู่นั้น มีเทวรถจำนวน ๖ คันจากสวรรค์ชั้นต่างๆ มา ช่วยคนอื่นให้เขา้ ถึงธรรมในพระพุทธศาสนาด้วย จอดรอเขาเพื่อเชิญให้เขาไปอยู่ในสวรรค์ในชั้นต่างๆ ท่าน _____________ ๑. พระนางมลั ลกิ าเทวี เปน็ ธดิ าของใคร ? เลอื กไปสวรรค์ชัน้ ดสุ ิต _____________ ก. ช่างตดั ผม ข. ช่างทอง ๑. ธรรมิกอุบาสก เป็นชาวเมืองใด ? ค. ชา่ งทำดอกไม้ ง. ช่างย้อมผา้ ก. พาราณสี ข. สาวตั ถี ๒. แควน้ ใด เปน็ ทีอ่ าศัยอยขู่ องพระนางมลั ลกิ าเทวี ? ค. โกสมั พี ง. อชุ เชนี ก. สักกะ ข. มคธ ๒. ข้อใด เปน็ อุปนิสัยของธรรมิกอบุ าสก ? ค. กาสี ง. โกศล ก. ใหท้ าน ข. รกั ษาศีล ๓. พระเทวีใด เปน็ อัครมเหสีของพระเจา้ ปเสนทิโกศล ? ค. ฟงั ธรรม ง. ถกู ทกุ ขอ้ ก. สุมนา ข. มัลลิกา ค. สปุ ปวาสา ง. ปมิตา

๓๒ ๔. พระเทวีใด ทรงแนะนำให้พระเจ้าปเสนทิโกศลเลิกพธิ ี บชู ายญั ? ก. มลั ลกิ า ข. สุมนา ค. สปุ ปวาสา ง. ปมิตา ๕. พระนางมัลลิกาเทวี ทรงแนะนำพระสวามใี ห้ถวายทาน ใด ? ก. ธรรมทาน ข. อสทิสทาน ค. ปาฏิบุคลกิ ทาน ง. อภยั ทาน

๓๓ ๒.๓ แนวขอ้ สอบธรรมศกึ ษาชั้นโท วิชาศาสนพธิ ี ๑. วนั ปวารณา ตรงกบั ข้อใด ? บทที่ ๑ พิธบี ำเพ็ญกุศลในทางพระพุทธศาสนา ก. เข้าพรรษา ข. ออกพรรษา วันเขา้ พรรษา ค. ธรรมสวนะ ง. เทโวโรหณะ การที่พระภิกษุอยู่ประจำวัดใดวัดหนึ่งตลอด ๓ เดือนใน วนั เทโวโรหนะ ฤดฝู น วนั ที่พระพทุ ธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลก หลงั จากที่เสด็จข้ึน ๑) เข้าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ไปออกวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ เรยี กว่า ปุริมพรรษา คอื พรรษาแรก ไปจำพรรษาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพื่อตรัสพระอภิธรรม ๒) เข้าพรรษาแรกไม่ทันให้นับไปอีก ๑ เดือน คือวันแรม เทศนาโปรดพระพุทธมารดา จนครบ ๓ เดือน ตรงกับวันขึน้ ๑ ค่ำ เดือน ๙ และไปออกในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ เรียกว่า ปจั ฉิมพรรษา คอื พรรษาหลัง ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ เป็นวนั มหาปวารณา เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า การทำสามีจิกรรม คือ การขอขมาโทษตอ่ กนั วนั พระเจ้าเปิดโลก คำอธษิ ฐานเข้าพรรษาดงั นี้ “อมิ ัสมิง อาวาเส อิมัง เตมาสงั วสั สัง อุเปมิ”. _____________ ๑. ในพรรษาท่ี ๗ พระพุทธเจ้าเสด็จจำพรรษาท่ใี ด ? ก. วดั พระเชตวัน ข. วัดพระเวฬวุ ัน ค. สวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์ ง. สวรรค์ช้ันดุสิต _____________ ๒. ตกั บาตรเทโวโรหนะ นยิ มจัดขึ้นในวนั ใด ? ๑. ในวันเข้าพรรษา พุทธศาสนกิ ชนนิยมบำเพญ็ กศุ ลใด ? ก. แรม ๑ ค่ำเดอื น ๑๑ ข. ข้ึน ๑๕ คำ่ เดอื น ๑๑ ก. ตกั บาตร ข. รกั ษาศลี ค. ขนึ้ ๑๕ ค่ำเดือน ๑๒ ง. แรม ๑ คำ่ เดอื น ๑๒ ค. ฟังธรรม ง. ถกู ทกุ ข้อ ๓. วันเทโวโรหณะ เรยี กอีกอย่างว่าวันอะไร ? ๒. พระพุทธเจ้าทรงบัญญตั ใิ หพ้ ระภิกษุสงฆเ์ ข้าจำพรรษา ใน ก. วนั พระเจ้าเปดิ โลก ข. วนั พระเจ้าปิดโลก ฤดูใด ? ค. วันเปิดสวรรค์ ง. วันพระเจา้ เปิดฟ้า ก. ฤดรู อ้ น ข. ฤดหู นาว ๔. ในวันตักบาตรเทโว ฯ นิยมทำกจิ กรรมตามข้อใด ? ค. ฤดฝู น ง. ฤดแู ลง้ ก. สวดมนต์ข้ามคืน ข. ถอื ศลี ๘ ๓. การจำพรรษาหลัง จะเร่มิ จากวนั ใด ? ค. ตักบาตรอาหารสด ง. ตกั บาตรอาหารแห้ง ก. แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ข. ขึ้น ๑๕ คำ่ เดอื น ๘ วนั ธรรมสวนะ ค. แรม ๑ คำ่ เดอื น ๙ ง. ขนึ้ ๑๕ คำ่ เดือน ๙ วันกำหนดประชุมฟังธรรม เรียกว่า วันพระ เดือนหนึ่งมี ๔. การถวายผ้าวัสสกิ สาฎกนิยมถวายในโอกาสใด ? ๔ วนั คือ ก. วันข้นึ ปีใหม่ ข. วันเถลิงศก ๑) วนั ขน้ึ ๘ คำ่ ค. วันสงกรานต์ ง. วนั เข้าพรรษา ๒) วนั ขึ้น ๑๕ คำ่ วันออกพรรษา ๓) วนั แรม ๘ ค่ำ เวลาสิ้นสุดกำหนดอยู่จำพรรษา ๓ เดือน ของพระภิกษุ ๔) วันแรม ๑๕ ค่ำ ตามพระวินัยบัญญัติ มีสังฆกรรมเป็นพิเศษโดยเฉพาะ _____________ เรียกว่า ปวารณากรรม ทำในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ของ ทกุ ปี

