Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักเกณฑ์การเเปลบาลีประโยค ๑-๒ เเละ ป.ธ.๓

หลักเกณฑ์การเเปลบาลีประโยค ๑-๒ เเละ ป.ธ.๓

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-06-11 05:14:49

Description: หลักเกณฑ์การเเปลบาลีประโยค ๑-๒ เเละ ป.ธ.๓

Search

Read the Text Version

a f^r. รวบรวมและเรียบเรียงโดย พระมหาสมคิด จินตามโย www.kalyanamitra.org

คู่มือหลักเกณฑ์การแปลบาลื ประโยค ๑-๒ และ ป.ธ.๓ พระมหาสมคิด จินฺตามโย รวบรวมและเรียบเรียง ใช้เปีนคูมอการเรียนการสอน วิชา บาลีไวยากรณ์ ชั้น ประโยค ๑-๒ และ ป.ธ.๓ โรงพิมพ์เลี่ยงIVยง สงวนลิขสิทธิ๋ www.kalyanamitra.org

สิ'งสู'■งคาควรอนรกษ (1นรโ}^ฬทรรรร$โฬระ^^า ทร {ดาฬทธ'ศว<^ด์0 tf ๆ ฬร: 0'>าน6.ศ'^^^{^ ๙ เ§¥(^(จดเด์นปีu<g^า ๙ (จะศาราคนiri(Umt(r¥ifu ๙ เป็นน(รด<^1^(^(จค<ราค{น ๙ ^คนนารร} ๙ เป็นฬระน!)รานร^('รน^'^^,{น ๙ $!น{น^า$0นา<^น0(^ ๙ 4านารน(ราน^แ^ะ<3านรานฏf ๙ ฬ<^า^เฬนฬ4^ป็(ร ๙ เ^น. พระมหากระจาย 'อธปญใณ www.kalyanamitra.org

คำ นำ การแปลภาษามคธ(บาลี)เป็นไทย เป็นเรื่องยุ่งยากลำบากใจ โดยเฉพาะนักเรียนใหม่ เพราะจำสัพทได้น้อย และยังไม่มีความชำนาญในการเดินรูปประโยค การหาคุ่มีอประกอบการ เรียน จึงเป็นเรื่องจำเป็นลำหรับนักเรียนใหม่ๆ เป็นอย่างมาก ในอันที่จะหาภู่มีอมาใช้ประกอบ การแปลให้ง่ายขึ้น ช้าพเจึาเห็นว่าหนังลีอที่ออกมาส่วนมากจะอธิบายเกี่ยวกับไวยากรณ์เสัองสัน ส่วนหนังลีอคู่มีอหลักเกณฑ์การแปลประโยค ๑-๒ และ ป.ธ.๓ ยังไม่ค่อยมี สัวยเหคนี้เอง เมื่อช้าพเช้าเป็นครูสอนบาลี จึงไสัรู้ความยุ่งยากในการเรียน-การสอน ของครูและนักเรียน เพราะไม่มีหนังลีอที่วางหลักเกณฑ์ดามแนวการเรียน-การสอนเอาไวให้ค้นคว้า ช้าพเช้าจึงไสัอัด ท์าคู่มืรการแปลโดยนำเอาหลักลัมพนธส่วนมากมาประยุกต์ พร้อมทั้งไค้วางหลักเกณฑ์การแปล บางอย่างเอาไว้ ซึ่งไสัเจึยนจากประสบการณ์ที่ไสัสอนมาเป็นเวลานาน เพื่อให้ง่ายและสะดวก ในการใช้ประกอบการเรียน-การสอน หนังลีอคู่มือหลักเกณฑ์การแปลมคธเป็นไทยเล่มนี้ ช้าพเช้าไค้อนุญาตให้โรงพิมพ์ เลี่ยงเชียง นำ ลีขสีทธิ้พิมพ์ออกจำหน่าย ๒ ครั้งที่ผ่านมา เห็นไค้ว่า ครูและนักเรียนด่างไห้ ความสนใจค้องการจนเป็นที่แพร่หลาย ทำ ให้หนังลีอที่อัดพิมพ์ครั้งที่ ๒ หมดลง ทางโรงพิมพ์ ประสงต์จะอัดพิมพ์ขึ้นใหม่ ช้าพเช้าไค้เล็งเห็นความลำกัญในการอัดพิมพ์ครั้งต่อ ๆ ไป เพราะ บาลีมีความพิลีพิลันไนการอัดพิมพ์แด'ละครั้ง ค้องมีมาตรฐานทั้งโรงพิมพ์และคณาจารย์ผู้ตรวจ ทานเป็นสำคัญ โรงพิมพ์เลี่ยงเชียงถอไค้ว่ามีมาดรฐานอัดพิมพ์หนังลีอนักธรรมและบาลีออกมา เป็นอันคับ ๑ เป็นที่ยอมรับของวงการสืกษาคณะสงฆ์ไทย จนพระภิกนุและสามเณรผู้สืกษาร้อัก ไปทั้วประเทศ ช้าพเช้าไค้รู้อักกับคุณถนอมศักดิ้ผู้อยู่ฝ่ายผลีดบาลีนักธรรมมาเป็นเวลานานไค้รับ ความช่วยเหลีอทุกอย่างจากโรงพิมพ์ดวยดเสมอมา จึงขอมอบลีขลีทธคุ่มีอหลักเกณฑ์การแปล บาลีประโยค ๑-๒ และ ป.ธ.๓ ให้คุณถนอมศักดิ้ จงพิพัฒน้ยิ่ง ไค้อัดพิมพ์ดลอดไป อนึ่งในการอัดพิมพ์หนังลีอแด่ละครั้งที่ผ่านมา ไค้รับความร่วมมีอจากคณาจารย์ที่ปรึกษา ทุกรูปด้วยดิเสมอมา คุณความดิอันเกดจากหนังลีอเล่มนี้มีอยู่ ขอบุญกุศลจงมีแก่คณาจารย์ทุกรูป โดยเฉพาะอาจารย์ผู้สอนช้าพเช้า มีพระมหากระจาย อธิปญโพ เป็นค้น ที่ไดให้คำแนะนำ และช่วยเหลอตลอดมา พระมyทสมคิด จินดามใย www.kalyanamitra.org

คู่มือหลักเกณฑ์การแปลบาลี โดย... พระมหาสมคิด จินฺตามโย ISBN ฟ้พพ์'ครงทึ่ ๙ ทุท0สักราช' ไอ๕'๓๙ พ^ร14ฮักษร - ผระHทาฟ้ารวย ฌาณฟ้วโร ป.ซ. ๖ พซ.น. - พระHทาฟ้นยสั ฟ้ทฺซณาโณ ป.ซ. ๙ - พระผทาHงคล นงฺคโล ป.ซ. ๓ - ฟ้านเณรHพตร ฟ้ฃฃว้ญ ป.ซ. ๙ โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง พิมพ์เผยแพร่ทั่วประเทศ โทร. ๐la)/ls)la)0)-ฝฟ้ci)ฟ้, 1ร>1ร)®-©0๕0 โทรสาร www.kalyanamitra.org

สารบัญ ๑ ความรู้เบื้องต้น a: ๑ร: หลักการแปลมคธเป็นไทย ๒๓ หลักการเปิด เติ ศัพท์ ๒ร: หลักการแปลประ:โยค อตฺโถ หลักการแปล ต ปัจจัย ๒๗ ๒๙ หลักการลังเกดรูปประโยค ๓๐ หลักการแปล บทที่มีวิภตติ วจนะเสมอกัน หลักการฃี้นบทประธาน ๓๒ ma: หลักการแปลโครงสร้างวาจก ๓๖ หลักการแปลประโยค กัตนอก-กัมใน mci หลักการแปลรวบถอน ๓๙ ประโยค อนาทร ร:๐ ประโยค ลักขณะ ร:๑ วิธีการแปลประโยค แทรก ร:๗ หลักการแปล วิกติกัดตา ร:c; หลักการแปล อิติ ศัพท์ หลักการแปลประโยค กึ ๕๐ หลักการแปลประโยค กิมงฺคํ ปน ๕๒ หลักการแปล เตล้มภูต 4:๓ 4:๗ หลักการแปล เสยฺยถีทํ ๖© หลักการแปลประโยค อุปมา ๖๒ กิริยาคุมพากยฟิเศษ ๖๓ ๖๕ หลักการแปลประโยคกิริยาปรามาส หลักการแปล สัตตมีวิภัตติ หลักการแปล ลัมภาวนะ หลักการแปล วิเสสลาภี www.kalyanamitra.org