๓๔ ๑. ธรรมสวนะ มคี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด ? ๑. พธิ ีสวดพระพุทธมนตจ์ ะจัดขึน้ ในงานใด ? ก. ฟงั ธรรม ข. ถวายทาน ก. งานแตง่ งาน ข. งานเกย่ี วกับคนตาย ค. รักษาศีล ง. เจริญภาวนา ค. งานขึน้ บา้ นใหม่ ง. งานทำบุญวนั เกดิ ๒. หนงึ่ เดือนพระพทุ ธเจา้ กำหนดวนั พระไว้ก่ีวนั ? ๒. สิ่งใดไมจ่ ำเปน็ ต้องใชใ้ นงานสวดพระอภิธรรมศพ ? ก. ๔ วนั ข. ๕ วัน ก. ภษู าโยง ข. ตู้พระอภธิ รรม ค. ๖ วนั ง. ๘ วัน ค. ผา้ บงั สกุ ุล ง. ขนั นำ้ มนต์ บทท่ี ๒ พิธเี จริญพระพทุ ธมนต์ งานทำบุญหนา้ ศพ พธิ เี จรญิ พระพุทธมนต์ งานทำบุญหน้าศพ เป็นการทำบุญในขณะที่ยังตั้งศพไว้ท่ี พิธีเจริญพระพุทธมนต์ หมายถึง การที่พระสงฆ์จำนวน บ้านหรอื ว่าทว่ี ดั มี ๔ ลักษณะ คอื หนง่ึ รว่ มกันสาธยายมนต์ในพธิ ีทำบุญต่างๆ ถา้ เป็นงานมงคล เรียกว่า “เจริญพระพุทธมนต์” งานฉลองพระบวชใหม่ งาน ๑) ทำบุญ ๗ วันหลังจากการเสียชีวิต เรียกว่า “ทำบุญ มงคลสมรส งานทำบญุ อายุ งานทำบุญเอาฤกษช์ ยั มงคล งาน ทำบุญตอ่ นาม สัตตมวาร” หรอื ว่า ทักษิณานุสรณ์ ๒) ทำบุญทุก ๆ ๗ วัน ก่อนครบ ๕๐ วัน หรือ ๑๐๐ วัน เรยี กวา่ “ทกั ษิณานปุ ทาน” _____________ ๓) ทำบุญครบ ๕๐ วนั และครบ ๑๐๐ วนั ๑. การเจรญิ พระพุทธมนต์ มีมาตงั้ แตส่ มัยใด ? ๔) ทำบุญเปิดศพก่อนทำพิธีฌาปนกิจ และวงด้วย ก. ก่อนพุทธกาล ข. พทุ ธกาล สายสญิ จน์ ค. หลงั พุทธกาล ง. ปัจจบุ นั กาล _____________ ๒. พระสูตรใด ทีพ่ ระพทุ ธเจ้าให้พระอานนทส์ วดในเมืองไพ ๑. สตั ตมวาร คือการบำเพ็ญกศุ ลแก่ผู้ตายครบกำหนดกีว่ นั ? สาลี ? ก. ๗ วนั ข. ๕๐ วัน ก. มงคลสตู ร ข. รัตนสูตร ค. ๑๐๐ วัน ง. ๑ ปี ค. เมตตสูตร ง. วัมมิกสตู ร งานทำบญุ อฐั ิ บทท่ี ๓ พธิ ีสวดพระพุทธมนต์ งานทำบุญอัฐิ หมายถึง การทำบุญหลังจากเผาศพแล้ว นยิ มทำกนั อยู่ ๓ ลักษณะ คอื พธิ ีสวดพระพุทธมนต์ ๑) ทำบญุ ฉลองอฐั ิทน่ี ำมาไวท้ บี่ ้านหรือทีว่ ัด พิธีสวดพระพุทธมนต์ หมายถึง การที่พระสงฆ์จำนวน ๒) ทำบุญ ๗ วัน หลังจากเผาศพ หนึ่งรวมกันสวดมนต์ในการทำบุญงานอวมงคล ไม่ต้องตั้ง บาตรนำ้ มนต์ งานอวมงคลแบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท คือ ๓) ทำบญุ ให้ผ้ตู ายครบรอบ ๑ ปี ๑) งานทำบญุ หนา้ ศพ _____________ ๒) งานทำบุญอฐั ิ ๑. พธิ ีสามหาบ จะทำกันในวนั ใด ? _____________ ก. วนั รดน้ำศพ ข. วันเผาศพ ค. วนั เกบ็ อัฐิ ง. วนั ทำบุญฉลองอัฐิ

๓๕ พิธีสวดมาตกิ า พธิ ที อดผา้ ปา่ พิธีสวดมาติกา หมายถึง การสวดบทมาติกาของพระ ผ้าป่า หรือผ้าบังสุกุล คือ ผ้าที่เปื้อนฝุ่นไม่มีเจ้าของหวง อภิธรรม ๗ คัมภีร์ หรือเรียกว่า “สัตตัปปกรณาภิธรรม” ซึ่ง มีการบงั สุกลุ เปน็ พิธสี ดุ ท้าย เป็นประเพณนี ิยมจดั ให้พระสงฆ์ แหน ทงิ้ อย่ตู ามปา่ ช้าบ้าง ตามถนนบ้าง และแขวนอยู่ตามกิ่ง สวดในงานทำบญุ หน้าศพ มี ๒ ประเภท คือ ไมบ้ า้ ง หรอื ผ้ทู ีเ่ อาอุทิศวางไว้แทบเท้า เรียกวา่ “ผ้าป่า” ๑) สวดในงานหลวง เรยี กวา่ “สดับปกรณ”์ ๒) สวดในงานราษฎร์ธรรมดาทั่วไป เรียกว่า “สวด _____________ มาติกา” ๑. ข้อใดคือลักษณะของผ้าบงั สุกุลจวี ร ? ก. ผ้าท่เี ขาตากไว้ ข. ผ้าทเ่ี ขาลืมเกบ็ ค. ผา้ ที่เขาถวาย ง. ผ้าทเ่ี ขาท้งิ _____________ ๒. ผ้าป่าที่ชาวบา้ นแถบริมคลองนิยมทำคือผ้าป่าชนิดใด ? ๑. สดบั ปกรณ์ หมายถงึ การฟังสวดอะไร ? ก. ผ้าป่าโยง ข. ผา้ ป่าหาง ก. สวดพระอภธิ รรม ข. สวดมาตกิ า ค. ผา้ ป่าสามัคคี ง. ผ้าป่าชลมารค พิธีถวายผา้ กฐนิ ค. สวดบังสกุ ลุ ง. สวดเจด็ ตำนาน ๒. สวดมาตกิ าบงั สุกลุ ในงานพระราชพิธีเรียกว่าอยา่ งไร ? ผ้ากฐิน คือ ผ้าที่พระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้พระภิกษุผู้ ก. สวดแจง ข. สดบั ปกรณ์ อย่จู ำพรรษาครบ ๓ เดอื น แลว้ รับมานุ่งห่มได้ เปน็ ผา้ ที่ถวาย ค. สวดมาตกิ า ง. สวดพระอภธิ รรม ตามกาล จะถวายทั่วไปเหมือนกับผ้าอย่างอื่นไม่ได้ กำหนด บทท่ี ๔ เทศกาลสำคัญทางพระพทุ ธศาสนา ระยะเวลาไว้เพียง ๑ เดือน ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ พธิ ีลอยกระทง ไปจนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ เรียกว่า “กาลกฐิน หรือ พิธีลอยกระทง คือ การเอาดอกไม้ธูปเทียนใส่ในกระทง เทศกาลทอดกฐนิ ” แล้วจดุ ธปู เทยี นในกระทง ลอยไปในน้ำเพ่ือบชู ารอยพระบาท _____________ ๑. กฐิน มคี วามหมายตรงกับข้อใด ? ของพระพุทธองค์ ซ่งึ ประดษิ ฐานอยู่ทีร่ ิมฝั่งแม่น้ำนัมมทา ใน ก. ไม้กระถนิ ข. ไมส้ ะดงึ ประเทศไทยมีพิธีลอยกระทงมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย นิยม ค. ไม้สะดอื ง. ไม้สะเดา ลอยกระทงในวนั ข้ึน ๑๕ คำ่ เดอื น ๑๒ ๒. การทอดกฐิน จัดเปน็ ทานประเภทใด ? _____________ ๑. ลอยกระทงตามประทปี ทำเพื่อบชู าสิ่งใด ? ก. กาลทาน ข. อาคนั ตุกทาน ก. รอยพระพทุ ธบาท ข. แม่พระคงคา ค. ปาฏบิ คุ ลิกทาน ง. วิหารทาน ค. บรรพบุรษุ ง. ข้อ ก และ ข ถกู บทท่ี ๕ ประเพณสี ำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา ๒. เทศกาลลอยกระทง ตรงกบั วันเพ็ญเดอื นใด ? พิธีบรรพชาสามเณร การบวชจะมี ๒ ลักษณะ ได้แก่ การบวชเป็นสามเณร ก. เดอื น ๓ ข. เดือน ๖ เรียกว่า \"บรรพชา\" และการบวชเป็นพระภิกษุ เรียกว่า ค. เดอื น ๘ ง. เดือน ๑๒ \"อุปสมบท\"ต้องรู้เดียงสา คือมีอายุตั้งแต่ ๗ ปีขึ้นไป ส่วนผู้ อปุ สมบทต้องอายตุ งั้ แต่ ๒๐ ปขี ึน้ ไป _____________

๓๖ ๑. สามเณรองค์แรกในพระพทุ ธศาสนาคอื ใคร ? ก. สามเณรราหลุ ข. สามเณรบัณฑติ ค. สามเณรสานุ ง. สามเณรสงั กจิ จะ ๒. ผจู้ ะบวชเปน็ พระภิกษุ ตอ้ งมอี ายคุ รบกป่ี บี ริบรู ณ์ ? ก. ๑๗ ปี ข. ๑๘ ปี ค. ๑๙ ปี ง. ๒๐ ปี พธิ ีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ การอุปสมบท คอื การบวชเปน็ พระภิกษุ มี ๓ วธิ ี ๑) เอหภิ ิกขุอปุ สัมปทา หมายถงึ การบวชด้วยพระวาจา ของพระพุทธเจา้ วา่ “จงเปน็ ภกิ ษมุ าเกดิ ” ๒) ติสรณคมนูปสัมปทา หมายถึง การบวชด้วยการถึง ซง่ึ ท่พี ่งึ ท่ีระลึก ๓ ประการ คอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ๓) ญตั ตจิ ตตุ ถกมั มอุปสมั ปทา หมายถึง การบวชดว้ ยคำ ประกาศย้ำ ๓ ครง้ั _____________

๓๗ ๒.๔ แนวขอ้ สอบธรรมศกึ ษาช้ันโท วชิ าอุโบสถศลี ๕. อโุ บสถในพระพุทธศาสนา ทรงบญั ญตั ไิ ว้กี่สกิ ขาบท ? บทท่ี ๑ วา่ ด้วยอุโบสถ ก. ๕ สกิ ขาบท ข. ๘ สกิ ขาบท ความหมายของอโุ บสถ ค. ๑๐ สกิ ขาบท ง. ๑๒ สกิ ขาบท อุโบสถ แปลวา่ การเขา้ จำ, ศีล แปลว่า ปกติ หรือข้อวัตร ๖. ข้อใด กลา่ วถึงอโุ บสถศลี ไดถ้ กู ต้อง ? ที่ต้องปฏบิ ัติ ก. กนิ มงั สวริ ตั ิ ข. ไม่กนิ เนื้อสตั วใ์ หญ่ อุโบสถศีล หมายถึง ระเบียบข้อวัตรที่ต้องปฏิบัติในการ เข้าอยู่จำ คือ ศีลที่ต้องสมาทานรักษาในวันอุโบสถ ซึ่งเป็น ค. งดอาหารเย็น ง. ถกู ทุกขอ้ อุบายขัดเกลากิเลสอย่างหยาบให้เบาบาง และเป็นทางแห่ง ความสงบระงับ อันเป็นความสุขอย่างสูงสุดใน ประเภทของอุโบสถศลี พระพุทธศาสนา อุโบสถศลี มี ๓ ประเภท คือ อโุ บสถมี ๒ อย่าง ๑) ปกตอิ ุโบสถ ได้แก่ อุโบสถทรี่ กั ษากันตามปกติ เฉพาะ ๑) อุโบสถนอกพระพุทธศาสนา ได้แก่ การเข้าจำด้วย วันหนึ่งคืนหนึ่ง