หลักการแปล สเป bb หลักการแปล อนุต. มาน ปัจจัย bd หลักการแปล ต ปัจจัย bcs หลักการแปล ดูนาทิ ปัจจัย ๙๐ หลักการแปล ประโยคกิเยาปธานนย ๗๒ หลักการรวบ ๑๒ ประการ (ท)๓ หลักการเติมเปประโยคต่าง db หลักการแปลพเศษ ๗๙ พิเศษ กิริยาอาขยาต (ร๒ หลักการกำหนด2ปคาถา csr คำ แปลคาถา (Sfr รวม ๒ คาถา ๙0 ประโยคตัวอย่าง ๙๑ ๙(ท หลักการแปล ชื่อว่า ๙a: ๙b หลักการแปล วิวริยะ วิวรณะ ๙๗ , หลักการแปลโดยอรรถ ๙ร วิธืแปลเอก้ตถประโยค ๙๙ วิธีแปลอเนกัตถประโยค ๑๐๑ วิธีแปลลังกรประโยค ๑๐๒ การแปลประโยค ย,ต ๑๐๓ การแปลอรรถกถา ๑๐๖ สำ นวนการแปล ๑๑(ร ข้อควรจำในการแปลภาษามคธ รวบรวมพิเศษ พิเศษหลักล้มพันธ บุรพภาค www.kalyanamitra.org

พระมหาสมคํด เตามใย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการแปลภาษาบาลี การแปล คือ การเปลี่ยนแปลงความหมายจากภาษาหนึ่ง ส่อีกภาษาหนึ่ง พูดง่ายๆ การแปล ก็คือ การถ่ายทอดภาษานั่นเอง การแปลภาษาบาลีจะต้องอาสัยหลักเกณฑ์ ซึ่งเราเรียกว่า ไวยากรณ์ เข้ามาช่วย ความหมายของภาษานนจึงจะคงอยู่ในลักษณะที่สมบูรณ์ ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงขอวางหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับการแปลภาษามคธเป็นไทยไว[ดยลังเขป ดังต่อไปนี้ การแปลภาษาบาลี มี ๓ ประการ คือ ๑. การแปลโดยพยัญชนะ คือ การแปลเรียงไปตามลำดับ โดยไม่เปิดเลขในทิ้งไว้ แปลไปตามความหมายของดัพท์ในภาษาบาลี โดยไม่เพ'งถงความหมายในทางภาษาไทย การ แปลวิธีนี้ จะช่วยให้นักเรียนเข้าไจความหมายที่แทจริงของดัพท์ภาษาบาลีเดิมได้ดี การ แปลชนิดนี้นิยมใช้แปลในเวลาเรียนและสอบสนามหลวง สำ หรับประโยค ๑-๒ ป.ธ.๓ เท่านั้น ๒, การแปลโดยอรรถ คือ การแปลโดยถือเอาใจความของภาษาเป็นหลัก คือ แปล ให้ได้ใจความในภาษาไทยอย่างชัดเจน วิธีนี้จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจความหมายของภาษา และ สามารถเทยบเคียงกันในระหว่างคำพูด การแปลโดยอรรถนี้ สำ หรับประโยค ๑-๒ ป.ธ.๓ จนถืง ป.ธ.๙ ๓. การแปลโดยยกศัพท์ คือ การให้นักเรียนอ่านศัพท์ไปทีละศัพท์ แล้วจึงแปลไป ตามลำดับศัพท์ที่อ่านนั้น และศัพท์ที่ยกขึ้น ดังประโยคว่า สตฺถา ธมฺมํ เทเสติ.(อ่านว่า)สตุลา (แปลว่า) อ.พระศาสดา (อ่านว่า)เทเสติ(แปลว่า)ย่อมแสดง(อ่านว่า) ธมฺมํ(แปลว่า)ซึ่งธรรมฯ ต้องท่าอย่างนี้เสมอไป ถึงแม้จะมี อิติ ศัพท์อยู่ในระหว่างประโยคก็จะต้องเปิด อิดิ ศัพท์ ทิ้งไว้ก่อน แล้วแปลเนี้อความหลัง อิติ ศัพท์ ไปจนจบประโยค แล้วจึงจะมาแปลเนื้อ ความที่อยู่ภายใน อิติ ศัพท์(กัาไม่มีเลขในก็แปลไปตามลำดับ) ส่วนหลักการเปิด อดิ ศัพท์ จะกล่าวข้างหน้า. www.kalyanamitra.org

๒ ดู่มอพสักเทผท์กา?แปสบาลี ข้อแนะนำวิธีการดูหนังสือ ๑. กำ หนดลูต้นประโยคและที่สุดประโยคว่า อยู่ที่ตรงไหนเสียก่อน เพื่อให้ดูหนังสือ ไปทีละประโยค ไม่ให้ก้าวก่ายกัน(ที่สุดของประโยคมีกิริยาคุมพากย์เป็นเครื่องสังเกต เว้นแต่ ประโยค ลิงคัตถะ ไม่มีกิริยาคุมพากย์) ๒. กำ หนดให้รู้ว่ามีแต่เฉพาะเลขใน หรือมีทั้งเลขในเลขนอกอยูพรัอม ถ้ามีทั้ง ๒ อย่าง ต้องตัดทอนแยกออกระหว่าง เลขนอก และเลขใน ให้รู้ชัดเสียก่อน (รติ ตัพท์ ที่เรียงอยู่ สุดประโยคบ้าง ท่ามกลางประโยคบ้างเป็นเครื่องสังเกตให้รู้ว่ามีเลขในอยู่ด้วย) ๓. การกำหนดดูให้รู้ว่า ประโยคนี้เป็นวาจกอะไร (การกำหนดวาจก ต้องดูที่ปัจจัย ของกิริยาคุมพากย์ เพราะปัจจัยเป็นเครื่องหมายให้รู้วาจก) แต่ละบท มีอยู่ในลักษณะของคำ พูดประเภทไหนในลักษณะการแปล ๙ อย่าง ให้แยกไว้เป็นพวกๆ เพื่อให้สะดวกในเวลาแปล เรียงลำดับกัน ๙. กำ หนดดูให้รู้ว่า บทหนึ่งๆ แปลว่าอะไร เป็นนามนามประ๓ทไหน แยกเป็นลิงค์, วจนะ,วิภัตติอะไร ควรออกลำเนียงอายตนิบาตว่าอย่างไร เป็นกิริยากิตก์ หรีอกิริยาอาขยาต ให้ค้นคว้าดูได้จาก ปทานุกรม ๕. กำ หนดดูให้รู้ว่า บทไหนแปลและสัมพันธ์เชัาบทไหน เพื่อช่วยให้ถือเอาใจความ ได้เด่นชัดในเวลาแปล และเพื่อจัดคำพูดไว้ในลักษณะ ๑'ประการ ได้ถูกต้องยิ่งขึ้น เช่น กิริยา ค้พท์ ตฺวา ปัจจัย อาจจะเป็นกิริยาในระหว่างของบทประธานก็ได้ อาจเป็นกิริยาของนามตัว อื่นและสัมพันธ์เข้ากับ ต, อนุต, มาน ปัจจัยที่เป็นวิเสสนะก็ได้ ทั้งนี้จะรู!ด้แน่ชัดก็ ต้องตรวจดูความสัมพันธ์ของข้อความในระหว่างบทต่อบทนั้นเสียก่อน ๖. กำ หนดดให้ร้ว่า บทไหนจะต้องแปลรวบกับบทไหน ตามกฎการรวบ ๑๒ ประการ นั้น ๗. กำ หนดการแปลตามลำตับการแปล ๙ ประการ โดยนึกถึงเนี้อความในภาษา ไทยควบคู่กันไปทุกๆ ระยะของการแปล ถ้ามีเนี้อความไม่ชัดกัน ฟ้งรู้เรื่อง ได้ความหมายด นับว่าเป็นการแปลที่ถูกต้อง ถ้าแปลแล้วพังชัดหู หรือพังไม่รู้เรื่อง ไม่ได้ความหมาย นับว่า เป็นการแปลที่ผิดๆ www.kalyanamitra.org

พระมหาสมคิ« จ1(ตามใย ดา ข้อควรสังเกตก่อนแปลภาษาบาสิ ๑. ต้องสังเกต และพิจารณาก่อนว่า เป็นวาจกอะไร ในวาจกทั้ง ๕ ในกิริยาอาขยาด และ กิริยากิตก์ ๒. วาจกนั้น มีองค์ประกอบที่สำคัญมีอย่างไรบ้าง ๓. เป็นประโยค มีเลขนอกเลขในหรือไม่(เราสังเกตไต้จากอิติศัพท์ และอัญญประกาศ) ๔. มีเนอความกี่ตอน และควรแปลตอนไหนก่อนตามหสักการแปล ๕. เป็นกิริยาอาขยาด หรือ กิริยากิตค์ และป้จจุบ้นกาล อดีตกาล หรือ อนาคตกาล ควรคิดให้ดี ประโยค \"ประโยค\" หมายถึงคำพูดที่ไต้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ สามารถที่จะท่าให้ผู้ฟ้ง เข้าใจเนอความไต้ชัดเจนตามที่ต้องการ เช่น คำ พูดในภาษาไทยว่า ฉั•น,กินข้าว หรือ 1ขา1กิดใน ตอน(ข้า เป็นต้น จะเห็นไต้ว่าเนิ้อความของประโยคคำพูดนั้นๆ มีใจความที่บริบูรณ์ชัดเจนใน ตัว สามารถเข้าใจไต้ทันที ในภาษาบาลีก็มีลักษณะเดียวกัน ข้อความต่างๆ จะหมายรู้ไต้ เมื่อผู้พูดๆ จบประ โยค แล้ว หรือเมื่อผู้เขียนๆ จบประโยคแล้วเท่านั้น ประโยคในภาษาบาลี ไต้แก่ข้อความที่รู้' จักกันว่า \"วาจก\" แต่ละวาจกนั้นก็เป็นประโยคหนึ่งๆ เราอาจแปงประโยคในภาษาบาลี ตามลักษณะของไวยากรถไโต้ ๖ ชนิด คือ ๑. ประโยคลิงศัตถะ (ไม่มีกิริยาคุมพากย์} อุ. ธมฺเม ปสาโท. ๒. ประโยคกัตตุวาจก อุ. สโท โอทนํ ปจติ. ๓. ประโยคก้มมวาจก อุ. สูเทน โอทโน ปจิยเต. ๔. ประโยคภาววาจก อุ. เตน ภูยเต. ๕. ประโยคเหตุกัตตุวาจก อุ. สามิโก สูทั โอทนํ ปาเจติ. ๖. ประโยคเหตุกัมมวาจก อุ. สามิเกน สูเทน โอทโน ปาจาปิยเต. www.kalyanamitra.org

ถู่13อหลักเกโนร(การแปสบ'เส หลักการแปลมคธเป็นไทย มีอยู่ ๙ อย่าง ต้องดำเนินการแปลไปตามลำดับดังต่อไปนี้ ๑, อาลปนะ ๒. นิบาตต้นข้อความ ๓. บทกาลสัตตมี ๔. บทประธาน ๕. บทที่เนื่องด้วยบทประทน ๖. กิริยาในระหว่าง ๗. บทที่เนื่องด้วยกิริยาในระหว่าง ๘. กิริยาคุมพากย์ ๔. บทที่เนื่องด้วยกิริยาคุมพากย์ a. อาลปนะ อาลปนะ แปลว่า ค์าร้องเรียก หรือคำทักทาย แปลเป็นดัวที่ ๑ ในประโยค (ถ้ามี) อาลปนะมีอยู่ ๒ อย่าง คือ อาลปนะนามนาม ๑ อาลปนะนิบาต ๑ ๑. อาลปนะนามนาม ได้แก่ ดัพท์ที่ประกอบด้วย สิ, โย ปฐมาวิภัตติ ชึ่งใช1น อรรถอาลปใ^ สามารถออกสำเนียงอายตนิบาตว่า แน่ะ, ดูก่อน,ข้าแต่ เช่นใ]ริส(ดูก่อนบุรุษ), เสฎริ (ดูก่อนเศรษฐี), ตาต (ข้าแต่พ่อ) เป็นต้น ๑. อาลปนะนามนามมาเดี่ยวแปลได'!ลย ๑.๑. (อหํ) ธมฺม่ โว ภิกฺขท เทเสสฺสามิ.(อุภัยฯ) คูก่อนภิกษุ ท.(อ.เรา) จักแสดง ซึ่งธรรม แก่เธอ ท.ฯ ๑.๒. ตาฅ (ตฺวิ) สกเฎสุ อปปมตฺโต โหหิ.(๑/๖) แน่ะพ่อ (อ.ท่าน) เป็น!^ประมาทแล้ว ในเกวียน ท, จงเป็น ฯ ๑.๓. (ตุมฺเห) มา จินุตยิตฺถ อานนุท. คูก่อนอานนท์ (อ.เธอ ท.) อย่าคิดแล้ว ฯ ๑.๔. อยฺเย (โฆสโก) สยเน นิปนุโน นิทฺทายติ.(๒/๒๑) ข้าแต่แม่เจ้า (อ.นายโฆสกะ) ผู้นอนแล้ว บนที่เป็นที่นอน ย่อมประพฤติ www.kalyanamitra.org

«ระมพาสมค>| จิบุตฯมใย หลับ ฯ ๑.๕. สามิ เอโก ใ โต ซาโต.(๒/๗๕) ข้าแค่นาย อ.บุตร คนหนึ่ง เกิดแลัว ฯ ๒. อาลปนะนิบาต มี ๑๐ตัว คือ ยคฺเฆ(ขอเดชะ),ภนฺเต,ภทนุเต(ข้าแต่ท่านผู้เจริญ), ภเณ(แน่ะพนาย), อมฺโภ (แน่ะท่านผู้เจริญ), อาๅโส (ดูก่อนท่านผู้มีอายุ), เร, อเร (เว้ย,โว้ย), เห(เอ้ย), เซ (แน่ะแม่) ๒. อาลปนะนิบาตมาเดี่ยวแปลไค้เลย ๒.๑. อมฺโภ (ตุว่) มา เอวํ วท,(๓/๙๙) คูก่อนท่านผู้เจริญ (อ.ท่าน)จงอย่ากล่าว อย่างนี้ ฯ ^ ๒.๒. กนิฎุจภาตา เม อตุกิ ภใงฺเต.(๑/๖) ข้าแค่พระองค์ผู้เจริญ อ.น้องชายผู้น้อยที่สุด ของข้าพระองค์ มีอยู่ ฯ ๒.๓. เตนห ภเณ เสฺว (ตุวํ) (เถร) โภเชหิ. แน่ะพนาย ถ้าอย่างนั้น ในวันพรุ่ง (อ.ท่าน) ยังพระเถระ จงให้ฉัน ฯ ๒.๔. (ตุวิ) ยาหิ อาวุโส. คูก่อนท่านผู้มีอายุ อ.ท่าน จงไป ฯ ๒.๕. (ตุวิ) ติฎฺจ เร. เว้ย (อ.ท่าน) จงหยุด ฯ ถ้าหาก อาลปนะทั้ง ๒ คือ นามนาม และนิบาต มาร่วมในประโยคเดียวก้น ให้ แปลอาลปนะนามนามเสียก่อน และแปลอาลปนะนิบาตทีหลัง (แปลเป็นวเสสนะ ผู้. อัน) อาลปนะนามนามและนิบาตมาร่วมกัน ๑. อมฺโภ คุมารา เอส สาลิกโปตโก, คณฺหถ (ตุมฺเห) นิ.(๕/๓๐) แน่ะคุมาร ท.ผู้เจริญ อ.ลูกนกสาลิกานั่น,(อ.เธอ ท.)จงจับ ซึ่งลูกนกสาลิกาน้นฯ ๒. (ตุวิ) วเทหิ ตาว อาวุโส ปาลิต.(๑/๑๐) แน่ะปาลิฅะ ผู้มีอายุ (อ.ท่าน) จงกล่าวก่อนฯ ๓. อาวุโส ทุพฺพินิต มหลฺลก อตุตโน ปมาณํ (ตุวิ)น ชานาลิ.(๑/๓๖) ดูก่อนคนแก่ ผู้อันบุคคลน่า ไป่ให้วเศษแล้วโดยยาก ผู้มีอายุ (อ.ท่าน) ย่อมไม่รู้ ซึ่งประมาณของตน ฯ www.kalyanamitra.org