มีเดือนละ ๔ วัน คือวันขึ้น ๘ ค่ำ หรือ ๑๕ การงดอาหาร ต้ังแต่เทีย่ งวันไปแลว้ ในวันท่กี ำหนดไว้ ทุกคน คำ่ วันแรม ๘ คำ่ หรอื ๑๕ ค่ำ เขา้ จำอโุ บสถเดือนละ ๖ วนั ๒) ปฏิชาครอุโบสถ ได้แก่ อุโบสถที่รักษาเป็นพิเศษกว่า ๒) อุโบสถในพระพุทธศาสนา ได้แก่ อุโบสถที่เป็นพุทธ ปกติ คอื รกั ษาคราวละ ๓ วัน คอื วนั รบั วนั รกั ษา และวันส่ง บัญญัติ อันประกอบด้วยสรณคมน์และองค์ ๘ มี ปาณาติปา เช่น จะรักษาอุโบสถวันแรม ๘ ค่ำ ต้องรับวันแรม ๗ ค่ำ ตา เวระมะณี เป็นต้น เหมือนคำที่กล่าวไว้ในอรรถกถากูฏ รักษาวนั แรม ๘ ค่ำ วนั ส่งแรม ๙ ค่ำ รวมแลว้ ๑ เดอื น รกั ษา ทนั ตสตู รว่า ศลี ๘ มอี านิสงสม์ ากกว่าสรณคมน์ เพราะต้ังอยู่ ๑๒ วัน ในสรณคมนแ์ ลว้ จงึ รกั ษาศีล ๓) ปาฏิหาริยอุโบสถ ได้แก่ อุโบสถที่รักษาตลอด ๔ เดือนในฤดูฝน คือตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ จนถึงวันขึ้น ๑๕ คำ่ กลางเดือน ๑๒ _____________ _____________ ๑. อุโบสถศีล บญั ญตั ิขึ้นสำหรับใคร ? ๑. อโุ บสถประเภทใด คนนยิ มสมาทานรักษาในวันพระ ? ก. ภิกษุ ข. ภิกษุณี ก. ปฏชิ าครอุโบสถ ข. ปกตอิ โุ บสถ ค. คนท่ัวไป ง. อุบาสก อุบาสิกา ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ ง. ถูกทกุ ข้อ ๒. กริ ิยาเชน่ ไร เรยี กว่ารักษาอโุ บสถศีล ? ๒. อุโบสถประเภทใด กำหนดใหร้ ักษาวนั หนง่ึ คืนหนึ่ง ? ก. ถือศีลกินเจ ข. ปดิ วาจาไมส่ นทนา ก. ปกตอิ โุ บสถ ข. ปฏิชาครอโุ บสถ ค. งดเว้นข้อห้าม ง. งดเหล้าเข้าพรรษา ค. ปาฏิหาริยอโุ บสถ ง. นพิ ัทธอุโบสถ ๓. การถืออโุ บสถนอกพุทธกาล เน้นวิธรี ักษาในเร่อื งใด ? ๓. อโุ บสถประเภทใด กำหนดใหร้ กั ษาคราวละ ๓ วนั ? ก. อดอาหาร ข. ถือสรณคมน์ ก. โคปาลกอโุ บสถ ข. ปฏิชาครอโุ บสถ ค. ถอื ศีล ๘ ง. รกั ษาตามกาล ค. อริยอุโบสถ ง. นพิ ทั ธอุโบสถ ๔. ขอ้ ใด ไมเ่ กย่ี วข้องกับอโุ บสถนอกพทุ ธกาล ? ๔. นพิ ัทธอุโบสถ มชี ่อื เรยี กอีกอยา่ งหนึ่งวา่ อะไร ? ก. งดอาหาร ข. บำเพญ็ ตบะ ก. ปาฏิหารยิ อโุ บสถ ข. โคปาลกอโุ บสถ ค. สรณคมน์ ง. ถอื ตามกาล ค. อริยอโุ บสถ ง. นคิ คณั ฐอโุ บสถ

๓๘ ๕. อุโบสถประเภทใด กำหนดให้รักษาไดน้ านถึง ๔ เดอื น ? ๒) เพราะทำร้ายพระพทุ ธเจ้า ๓) เพราะหันไปนับถือศาสนาอื่น การขาดสรณคมน์ ก. โคปาลกอุโบสถ ข. ปาฏิหารยิ อโุ บสถ เพราะหนั ไปนับถือศาสนาอ่ืน แมไ้ ม่มโี ทษในทุคติ แต่เป็นคน ที่น่าตำหนใิ นปัจจุบัน ค. ปกตอิ โุ บสถ ง. อรยิ อโุ บสถ สรณคมนเ์ ศรา้ หมอง บุคคลผู้มสี รณคมน์เศรา้ หมองเพราะเหตุ ๔ ประการ คอื บทท่ี ๒ วา่ ดว้ ยอุโบสถศีล ๑) ความไม่รู้ คือ ไม่ศึกษาเล่าเรียนพระพุทธศาสนา แต่ คิดเอาเอง ปฏบิ ตั เิ อาเอง แลว้ นำไปสง่ั สอนผู้อน่ื รัตนตรัย แปลว่า แก้ว ๓ ประการ คือ พระพุทธ พระ ๒) ความรู้ผิด คือ เรียนพระปริยัติธรรมแต่ไม่เชื่อ ธรรม และพระสงฆ์ บคุ คลท่ีจะนับถอื พระพุทธศาสนาน้ัน จะ พระไตรปิฎกอรรถกถา ตั้งตัวเองเป็นศาสดาตีความเอา เข้ามาในฐานะเป็นภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ล้วนต้อง ตามใจชอบ เขา้ มาทางพระรัตนตรยั และต้องเปลง่ วาจาวา่ ๓) ความสงสัย คอื สงสยั ว่าพระพทุ ธเจ้า พระธรรม และ พระสงฆ์ มีจรงิ หรือเปล่า ทำบุญได้บุญจรงิ หรือเปล่า ทำบาป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, สังฆัง แล้วไดบ้ าปจริงหรอื เปล่า เปน็ ต้น สะระณงั คัจฉามิ, ๔) ความไม่เอื้อเฟื้อ คือ ไม่ประพฤติเอื้อเฟื้อต่อพระ เพราะฉะนั้นพระรัตนตรัย จึงเป็นที่พึ่งที่ระลึกอันสูงสุด รัตนตรัยด้วยกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ที่ ของชาวพุทธทุกคน ประกอบดว้ ยเมตตา ความหมายของพระรตั นตรยั ท้ัง ๔ ประการนแ้ี ม้สรณคมนไ์ ม่ขาดก็ทำใหส้ รณคมน์เศร้า ๑) พุทธะ หมายถึง ผู้รู้ คือ ทรงสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม ผู้ต่ืน หมอง คือ ทรงปลุกให้ผู้อื่นตื่นจากความหลับด้วยอำนาจกิเลส ผู้ เบิกบาน คือ เป็นผู้รู้แล้วและยังสามารถกำจัดกิเลสให้สิ้นไป _____________ จากขันธสันดานของตนจนอิ่มเอิบเบิกบานในธรรมที่ได้ตรัสรู้ นั้น ๑. คำวา่ ธมฺมํ สรณํ คจฉฺ ามิ กล่าวถึงพระรัตนตรยั ใด ? ๒) ธัมมะ หมายถงึ สภาพทีท่ รงไว้ คือ ทรงรักษาผู้ปฏิบัติ ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม ตามไว้ไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว หรือโดยสูงสุดได้แก่มรรคผลและ นพิ พาน ค. พระสงฆ์ ง. ถกู ทกุ ข้อ ๓) สงั ฆะ หมายถงึ หมหู่ รอื คณะ เปน็ ช่ือของหม่หู รอื คณะ ๒. คำว่า พุทธะ มีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด ? ของบคุ คลผูม้ ีธรรมเป็นเครือ่ งอยเู่ สมอกัน คือ ทฏิ ฐแิ ละศีล ความหมายของสรณคมน์ ก. ผู้รู้แจ้งโลก ข. ผ้อู ดทน สรณคมน์ หมายถงึ การถงึ พระรัตนตรยั ว่าเปน็ สรณะ คือ ค. ผสู้ ิ้นกเิ ลส ง. ผูต้ รัสรู้ มใี จทเ่ี คารพเลื่อมใสในพระรัตนตรัย จนสามารถทำใจให้เป็น สมาธิ ซึ่งนำไปสู่การกำจดั กเิ ลสภายในของตัวเอง ๓. ข้อใด ไมใ่ ช่สาเหตุของการขาดสรณคมน์ ? การขาดสรณคมน์ การขาดสรณคมน์มีเพราะเหตุ ๓ ประการ ก. ความตาย ข. ทำร้ายพระศาสดา ๑) เพราะความตาย การขาดสรณคมน์ เพราะความตาย ค. ความเมา ง. นับถือศาสดาอื่น เป็นการขาดที่ไมม่ โี ทษ คือไม่ทำให้ไปส่ทู ุคติภมู ิ ๔. คำว่า สรณะ หมายถงึ อะไร ? ก. ไตรลกั ษณ์ ข. ไตรรตั น์ ค. ไตรสกิ ขา ง. ไตรมาส

๓๙ ๕. ขอ้ ใด ไม่มโี ทษเพราะขาดสรณคมน์ ? ๓) จติ คิดจะฆา่ ๔) พยายามฆ่า ก. ตาย ข. ทำร้ายพระศาสดา ๕) สัตว์ตายเพราะความพยายามนน้ั ถา้ ครบท้งั ๕ ขอ้ ศีลขาด ถา้ ไมค่ รบ ๕ ข้อ ศลี ดา่ งพรอ้ ย ค. นบั ถือศาสดาอนื่ ง. ถูกทกุ ขอ้ อานิสงส์ : รา่ งกายสมบูรณ์ไม่พกิ าร มีโรคน้อย อายุยืน ๖. คำวา่ รักษาผปู้ ฏบิ ตั ิไมใ่ ห้ตกไปสูท่ ชี่ ว่ั เปน็ คณุ พระ รัตนตรัยใด ? ก. พระพทุ ธ ข. พระธรรม _____________ ค. พระสงฆ์ ง. ไมม่ ีข้อถูก ๑. อุโบสถศีลขอ้ ท่ี ๑ บัญญตั ิข้นึ เพื่อให้งดเวน้ เรื่องใด ? ๗. คำวา่ สามจี ิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ กล่าวเพ่ือระลึก ก. ฆ่าสตั ว์ ข. ลกั ทรัพย์ ถึงพระรัตนตรยั ใด ? ค. เสพกาม ง. ดื่มสรุ า ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม ๒. ขอ้ ใด ทำใหก้ ารรกั ษาอุโบสถศลี ข้อท่ี ๑ ขาด ? ค. พระสงฆ์ ง. ถูกทุกขอ้ ก. สัตว์ตาย ข. ลกั ของมาได้ ๘. การติเตยี นพระรตั นตรัยทำใหไ้ ตรสรณคมน์เปน็ อย่างไร ? ค. ยินดีในการเสพ ง. คนอน่ื เข้าใจคำพูด ก. บกพรอ่ ง ข. เศร้าหมอง ๓. คำสงั่ ใด เปน็ องค์ประกอบการล่วงละเมิดอโุ บสถศีล ค. ด่างพรอ้ ย ง. ขาดลงทันที ข้อที่ ๑ ? ๙. การขาดสรณคมน์ ยอ่ มไม่เกดิ ขึ้นในบุคคลประเภทใด ? ก. สง่ั ใหพ้ ดู ปด ข. สงั่ ให้ลัก ก. พระโสดาบัน ข. อบุ าสก ค. สงั่ ใหป้ ล้น ง. ส่งั ใหฆ้ ่า ค. อุบาสิกา ง. บคุ คลทัว่ ไป ๔. ข้อใด เป็นโทษจากการล่วงละเมดิ อุโบสถศลี ข้อท่ี ๑ ? อธิบายอุโบสถศลี ๘ สิกขาบท ก. อายสุ น้ั ข. เสยี ทรัพย์ ศีลขอ้ ท่ี ๑ ปาณาตปิ าตา เวรมณี เว้นจากการฆ่าสัตว์ ค. เสียสติ ง. ขาดความเชื่อถอื จุดมุ่งหมาย : เพื่อให้มีเมตตาจิตในมนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย ป้องกนั การทำลายชวี ิตผูอ้ น่ื ศีลข้อที่ ๒ อทนิ นาทานา เวรมณี เวน้ การลักทรัพย์ ขอ้ ห้าม ๓ ประการ คอื จุดมุ่งหมาย : เพื่อป้องกันการเบียดเบียนกันทางทรัพย์สิน ๑) หา้ มฆ่า ไมว่ ่าฆา่ เอง หรือใช้คนอื่นฆ่า ๒) ห้ามทำร้ายร่างกาย มี ๓ ลักษณะ คือ ทำให้พิการ ทำ และให้เล้ียงชีพในทางสุจรติ ให้เสียโฉม ทำใหบ้ าดเจบ็ ๓) หา้ มทรกรรม คอื ทำการทรมาน มี ๕ ลกั ษณะ คือ ใช้ ขอ้ ห้าม ๓ ประการ คือ งานหนักเกินกำลัง กักขังให้อดอยาก นำไปด้วยวิธีทรมาน เลน่ สนุกแกลง้ สัตวเ์ ล่น ผจญสตั วน์ ำสตั ว์มาสูก้ ัน ๑) โจรกรรม คือ ห้ามทำเยี่ยงโจร ๑๔ อย่าง คือ ลัก ฉก องค์แห่งศลี ขอ้ ที่ ๑ : ๑) สตั ว์มีชวี ติ กรรโชก ปล้น ตู่ ฉ้อ หลอก ลวง ปลอม ตระบัด เบียดบัง ๒) รวู้ ่าสตั ว์มีชวี ติ สบั เปล่ียน ลกั ลอบ ยักยอก ๒) อนุโลมโจรกรรม ทำตามโจร ไดแ้ ก่ สมโจร, ปอกลอก , รบั สนิ บน ๓) ฉายาโจรกรรม ทำคล้ายโจร ทำโจรกรรม ถือว่า ศีลขาด ทำอนุโลมโจรกรรม ฉายา โจรกรรม ถอื วา่ ศลี ด่างพร้อย

๔๐ องค์แหง่ ศลี ข้อท่ี ๒ : เสพเมถุน หมายถึง การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างชายกับ ๑) ทรัพยม์ ีเจ้าของ หญงิ ชายกบั ชาย หรือหญิงกับหญิง เพราะการเสพเมถุนเป็น ๒) รวู้ ่าของมเี จ้าของ เหตุให้ผู้เสพหมกมุ่นอยู่ในอำนาจแห่งกามราคะ ไม่สามารถ ๓) จติ คิดจะลกั จะประพฤติตนให้ประเสริฐอย่างพรหมได้ ทำให้จิตฟุ้งซ่าน ๔) พยายามลกั หลงระเริงอยใู่ นรูป เสยี ง กลนิ่ รส และสัมผสั ยง่ิ ๆ ขึ้นไป ๕) ไดข้ องน้ันมา ข้อห้าม : ห้ามละเมิดอย่างเด็ดขาดกับชายและหญิงทุก ถา้ ครบทั้ง ๕ ขอ้ ศีลขาด ถา้ ไม่ครบ ๕ ขอ้ ศีลดา่ งพร้อย ประเภท องคแ์ ห่งศลี ขอ้ ที่ ๓ : อานิสงส์ : มีทรพั ย์มาก, สมบัติไมฉ่ บิ หายเพราะภยั ตา่ งๆ ๑) บุคคลตอ้ งหา้ ม _____________ ๒) จิตคิดจะเสพกบั บุคคลตอ้ งหา้ ม ๑. อุโบสถศีลขอ้ ที่ ๒ บญั ญัติขนึ้ เพอ่ื ให้งดเว้นเร่อื งใด ? ๓) พยายามเสพ ๔) อวัยวะเคร่ืองเสพจรดถงึ กัน ก. ฆา่ สัตว์ ข. กินอาหารคำ่ ถา้ ครบทั้ง ๔ ขอ้ ศลี ขาด ถา้ ไม่ครบ ๔ ขอ้ ศลี ดา่ งพรอ้ ย อานิสงส์ : ไมม่ ีศัตรูเบยี ดเบยี น, ไมเ่ กิดเปน็ หญิง, กะเทย ค. รอ้ งเพลง ง. ลักทรพั ย์ ๒. คำสัง่ ใด เปน็ การลว่ งละเมิดอโุ บสถศีลขอ้ ที่ ๒ ? ก. สั่งใหพ้ ูดปด ข. ส่ังให้ลกั ขโมย ค. สัง่ ใหท้ ำรา้ ย ง. สัง่ ให้ฆ่า _____________ ๑. อุโบสถศีลขอ้ ที่ ๓ บัญญัติข้ึนเพ่อื ใหง้ ดเว้นเรอื่ งใด ? ๓. ขอ้ ใด ทำให้การรกั ษาอโุ บสถศลี ข้อที่ ๒ ขาด ? ก. สัตวต์ าย ข. แต่งกายสวยงาม ก. เสพกาม ข. เตน้ รำ ค. กลนื อาหารลงคอ ง. ลักของมาได้ ค. รอ้ งเพลง ง. แตง่ ตวั ๔. ขอ้ ใด เปน็ โทษจากการลว่ งละเมดิ อุโบสถศีลข้อที่ ๒ ? ๒. ข้อใด ทำให้การรกั ษาอโุ บสถศีลขอ้ ท่ี ๓ ขาด ? ก. อายสุ นั้ ข. สขุ ภาพไมแ่ ขง็ แรง ก. คนอนื่ เข้าใจคำพดู ข. สัตว์ตาย ค. เสอื่ มทรพั ย์ ง. เกดิ โรคภยั ค. ยินดใี นการเสพ ง. ลักของมาได้ ๕. อุโบสถศีลขอ้ ท่ี ๒ สอนให้เห็นความสำคญั เรอื่ งใด ? ๓. อุโบสถศีลขอ้ ท่ี ๓ มุง่ ใหค้ นละกิเลสใด ? ก. ทรพั ยส์ ิน ข. ชวี ิต ก. มานะ ข. ราคะ ค. ความอดทน ง. ความซื่อสตั ย์ ค. โทสะ ง. ทิฏฐิ ศีลข้อท่ี ๓ อพรัหมจริยา เวรมณี เว้นจากการเสพเมถนุ ๔. อสทั ธรรมอนั เปน็ ข้าศกึ แก่พรหมจรรย์ คอื ข้อใด ? อันเป็นขา้ ศกึ แกก่ ารประพฤตพิ รหมจรรย์ ก. รว่ มประเวณี ข. ความตาย จุดมุ่งหมาย : ป้องกันไม่ให้หมกมุ่นอยู่ในอำนาจแห่งกาม ค. ความแก่ ง. ความพลดั พราก ราคะ สามารถจะประพฤติตนให้ประเสริฐอย่างพรหมได้ ทำ ศีลขอ้ ที่ ๔ มสุ าวาทา เวรมณี เว้นจากการพูดปด ให้จิตไม่ฟุ้งซ่าน หลงระเริงอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส และ จุดมุ่งหมาย : เพื่อป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ใส่ตน สัมผัสย่งิ ๆ ขึน้ ไป ทำลายผลประโยชน์ของผู้อื่นด้วยคำพูดไม่จริง ช่วยส่งเสริม ให้มีความซือ่ สตั ย์ ซ่ือตรงต่อกัน