qJ3อพร้ก10ณฑ์กา?uijflinS ๔. หนฺท ภเณ อุปาลิ {ตุว่} นิวตุตสฺสุ.(๑/๓๖) แน่ะนายอุปาลี ผู้พนาย เชิญเถิด (อ,ท่าน) จงกลับฯ ๕. โภ โคตม (ตุว่) อธิวาเสหิ เม อซฺซตนาย ภตุตํ สทฺธึ ภิฤฃุสงฺเฆน (๑/๓๑) ข'าแต่พระโคดมผู้เจริญ(อ.พระองค์)ลับ ด้วยหมู่แห่งภิกษุลังภัตรของขาพระองค์ ขอจงให้อยู่ทับ เพื่ออันจะมีในวันนี้ ฯ ถ้าหาก อาลปนะนามนามมาร่วมลับ อาลปนะนิบาต ๔ ตัวนี้ คีอ ยคฺเฆ(ขอเดชะ), เร, อเร (เว้ย, โว้ย) เห (เอ้ย) ให้แปลอาลปนะนิบาตตัวใดตัวหนี้งที่มีใน ๔ ตัวนี้เสียก่อน แล้วค่อยแปลอาลปนะนามนามทัหลัง เซ่น ๑. ยคฺเฆ เทว (ตุวํ) ชาเนยุยาสิ. (หลัก} ขอเดชะ ข้าแด่พระองค์ผู้สมมติเทพ (อ.พระองค์)พึงทราบ ฯ ๒. อเร ๆ^ชฺเช อตัพหโลฎจฺกโปสํ เต มุขํ.(๒/๓๔) เว้ย แน่ะหญิงค่อม อ.ปาก ของเจ้า มีริมลปากและกระพุ้งแก้มอันหนายิ่ง ฯ ถ้าว่า ในประโยคใด มีอาลปนะพื่สำเร็จมาจากบทสมาส หรือ บทตัทธิต อยู่รวมลัน หลายบท บทใดเรียงอยู่หน้า ให้แปลบทนั้นเสียก่อน นอกจากนั้นจะมีกี่บทก็ตาม ให้แปล ไปตามลำตับจนหมด อุ. อนฺธพาล อหิริก ตุวํ มยา สทฺธึ กเถตุ้ น ยุตุตรูโป (อสิ). (๓/๑๒๙) ดูก่อนท่านผู้อันธพาล ผู้ไม่มีความละอาย อ.ท่านเป็นผู้!ม่ควรแล้วเพื่อ อันกล่าว ลับด้วยเรา (ย่อมเป็น)ฯ ถ้าว่า ในประโยคใด มี อาลปนะตั้งแต่ ๒ บทขึ้นไป หากอาลปนะบทใด กล่าวถ้ง ชี่อ,แช่,โคตร,สกุล อาลปนะบทนั้นไม่ว่าจะวางอยู่ที่ไหนก็ตาม ให้แปลอาลปนะบทนั้นเสียก่อน ส่วนบทอาลปนะต่อๆ ไปให้แปลเป็นวิเสสนะ ๑. ^ตกมุเมน โภ โคดม (อห่) ชีวามิ.(๔/๑๐๗) ข้าแต่พระโคดม ผู้เจริญ (อ.ข้าพระองค์) ย่อมเป็นอยู่ ด้วยการเล่นสะกา ฯ ๒. อิงฺฆ (ตุวิ) ปสฺส มหาปฌุณ มหาโมคคลุลาน มหิทุธิก.(๘/๑๐๗) ข้าแด่พระมหาโมคคัลลานะ ผู้มีฤทธิมาก ผู้มี!]ญญามาก เซญเถิด (อ,ท่าน) จงดู ฯ www.kalyanamitra.org

พะนพาRมคด จ!{ตามโข ^ ๒. นิบาต นิบาต มีหลายหมวดที่ให้แปลเรนต้วทื่ ๒ รองจากอาลปนะ {ถ้ามี) ที่สามารถ แปลเป็นตัวที่ ๒ได้ตังนี้ กิร,ขลุ,สุทํ,หนท,ตคฺฆ,อิงฺฆ,อาม,อามนตา,สเจ,เจ,อถ,ยทิ,ยนนูน, อปฺเปวนาม, หิ, จ,ปน,ตุ, อถโข, อถวา, อโห, ฯลฯ ๑. ภนเต อยฺยสฺส กิร อกุฃี วาโต วิชฺฌติ.(๑/๙) ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ได้ขนว่า อ.ลม ย่อมเสียดแทง ซึ่งนัยน์ตาท.แท่งพระผู้เป็นเจ้าฯ ๒. ภนเต สเจ อยฺยา อิม่ เตมาสํ อิธ วเสยุยุ่.(๑/๘) ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ถ้าว่า อ.พระผู้เป็นเจ้า ท,พึงอยู่ ในที่นี้ สิ้นหมวดแท่งเดือน ๓ นี้ใชร้ ฯ ๓. อยฺโย ปน ภนเต กุหึ คมิสฺสติ.(๑/๑๗) ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็ อ.พระผู้เป็นเจ้า จักไป ณ ที่ไหน ฯ ๔. ตาต มหลฺลกสฺส หิ อตุตโน หตฺถปาทาปิ อนสฺสวา (โหนติ).(๑/๖) ดูก่อนพ่อ ก็ แม้ อ.มีอและเท้า ท. ของตน แท่งคนแก่ เป็นอวัยวะไม่ฟ้งตาม ย่อมเป็น ฯ ๕. พทฺธา จ นาม น สกฺกา สเจน อาราเธตุ่.(๑/๘) ก็ ซื่อ อ.พระพุทธเจ้า ท. อันบุคคลผู้โอ้อวด ไม่อาจ เพื่ออันให้ทรงยินดีได้ ฯ หมายเหตุ ถ้าไม่มีอาลปนะ ก็เลื่อนขึ้นมาแปลเป็นตัวที่หนึ่งในประโยค ๓. บทกาลสัฅฅมี แปลเป็นตัวที่ ๓ รองจากอาลปนะ และนิบาต(ถ้ามี)แต่ถ้าอาลปนะและนิบาตไม่มี ก็เลื่อนขึ้นมาแปลเป็นตัวที่ ๑ ในประโยค บทกาลสัตตมี แบ่งออกเป็น ๓ อย่างคือ ๑. กาลสัตตมี นามนาม ได้แก่ ศัพท์จำพวกที่เกี่ยวกับ กาล, เวลา, ขณะ,วัน, เดือน, ปี เป็นตัน ซึ่งประกอบด้วยสัตตมีวิภัตติ หรือ ทุติยาวิภัตติ ใซในอรรถ สัตตมี เซ่น กาเล (ในกาล),สมเย(ในสมัย),ทิวเส(ในวัน),มาเส(ใน เดือน), สํวจฺฉเร(ในปี),ซเณ(ในขณะ),ต่ฃณํ (ในขณะนั้น), ปจฺจูเส (ในกาลอันขจัดเสียซึ่งมีด), ปพฺพณฺเห (ในกาลเบื้องต้นแท่งวัน), เทสนาว สาเน (ในกาลเป็นที่สุดลงแท่งเทศนา), อตีเต(ในกาลอันเป็นไปล่วงแล้ว), ปุพฺเพ(ในกาลก่อน), www.kalyanamitra.org

ดู่»5อน«ก1กพฑ์การแปลบาสิ อปรภาเค(ในการเป็นส่วนอื่นอีก), ปุนทิวเส(ในวันรุ่งขึ้น), เวลาย(ในเวลา),ตํทิวสํ(ในวันนั้น) ฯลฯ เช่น (๑) ตสฺมึ สมเย สตฺถา ปริสมชฺเฌ ธมฺมํ เทเสติ.(๑/๔๖) ในสมัยนั้น อ.พระศาสดา ย่อมทรงแสดงซึ่งธรรม ในท่ามกลางบริษ้ท ฯ (๒) คสฺมึ-จ กาเล มหาปนฺถโก ภตฺตุทุเทสโก โหติ.(๒/๗๘) ก็ ในกาลนั้น อ.พระมหาปันถก เป็นผ้แสดงซึ่งภัตร ย่อมเป็นฯ (๓) ตํทิวสํ นฬการเชฎุ๓สุส เวณุนา อตฺโถ โหติ.(๒/๑๖) ในวันนั้น อ.ความต้อง ด้วยไม้ไผ่ ย่อมมี แก่บุคคลผู้กระทำซึ่งไม้!ผ่ ผู้เจริญที่สุด ฯ ๒. บทกาลสัตตมี นิบาต ได้แก่ ต้พท์ที่เป็นกาลสัตตมีที่สำเร็จรูปขึ้นเองโดย ไม่ต้องประกอบด้วยวภัตติ เช่น อถ (ครั้งนั้น),ปาโต,ปไต่,(ในเวลาเช้า), สายํ(ในเวลาเย็น), สุเว (ในวัน), หิยฺโย, หีโย(ในวันวาน), เสฺว(ในวันพรุ่ง), สมฺปติ(ในบัดเดี๋ยวนี้), อายตึ(ในกาลต่อไป) เช่น (๑). อถ สพฺเพว (ชนา) ปพุพชฺช์ ยาจึสุ.(๔/๑๖) ครั้งนั้น อ.ซน ท.ทั้งปวงเทียว ทูลขอแล้ว ซึ่งการบวช ฯ (๒). เสฺว ภนฺเต อมฺหาก่ ภิโเฃํ (ตุมฺเห) คณฺหถ.(๔/ฬ ช้าแต่ท่านผู้เจริญ ในวันพรุ่ง อ.ท่าน ท.ขอจงรับ ซึ่งภิกษาของดิฉัน ท.ฯ (๓). อาวุโส ตยา กิร หีโย เอวํ นาม กต่(๓/๑๑๗) ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ได้ยินว่า ในวันวาน อ.กรรมซื่ออย่างนี้ อันท่านทำ แล้ว หรือ ฯ ๓. บทกาลสัตตมี สัพพนาม ได้แก่ สัพพนามที่นำไปประกอบด้วยปัจจัยท้ายนาม ลงแล้วเป็นเครื่องหมายสัตตมีวภัตติใช้เกี่ยวกับกาลเวลา ๗ ต้วนี้คือ ทา,ทานิ,รทิ,ธุนา,ทาจนํ, ชุซ, ชุชุ รูปสำเร็จ เช่น ยทา(ในกาลใด), ตทา(ในกาลนั้น), เอตรทิ (ในกาลบัดนี้), อีทานิ (ในกาลนี้), อชุช {ในวันนี้) เป็นต้น เช่น (๑). คทา สาวตฺถิยํ สตฺต มนุสฺสโกฏิโย วสนฺติ.(๑/๕) ในกาลนั้น อ.โกฏิแห่งมนุษย์ ท.เจ็ด ย่อมอยู่ ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี ฯ {๒). อชฺช ภนฺเต โอกาโส นตฺถิ(๔/๔) ช้าแต่ท่านผู้เจริญ ในวันนี้ อ.โอกาส ย่อมไม่มี ฯ www.kalyanamitra.org

พระมหาสมคด จิบฺตามใย ^ (๓}. อิทานิ ตํ (อิตฺถึ) อนุธ่ (อหิ) กริสฺสามิ(๑/๑๙) ในกาลนี้ อ.เรา จักกระทำ ซึ่งหญิงนั้นให้บอด ฯ หมายเหตุ กาลสัตตมีทั้ง ๓ นั้นถ้าวางอยู่ อันดับ ๑-๒-๓ ในประโยค แปลเป็นอันดับ ๓ ตามกฎ หรือ จะแปลหสังกิริยาคุมพากย์ก็ไดั นอกจากนั้นวางใว้ตรงไหนก็ให้ดูว่าเนื่องด้วยบท ใด ก็แปลหลังบทนั้น ถ้ากาลสัตตมิมาร่วมในประโยคเดียวกันหลายๆ บท ให้แปลกาลน้อยไปหากาลใหญ่ เซ่นวินาที ก่อน นาที แปล นาที ก่อน ซึ่วโมง แปลชั่วโมง ก่อน วัน เป็นต้น แปลไปตามลำดับ เซ่น ๑. ตํทิวสเมว สายณฺหสมเย สิริมา กาลมกาสิ.(๕/๙๗) ในสมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน ในวันนี้น อ.นางสิริมา ได้กระทำแลัว ซึ่งกาละ ฯ ๒. ห่ยฺโย สายํ กุมฺภการสาลํ อาคตา เทว (ตาปสา).(๑/๓๙) ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ ในเวลาเย็น ในวันวาน อ.ดาบสท.มาแล้ว สู่โรงแห่ง บุคคล ผู้ทำ ซึ่งหม้อ ฯ กาลลัตตมีทั้ง ๓ ชนิด ถ้าหากมี บท เตน ก็ดี ตสุมา ก็ดี เฉพาะที่แปลว่า เพราะเหตุนั้น วางอยู่ข้างหน้าประโยค ให้แปล เตน หรือ ตสฺมา ก่อน กาลสัตตมี เซ่น อุ.ตสฺมา ตํทิวสํ สตฺถา ตสฺส อุปนิสฺสยํ โอโสเกตวา ธมฺม่ เทเสนุโต อนุปุพฺพีกถ่ กเถสิ.(๑/๑๕) เพราะเหตุนั้น ในวันนี้น อ.พระศาสดา ทรงแลดูแล้ว ซึง อุปนิสัย ของกุฎมพี ซึ่อว่ามหาปาละนั้น เมื่อทรงแสดง ซึงธรรม ตรัสแล้ว ซึง วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ ฯ สำ หรับ อเถกทีวสํ ถ้าแปลรวม แปลว่า ครั้นภายหลัง ณวันหนื่ง ถ้าแปล แยก แปลว่า ครั้งนั้น ในวันหนื่ง ๔. บทประธาน คือ ศัพท์ที่ประกอบด้วย สิ, โย ปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ และพหุวจนะ หรือที่มี ชื่อเรียกทางสัมพันธ์ ก็ไดั เซ่น อซุชอ.วันนี้ เรียกสัมพันธ์ว่า สัตตมีปัจจัตตะ แปลเป็นประธานได้ ดังนี้ เป็นต้น www.kalyanamitra.org

คู่ijswfln;กณฑ'การน!!flบารี ประธานทั่วไป ๑. นามนาม เช่น 1]ริโส (อ.บุ'!ษ), กฌุฌา (อ.นางสาวน้อย), คุลๆนิ (อ.ตระกูล ท.) เรนต้น ๒. ปกติสังขยา ตังแต่ เอกนสต'(«'๙)ขึ้นไปเป็นนามนาม แปลเป็นประธานไต้ เช่น สตํ อ.ร้อย, สฅานิ อ.ร้อย ท. เป็นต้น ๓. !Jริสสัพพนาม เช่น โส (อ.ท่าน). เต (อ.ท่าน ท.) ตฺวํ, ตุมฺเห (ไว) อท่, มยํ(ไน) cr. นามกิตก์มีทั้งที่แปลเป็นนามและคุณ เช่น ทายโก(อ.ทายก), สาวโท (อ.สาวก), กรฟ (อ.การทำ), สาวตุถีวาสี(ชโน) (อ.ชนผู้อยู่ในเมืองซื่อว่าสาวัตถีไดยปกติ) เป็นต้น ๕. กิริยากิตก์ มีปัจจัยที่ใช้เป็นนามนามไต้มีอยู่ ๓ ตัว คือ อนีย,(ตพุพ), ต ปัจจัย เช่น พุทฺโธ อ.พระพุทธเจ้า เป็นต้น ๖. บทสมาส เช่น มหาเถโร (อ.พระมหาเถระ), นตุถิปูโว (อ.ขนม ไม่มี), ปตฺตจีวรํ (อ.บาตรและจีวร) เป็นต้น ๗. บทตัทธิต เช่น สามเฌโร (อ.สามเณร), คามตา (อ,ประชุมแห่งชาวบ้าน) สหายตา (อ.ประชุมแห่งสหาย) เป็นต้น ๘. บทพิเศษ แปลเป็นประธานไต้บ้าง เช่น เอว* (อ.อย่างนั้น), ตถา (อ.เหมือน อย่างนั้น), อลํ (อ,พอละ), ตุ่(อ.อัน), อชฺช(อ.วันนี้), สฤกา(อ.อันอาจ) เป็นต้น นามนาม ๑. เต ภิกฺฃู เถรํ ขมาเปตฺวา อนุโตคามํ ปวิสีสุ.(๑/®๓) อ.ภิกษุ ท.เหล่านน ยังพระเถระ ให้อดไทษแล้ว เช้าไปแล้ว ส่ภายในแห่งบ้าน ฯ ๒. อถสฺสาห่ ■■เอตฺตกานิ สตานิ วา สหสฺสานิ วา สตสหสุสานิ วาติ น สฦกา คณนาย ปริจฺฉินุทิตุนุติ วตฺวา ฯเปฯ.{๑/๒๕) ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น มีอยู่ อ.เรา จักกล่าวแล้ว แก่พราหมณ์นั้นว่า อันใครๆ ไม่อาจ เพื่ออันกำหนด ด้วยการนับว่า อ.ร้อยท. หริอ หริอว่า อ.พัน ท, หรือว่า อ.แสน ท. อัน มีประมาณเทานี้ ฯลฯ, ๓. ตุมฺเห ปน สามี.(๑/๖) ช้าแต่นาย ก็ อ.ท่านเล่า ฯ www.kalyanamitra.org

พะพนาสมคด จิบุดามโย ®® ๔. อาจริย มยฺห่ โทโส นตฺถ็.(๑/๓๔) ข้าแต่อาจารย์ อ.โทษ ของกระผม ย่อมไม่มี ฯ ๕. พุทฺโธ โลเล อุปฺปนฺโน.(๑/๘๕) อ.พระพุทธเจ้า เสด็จอุบัติขึ้นแล้ว ในโลก ฯ ๖. เตน มยฺหํ จิตฺตชุขํ นาม น โหติ.(๑/๔๒) เพราะเหตุนั้น ชื่อว่า อ.ความสบายแห่งจิต ของข้าพเจ้า ย่อมไม่มี ฯ ๗. อตฺถิ โกจิ ภติเกน อตฺถิโก.(๒/๖๗) อ.บุคคลผู้รความต้องการ ไรๆ ด้วยบุคคลผู้รับจ้าง มีอยู่หรีอ ฯ ๘. เอวํ กิร ภิฤฃเว.(๔/๑๒๘) ดูก่อนภิกษุท. ได้ยินว่า อ.อย่างนั้น ฯ ๕. บทที่เนื่องด้วยตัวประธาน คือ บทที่แปล หรือส้มพันธ์เข้ากับตัวประธานทั้งสิ้น เช่น บทวิเสสนะ, บทคุณ, บทสัพพนาม ที่มี ลิงค์,วจนะ,วิกัตติ เสมอกับตัวประธาน หรือบทอื่นๆ ที่ประกอบ ฉัฏรืวิภัตติ, สัตตมีวิภัตติ หรือ ตัพท์หรือบท ที่สามารถส้มพันธ์เข้ากับ บทประธานได้ ก็เป็นตัวที่เนึ่องด้วย ตัวประธานทั้งสิ้น เช่น ๑. อณฺณตโร ภิฤขุ คาม์ ปิณุฑาย ปวิฎฺโจ.(อุภัยฯ) อ.ภิกษุ รูปใครปหนึ๋ง เข้าไปแล้ว สู่บัาน เพื่อบิณฑะ ฯ ๒. อิมสฺส ปุริสสฺส ปุตฺโต ปพฺพชิโต.(อุภัย ฯ) อ.บุตร ของบุรุษน บวชแล้ว ฯ ๓. เตวิสติยา กุมารานํ อาจริโย คามํ ปวิฎุโจ.(อุภัยฯ) อ.อาจารย์ ของกุมาร ท.๒๓ เข้าไปแล้ว สู่บ้าน ฯ ๖. กิริยาในระหว่างของบทประธาน คือ กิริยากิตก์ มีปืจจัยที่เป็นกิริยาในระหว่างที่แจกล้วยวิภัตตินามได้ ๕ ตัว คือ อนุต,ตฺวนฺตุ, ตาวี,มาน,ตปัจจัย ปัจจัย ๕ตัวนั้ต้องมี ลิงค์,วจนะ,วิภัตติ เสมอกับประธาน ทั้งเอกวจนะและพหวจใ^ ถึงจะไข้เป็นกิริยาในระหว่างได้ เช่น www.kalyanamitra.org

๑๒ ภู่มิธพส้กเกโนฑ'ทาทฟรบาล ๑. สเจ ภนฺเต อยฺโย อิมสุมึ จาเน เอวํ วิหรนฺโด ปพฺพชิตกิจฺจ่ มตุถกํ ปาเปตุ้ สกุชิสฺสติ.(๑/๖๓)(อนฺตขยายประธานปุ)ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ถ้าว่า อ.พระผู้เป็นเจ้า อยู่ๆ อย่างนี้ ในที่นี้จักอาจ เพื่ออันยังกิจแห่งบรรพชิตไห้ถึงซึ่งที่สุด ไ'ซร้ ฯ ๒. สาปิ (จุลฺลสุภทฺทา) ตเถว กโรนุตี โสตาปนฺนา หุตฺวา ปติกุลํ คตา.(๑/๑๙๑) (อนุต ขยายประธาน อิต.)(อ.นางจุลสุภัททา)แม้นั้น ทำ อยู่ อย่างนั้นนั่น เทียว เป็น โสดาบัน เป็น ไปแล้ว ส่สกุลแห่งผัว ฯ ๓. ทนุธํ กติ กุสลํ หิ สมฺปตฺตึ ททมานํ ทนุธฒว ททาติ.(๕/๙)(มานขยาย ประธานนปุ) ด้วยว่า อ.กุศล อันอันบุคคลท่าแล้วข้า เมื่อให้ ซึ่งสมบัติ ย่อมให้ข้านั่นเทียว ฯ ยังมีปัจจัยอีก ๓ ตัว คือ ตูน, ตุวา, ตุวาน ใช้เป็นกิริยาในระหว่างของตัวประธาน ได้[ม่ตัองแจกไปตามตัวประธาน เพราะเป็น อัพยยปัจจัยแจกด้วยวิภัตติทั้งเจ็ดไม่ได้ อุ. อปรภาเค เวฎจทีปกตาปโส กาลํ กตฺวา มเหสกฺโข เทวราชา ทุตฺวา นิพุพตุติ.(๒/๒) ในกาลเป็นส่วนอื่นอีก อ.ดาบสซึ่อว่าเวฎจทีปกะ กระทำแล้ว ซึ่งกาละเป็นเทวดาผู้พระราชาผู้มีศักดี้ใหญ่ เป็น บังเกิดแล้วฯ ยังมี บุทพิเศษที่ใช้ดุจกิริยาในระหว่าง เป็นตัวขยายประธานคือนามนาม,นามกิตก์, สมาส, ตัทธิต ใช้แปลเป็น วิเสสนะบ้าง วิกติภัตตาบ้าง เซ่น ๑. เถโร ตุณุหึ อโหสิ.(๑/®'} อ.พระเถระ เป็นผู้นิ่ง ได้เป็นแล้ว ฯ ๒. โส (เถโร) สตุถาร่ วนุทีตุวา ฯเปฯ ตตฺถ สปริวาโร ปิณฺฑาย ปาวิสิ.(๑/๗) อ.พระเถระนั้น ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา ฯลฯ ผู้เป็นไปกับด้วยบริวาร เข้าไปแล้วในบ้านนั้น เพื่อปิณฑะ ฯ ๗. บทที่เนื่องด้วยกิริยาในระหวาง ก็จัดเป็น บทที่เนี่องด้วยกิริยาในระหว่าง www.kalyanamitra.org

mruinjเมพเ จิบุตามโย ® ๑. ตสฺมา ต่ทิวสํ สตฺถา ตสฺส อุปนิสฺสยํ โอโล;กตฺวา ธมฺมํ เทเสนุโต อนุปุพฺพีกถ่ กเถสิ.{๑/๕) เพราะเหตุนั้น ในวันนั้น อ.พระศาสดา ทรงแลดูแล้ว ซึ่งอุปนิสัย ของทุฎมพีชื่อว่า มหาปาละนั้น เมื่อทรงแสดงซึ่งธรรม ตรัสแล้ว ซึ่งอนุใjพพีกถา ฯ ๒. ชโน เสฎฺจิโน คาเม กมฺมํ กตฺวา ลญจํ ลภิ. อ.ซน ท่าแล้ว ซึ่งการงาน ในบ้าน ของเศรษฐี ได้แล้ว ซึ่งค่าจ้าง ฯ ๘. กิริยาคุมพากย์ คีอ ธาตุที่น่าไปประกอบด้วยเครื่องปรุงของอาขยาดในวัภัตติท้ง ๘.หมวด ใช้ เป็นกริยาคุมพากย์ทั้งสิ้น และยังมีปัจจัยในกิริยากิตก์อีก ๓ ตัว คือ อนีย, ตพฺพ,ต ปัจจัย ใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ (รวมทั้ง ตฺวา ปัจจัย เป็นกิริยาคุมพากย์ ปธานนัย) กิริยาอาขยาต ๑. สูโท โอทน่ ปจติ.(หลัก) อ.พ่อครัว ทุงอถู่ ซึ่งข้าวสุก ฯ กิริยากิตก์ ๒. ภิกฺชุ คาม่ ปิณฺฑาย ปวิฎโซ.(หลัก) อ.ภิกษุ เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อบิณฑะ ฯ ๙. บทที่เนื่องด้วยกิริยาคุมพากย์ คือบท หรือ ตัพท์ที่เรืยงไว้หน้า กิริยาคุมพากย์บ้าง หลังกิริยาคุมพากย์บ้าง เซ่น เรียงไว้หน้า ๑. เอว่ สตฺถา เตสั ภิกฺขูนํ ธมุมํ เทเสสิ. อ.พระศาสดา ทรงแสดงแล้ว ซึ่งธรรรม แก่ภิกษุ ท.เหล่านั้นฯ เรียงไว้หลัง ๒. สตุถา ภตฺตคฺค่ ปวิสิตุวา ปณุณฅฺดาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิทษุสงฺเฆน. อ.พระศาสดา เสด็จเข้าไปแล้ว สู่โรงแห่งภัตร ประทับนั่งแล้ว บนอาสนะอันบุคคลปูลาดแล้ว กับ ด้วยหม่แห่งภิกษุ ฯ บหสักการนน'?! ๙ อปางแต่เพียงเห่านิ www.kalyanamitra.org

๑๔ ถู่มิธนสักเกณฑทารนปส!ภเ หลักการเปีด อิติ ศัพท์ ในเวลาแปลยกศัพท์ ก่อนอื่นนักศึกษาจะต้องกำหนดเนิ้อความของประโยค โดยกำหนด นิบาต, กาล สัตตมี, ประธาน, ต้วที่เนื่องต้วยประธาน, กิริยาในระหว่าง, ต้วที่เนื่องด้วยกิริยาในระหว่าง, กิริยาคุมพากย์ ต้วที่เนื่องด้วยกิริยาคุมพากย์ ดูให้เก่อนว่า เลขนอกตั้งแต่ไหนถึงไหน เลขใน ตั้งแต่ไหนถึงไหน ซึ่งถ้ามีเลขในก็ให้ข้ามไป โดยแปลเลขนอกให้จบเสียก่อน จึงค่อยแปล เลขในทีหลัง ด้งจะยกรูปประโยคทั้งเลขนอกและเลขในให้ดูด้งต่อไปนิ้ อุ. มหาทุคฺคโต ตสฺส สนุดิกํ คนฺตฺวา ■■มยุหํ ปตฺตภิกฺข่ เทหีติ อาห. ๙/๒๗ เลขนอก เลขใน วิธีการเขิเด ''อิสิ\" ศัพท์ พอจะสังเกตได้ดังนี้ <5). การเปิด อิติ ด้พท์ ด้วยกิริยาในระหว่าง ๒. การเปิด อิติ ศัพท์ ด้วยบทตติยาริภตติ ๓, การเปิด อิติ ศัพท์ ด้วยกิริยาคุมพากย์ ๔. การเปิด อิติ ศัพท์ ด้วยบททุติยาวิภัตติ ๕. การเปิด อิติ ศัพท์ ด้วยบทประธาน ๑. ถ้าหลัง อิติ ศัพท์ ไม่มีกิริยาที่เปิดได้วางไว้คือ ยังมีเนื้อความต่อไปอีก ถ้าต้องการ เปิด อิติ ศัพท์ ให้เติมกิริยากิตก์ ต,วา ปัจจัย ซึ่งทำหน้าที่เป็น กิริยาในระหว่างขึ้นมาเปิดหลัง รติ ศัพท์ โดยถึอเอาเนื้อความภายใน รติ ศัพท์ ทั้งหมด เป็นบทที่เนื่องด้วยกิริยาในระหว่าง โดยอนุโลมตามหลักการแปลด้งอธิบายมาแล้ว เนื้อความภายในเลขในย่อมแสดงถึง บอกเล่า, คิด,ไถ่ถาม, รับรอง, กำ หนด,ฟ้ง เป็นต้น เลขนอกขึ้น วตุวา {กล่าวแล้ว) จึนฺเตดวา (คิดแล้ว) เลขในนุ่งถึง กล่าว นุ่จุฉิตุวา (ถามแล้ว) เลขในนุ่งถึง คิด ปฎิสุณิตุวา (ฟังตอบแล้ว) เลขใงเนุ่งถึง ไถ่ถาม สมฺปฎิจฺฉิตฺวา (รับพร้อมแล้ว) เลขในนุ่งถึง รับรอง เลขในนุ่งถึง ยอมรับ เลขในนุ่งถึง กำ หนด สลฺลฤเฃตุวา (กำหนดแล้ว) เลขในนุ่งถึง ฟัง สุตฺวา (ฟังแล้ว) ฯลฯ www.kalyanamitra.org

พ?ะมพาสมคิด จิไ4ตามโย ร)(£ เติม- จินฺเตตฺวา เซ่น ตสฺมา สตุถา ปาโต ว สรีรกิจฺจ่ กตฺวา ■■มหาทุคฺคต่ สงฺคณฺหิสฺสามีติ(จินฺเคตุวา) คนุธกุฎึ ปวิสิตฺวา นิสีทิ. ๔/๒๖ เพราะเหตุนั้น อ.พระศาสดา ทรงกระทำแล้ว ซึ่งกิจด้วยพระสรีระ ในเวลาเช้า เทียว (ทรงดำริแล้ว)ว่า อ.เรา จักสงเคราะห์ ซึ่งบุรุษผู้ถึงแล้วซึ่งยากใหญ่ ด้งนี้ เสด็จเข้าไปแล้ว สู่พระด้นธกฏิ ประท้บนั่งแล้ว ฯ บทกิรียาในระหว่างบางครั้งวางไว้แล้วก็มี สามารถเปิดได้เลย ตฺวา ปิจจัย เซ่น สุตฺวา (ฟังแล้ว), อาโรเจตฺวา (บอกแจ้งแล้ว}, ปฎิสุณิตฺวา (ฟังตอบแล้ว). สลุลฤเขตุวา {กำหนดแล้ว), สมฺปฎิจฺฉิตุวา (รับพร้อมแล้ว), ฌตุวา (รู้แล้ว) ๆลฯ อนฺต ปัจจัย เซ่น อุปธาเรนฺโต (ใคร่ครวญอยู่), ปุจฺฉนุโต (ถามีอยู่) วาเรนุโต {ห้ามอยู่). อาวชฺเชนุโต (ระลึกอยู่)วิปฺปลปนุโต (ปนเพ้ออยู่) ยาจนุโต (อ้อนวอนอยู่)ฯลฯ มาน ปัจจัย เซ่น วารียมาโน (อ้น... ห้ามอยู่),ซานมาโน (รู้อยู่) อาจิฤฃมาโน (บอกอยู่), ปุจฺฉิยมาโน(อ้น...ถามอยู่)ฯลฯ ต ปัจจัย เซ่น ๅตฺโต, ๅตุตา (อ้น.,.กล่าวแล้ว), ปุฎุโจ, ปุฎุจา (อ้น..,ถาม แล้ว) ยู่จฺฉิโต, ยู่จุฉิตา {อ้น...ถามแล้ว), ยาจิโต, ยาจิตา (อ้น...อ้อนวอนแล้ว) ฯลฯ สำ หรับ อนุต, มาน, ต ปัจจัย นั้นแจกได้ทั้ง ๓ ลิงค์ นักศึกษาพึงเทียบเคียงลิงค์เอา เพราะที่ยกให้ดูนี้เฉพาะแต่ นี้ลิงค์เท่านั้น วางไว้แล้ว อุ. อเลกทีวสํ มหาปาโล อรียสาวเก คนุธมาลาทิหตุเถ วิหาร่ คจฺฉนุเต ทีสุวา ■'อยํ มหาซโน กุหึ คจฺฉตีติ ยู่จฺฉิตุวา\" \"ธมุมสฺสวนายาติ สตุวา\" ■■อหิ คมีสฺสามีติ (จินุเตตุวา) คนุตุวา สตุถารํ วนุทีตุวา ปรีสปรียนุเต นิสที.{๑/๑๕) ครั้นภายหลัง ณ ว้นหนั่ง อ.กฎฺมพีซึ่อว่ามหาปาละ เห็นแล้ว ซึ่งอรียสาวก ท. ผู้มีว้ตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น ในมีอ ผู้ไปอยู่ สู่วิหาร ถามแล้ว ว่า อ.มหาชน นี้ ย่อมไป ณ ที่ไหน ด้งนี้ ฟังแล้ว ว่า อ.มหาชนนี้ ย่อมไป เพื่ออ้นฟังซึ่งธรรม ด้งนี้ (คีดแล้ว) ว่า แม้ อ.เราจักไป ด้งนี้ ไปแล้ว ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา นั่งแล้ว ณ ที่สุด แห่งบริษัท ฯ ๒. กฎข้อที่ ๒ ก็มีลักษณะเดียวกับกฎข้อ ๑ ต่างแต่กฎข้อที่ ๒ คีอ เลขนอกยัง ไม่จบประโยค ต้องการเปิด อิติ ด้พท์ ด้วยบทตติยาวิภ้ตติ จะต้องแปลกิริยาในระหว่าง (ถ้ามี) หรือ กิริยาคุมพากย์เสียก่อน จึงจะสามารถเปิด อิติ ด้พท์ ด้วยบทตติยาวิภัตติ เหล่านี้!ด้ www.kalyanamitra.org

®^ เ^มอหสักเกณ'!(การนปสบทร เซ่น จินุตเนน ด้วยอันคิด, วจเนน ด้วยคำ อาสืสมาเนน ด้วยความหวัง, อาสาย ด้วยความหวัง สฌฺฌาย ด้วยความสำคัญ. อธิฎ?าย ด้วยการอธิษฐาน ฯลฯ การที่เราจะใช้บทตติยาวิภัตติเหล่านี้เปิดนั้นก็ต้องแล้วแต่เนื้อความเลขในมุ่งประสงค์ เซ่น ในที่นื้ เลขใใiมุ่งประสงค์ใช้ สโบฺณาย เปิด อุ. เต ภิฤรุ) '■กสฺสจิ อผาสุกํ ภวิสฺสติติ(สฌฺฌาย)สกสกฎฺจาเนหิ นิฦขมํตฺวา วิหารมซุเฌ สนฺนิปติสุ. อ.ภิก!^ ท.เหล่านั้น ออกแล้วจากที่ของตนๆ ท. ด้วยความสำคัญ ว่า อ.ความไม่สำราญ จักมีแก่ใครๆ ด้งนี้ ประชุมคันแล้ว ในท่ามกลาง แห่งวิหาร ฯ หมายเหตุ บทตติยาวิภัตติเหล่านี้บางทีก็วางไว้แล้ว ๓. ล้าเสขนอกไม่มีประธาน และกิริยาคุมพากย์ หรือไม่มีประธาน มีแต่เฉพาะกิริยา คุมพากย์ หรือมีประธาน ไม่มีกิริยาคุมพากย์ ให้นักศึกษ-าก่าหนดฃื้นประธาน และกิริยา คุมพากย์มาเอง ประธานและกิริยาคุมพากย์ ต้องให้บุรุษและวจนะตรงภันเสมอ ประธานและกิริยาคุมพากย์ไม่มี อุ. (เถโร) อาม อุปาสกาติ(อาห)๑/®' (อ.พระเถระ กล่าวแล้ว)ว่า ดูก่อนอุบาสก เออ (อ.ลม ย่อมเสียดแทง นั่นเทียว)ด้งนี้ ฯ ไม่มีประธาน แต่มีกิริยาคุมพากย์ อุ. (เวชุโซ) \"มา ภนุเต เอวมกตฺถ สมณธมฺโม นาม, สรืเร ยาเปนุเต สโ]กา กาตุ่ นัปชุซิตุวา อาสิฌุจถาติ(วตฺวา) มุ่นปฺมุ่นํ ยาจ. ๑/๙ (อ.หมอ) กล่าวแล้ว ว่า ช้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.ท่าน ท. อย่าได้ - กระท่าแล้วอย่างนี้ ชื่อ อ.สมณธรรม, ครั้นเมอสรืระ เป็นไปอยู่ (อันท่าน ท.)อาจ เพื่ออันกระท่า,อ.ท่าน ท.ขอจงนอนหยอด ด้งนี้ ด้อนวอนแล้ว ปอยๆ ฯ มีประธาน แต่ไม่มีกิริยาคุมพากย์ อุ. โส คุฎฺมฺพิโก \"สาธูติ สมฺปฐจุฉิตฺวา สตฺถารํ วนุทิตฺวา เคห่ คนุตฺวา กนิฎจํ ปฦโกสาเปตฺวา\" ฯเปฯ ปฏิปซฺชาหิ นนุติ (อาห). ๑/๖ อ.กุฎมพ ชื่อว่ามหาปาละนั้นวับพร้อมแล้วว่า อ.ดีละ ด้งนี้ ถวาย www.kalyanamitra.org

พระมหาสมคด สํแดามใย ๑๗ บังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา ไปแล้ว ส่เรือน {ยังบุคคล) ให้ร้อง เรียกแล้ว ซึ่งน้องชายผู้น้อยที่สุด (กล่าวแล้ว) ว่า ฯลฯ อ.ท่าน จงครอบครองซึ่งทรัพย์นั้น ดังนี้ฯ กิริยาคุมพากย์ที่ใช้เ!เด อิดิ ศัพท์ได้ดังนี้ หมวด อชชัตตนี ปฐมบุรุษ เอกวจนะ พหุวจนะ คำ แปล ถามแล้ว ใJจฺฉิ 1]