๔๑ ขอ้ ห้าม ๓ ประการ คือ ศีลข้อท่ี ๕ สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี ๑) มสุ า คอื การโกหก เชน่ ปด, หลอก, กลับคำ, พูดเกิน เวน้ จากการดืม่ สรุ า เมรยั และเสพของมึนเมา จุดมุ่งหมาย : เพื่อป้องกันไม่ให้ทำลายสติสัมปชัญญะ จริง, พูดคลุมเครือ, ยุยงให้แตกกัน, พูดยอ, ทนสาบาน, พูด สุขภาพ และความเสียหายอันจะเกิดจากการดื่มสุราและ อำความ, อวดอ้างวชิ าใหเ้ ขาเชอื่ เมรัย ขอ้ หา้ ม : หา้ มดม่ื นำ้ เมาและห้ามเสพส่งิ เสพตดิ ให้โทษ ๒) อนุโลมมุสา พูดเรื่องไม่จริง ที่ไม่ใช่เพื่อโกหก แต่มุ่ง ให้เขาเจบ็ ใจ เช่น สบั ปลับ พดู กลบั กลอกไปมา, พูดประชด ๑) น้ำเมา มี ๒ ชนดิ คือ (๑) สรุ า (นำ้ เมาทก่ี ล่ันแล้ว) ๓) ปฏิสสวะ รับคำแล้วไม่ทำตาม เช่น ผิดสัญญา, คืนคำ (๒) เมรัย (น้ำเมาที่ยังไม่ได้กลั่น เพียงแต่ดองไว้ เช่น คอื ว่าจะใหแ้ ล้วไมใ่ ห้ องคแ์ ห่งศีลขอ้ ที่ ๔ : สาโท, กระแช)่ ๒) สิ่งเสพติดให้โทษ เช่น ฝิ่น, กัญชา, มอร์ฟีน, เฮโรอีน, ๑) เรอ่ื งไมจ่ ริง ๒) จติ คดิ จะพดู ให้ผิดจากความจรงิ ยาบ้า, ยาอ,ี ยาไอซ์ เปน็ ต้น ๓) พยายามพดู ออกไป องคแ์ หง่ ศีลขอ้ ที่ ๕ : ๔) ผู้ฟังเข้าใจเนอื้ ความนน้ั ถา้ ครบทั้ง ๔ ขอ้ ศีลขาด ถ้าไม่ครบ ๔ ขอ้ ศีลด่างพร้อย ๑) เปน็ นำ้ เมาหรือส่ิงเสพติด อานิสงส์ : อินทรีย์ ๕ ผ่องใส, มีฟันเรียบดี, กลิ่นปากหอม, ๒) จิตคดิ จะด่ืมหรอื เสพ วาจาศักด์สิ ทิ ธิ์ เปน็ ทเ่ี ช่ือถือ, ไม่พูดติดอา่ ง, ไมเ่ ป็นใบ้ ๓) พยายามด่มื หรือเสพ ๔) ด่ืมหรือเสพเขา้ สรู่ า่ งกาย _____________ ถา้ ครบทัง้ ๔ ข้อ ศลี ขาด ถ้าไม่ครบ ๔ ข้อ ศลี ดา่ งพรอ้ ย ๑. อุโบสถศีลข้อท่ี ๔ บัญญัติขนึ้ เพอ่ื ให้งดเวน้ เรอ่ื งใด ? อานิสงส์ : มีสติทุกเมื่อ ระลึกถึงสิ่งต่างๆ ได้รวดเร็ว, ไม่ เป็นบ้า, มีปญั ญามาก, คนนับถอื เช่อื ถอ้ ยคำ ก. ฆา่ สัตว์ ข. อาหารเย็น ค. กล่าวเทจ็ ง. ลักทรพั ย์ ๒. อโุ บสถศีลขอ้ ที่ ๔ สอนใหเ้ หน็ ความสำคัญเรื่องใด ? ก. ความซือ่ สตั ย์ ข. ความอดทน _____________ ๑. ข้อใด ผรู้ ักษาศลี ๕ และอุโบสถศีลงดเว้นเหมอื นกนั ? ค. ชวี ติ ง. ทรัพยส์ ิน ๓. ขอ้ ใด เปน็ โทษจากการลว่ งละเมิดอุโบสถศลี ข้อที่ ๔ ? ก. งดแตง่ ตัว ข. งดรอ้ งเพลง ก. เสยี โฉม ข. เสยี ทรพั ย์ ค. งดเตน้ รำ ง. งดดืม่ สุรา ค. ขาดความเช่อื ถือ ง. ก่อศตั รู ๒. ขอ้ ใด ทำใหอ้ ุโบสถศีลขอ้ ที่ ๕ ขาด ? ๔. ผู้รักษาอุโบสถศลี ไมค่ วรกลา่ ววาจาเช่นไร ? ก. ดืม่ สุรา ข. ทำให้สตั ว์ตาย ก. ติฉนิ ข. นนิ ทา ค. เสพกาม ง. ลักทรัพย์ ค. ว่ารา้ ย ง. ถูกทุกข้อ ๓. ผูส้ มาทานรักษาอุโบสถศลี ตอ้ งงดเครื่องดื่มประเภทใด ? ก. น้ำชา ข. กาแฟ ค. สุรา ง. น้ำออ้ ย

๔๒ ศีลขอ้ ที่ ๖ วกิ าลโภชนา เวรมณี ศีลข้อที่ ๗ นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนะมาลาคันธะ เว้นจากการบรโิ ภคอาหารในยามวกิ าล วิเลปะนะธาระณะ มัณฑะนะวภิ สู ะนัฏฐานา เวระมะณี จุดมุ่งหมาย : เพื่อให้เป็นผู้รู้จักประมาณในการบริโภค อาหาร ไม่มากหรือน้อยจนเกินไป เพื่อป้องกันกามกำเริบ เว้นจากการฟ้อนรำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการ และเพื่อตดั ความกงั วลในเรือ่ งอาหาร เล่นอันเป็นข้าศึกต่อกุศล และเว้นจากการลูบไล้ ทัดทรง ประดับตกแต่งรา่ งกายดว้ ยระเบียบดอกไม้ของหอม เคร่ือง อาหาร หมายถึง สิ่งที่เป็นของเคี้ยวของบริโภคและของ ยอ้ ม เครื่องทา ดื่มซึ่งเป็นอาหารทุกชนิด เช่น ข้าว ขนม ปลา เนื้อ ข้าวต้ม จุดมุ่งหมาย : เพื่อป้องกันไม่ให้กามกำเริบ และเพื่อไม่ให้ โจก๊ เป็นต้น เสียเวลาไปกับสิ่งที่ไม่มีประโยชน์ เอาเวลาไปบำเพ็ญเพียร ดกี วา่ วิกาล หมายถึง เวลาตั้งแต่เที่ยงวันไปจนถึงรุ่งอรุณของ องค์แหง่ นัจจคีตะ มี ๓ ประการ คอื วันใหม่ จะบริโภคอาหารให้ล่วงลำคอไปไม่ได้ จะเป็นเหตุให้ ศลี ขาด ยกเว้นยาหรือว่าปานะทพี่ ระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้ ๑) สง่ิ ท่ีดหู รอื ฟงั มีการฟอ้ นรำ ขบั ร้องเปน็ ตน้ บริโภคได้ ๒) ไปเพ่อื จะดูหรือฟงั สิ่งนัน้ องคแ์ ห่งศีลข้อท่ี ๖ : ๓) ดูหรอื ฟงั ส่งิ น้นั องคแ์ หง่ มาลาคนั ธะ มี ๓ ประการ ๑) เวลานน้ั เป็นเวลาตงั้ แตเ่ ทีย่ งตรงไปจนถึงกอ่ นอรณุ ขน้ึ ใหม่ ๑) ของนั้นเป็นเครื่องประดับตกแต่งร่างกาย มีดอกไม้ ๒) ของทกี่ ลืนกนิ น้นั เป็นของนับเขา้ ในจำพวกอาหาร และของหอม เปน็ ต้น ๓) พยายามกลืนกินของนนั้ ๔) กลืนกินของนั้นจนล่วงลำคอลงไป ๒) ไม่มีเหตุจำเป็นที่ทรงอนุญาตไว้ เช่น ทายาเพื่อรักษา ถ้าครบท้งั ๔ ขอ้ ศีลขาด โรค เป็นต้น ถ้าไม่ครบ ๔ ขอ้ ศลี ดา่ งพร้อย ๓) ทัดทรง ตกแต่ง ลูบไล้ ของเหล่านั้นด้วยต้องการให้ _____________ สวยงาม ๑. คำว่า วกิ าล ในอโุ บสถศลี ข้อที่ ๖ หมายถึงเวลาใด ? ถ้าทำครบองค์ ตอนใดตอนหนึ่งของศีลข้อที่ ๗ นี้ ศีลก็ ขาดทันที แตถ่ ้าทำไมค่ รบองค์ ศลี ของเราก็ด่างพร้อย ก. เชา้ ข. สาย _____________ ค. กอ่ นเทีย่ งวัน ง. หลงั เทยี่ งวันไปแล้ว ๑. อโุ บสถศลี ข้อที่ ๗ บัญญตั ิขึ้นเพื่อตดั กังวลในเรือ่ งใด ? ๒. อุโบสถศลี ขอ้ ท่ี ๖ บญั ญตั ขิ ้ึนเพ่ือให้งดเว้นเร่ืองใด ? ก. การบรโิ ภค ข. การแตง่ ตัว ก. เสพกาม ข. อาหารเย็น ค. การนงั่ นอน ง. การสนทนา ค. ร้องเพลง ง. เตน้ รำ ๒. ขอ้ ใด เปน็ โทษจากการล่วงละเมิดอุโบสถศลี ข้อที่ ๗ ? ๓. ผ้รู ักษาอโุ บสถศลี ควรบริโภคอาหารในชว่ งเวลาใด ? ก. กอ่ ศตั รู ข. เสยี ทรพั ย์ ก. เช้าถึงเทย่ี ง ข. หลังเที่ยง ค. อายุสน้ั ง. ทำใหย้ นิ ดีในกามคุณ ค. บา่ ยถึงเยน็ ง. กลางคืน

๔๓ ศลี ข้อที่ ๘ อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี ๑. อุโบสถศีลใด เปรยี บไดก้ ับการรักษาอโุ บสถของนักบวช เว้นจากการนง่ั หรอื นอนบนที่นอนสงู หรือทน่ี งั่ ท่นี อนใหญ่ จุดมุ่งหมาย : เพ่ือป้องกันไม่ใหเ้ กิดอนั ตรายแกผ่ ู้ใช้ และเพ่ือ นอกพระพทุ ธศาสนา ? ไม่ใหก้ ามกำเริบ องคแ์ หง่ ศลี ขอ้ ที่ ๘ : ก. ปกตอิ ุโบสถ ข. นิคคณั ฐอุโบสถ ๑) ของนน้ั เปน็ ทนี่ ั่งหรือท่ีนอนอนั สูงหรือใหญ่ ค. อรยิ อโุ บสถ ง. นพิ ัทธอุโบสถ ๒) ตัวเองรวู้ ่าเป็นทน่ี ั่งหรอื ทน่ี อนอนั สูงใหญ่ ๓) น่งั หรอื นอนบนทนี่ ่งั หรือท่ีนอนน้นั ๒. อโุ บสถศีลประเภทใด ผ้สู มาทานรกั ษาไดร้ บั อานิสงส์มาก ถา้ ครบทัง้ ๓ ข้อ ศีลขาด ถา้ ไม่ครบ ๓ ขอ้ ศลี ดา่ งพร้อย ทส่ี ุด ? บทท่ี ๓ วา่ ด้วยอานิสงส์ของอุโบสถ ก. โคปาลกอโุ บสถ ข. นิคคณั ฐอโุ บสถ ๑) โคปาลกอุโบสถ หมายถึง อุโบสถที่อุบาสกอุบาสิกา รักษา มีอาการเหมือนคนเลี้ยงโค คำนึงอย่างนี้ว่า วันนี้ โค ค. อรยิ อโุ บสถ ง. ปฏิชาครอุโบสถ เที่ยวหากินในที่โน้น ๆ ดื่มน้ำในที่โน้น ๆ ทีนี้ พรุ่งนี้โคจัก เที่ยวหากินในที่โน้น ๆ จักดื่มน้ำในที่โน้น ๆ ฉันใด คนรักษา ๓. อโุ บสถศีลประเภทใด มีอาการเหมอื นคนรับจ้างเลีย้ งโค ? อุโบสถบางคนมีใจไปกับความอยาก ใช้วันให้หมดไปด้วย ความอยากน้ัน การรักษาอุโบสถเช่นนี้ย่อมไม่มีผลมาก ไม่มี ก. โคปาลกอโุ บสถ ข. ปฏิชาครอโุ บสถ อานิสงส์มาก ค. ปกติอุโบสถ ง. นพิ ัทธอโุ บสถ ๒) นิคคัณฐอุโบสถ หมายถึง อุโบสถของนักบวชนอก พระพุทธศาสนา ประกาศตนอย่างนี้ว่า ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้อง กับใคร ๆ ในที่ไหน ๆ และความกังวลในส่ิงอะไร ๆ และในที่ ไหน ๆ ก็ไม่มี แตค่ วามจริงไมไ่ ดเ้ ป็นเชน่ นน้ั ๓) อริยอุโบสถ หมายถึง อุโบสถที่อุบาสกอุบาสิการักษา ประเสรฐิ พเิ ศษโดยขอ้ ปฏบิ ัติ ระลึกถงึ อนสุ สติทง้ั ๕ คอื ๑) พทุ ธานสุ สติ ๒) ธมั มานสุ สติ ๓) สังฆานุสสติ ๔) สลี านสุ สติ ๕) เทวตานุสสติ _____________

๔๔

๔๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook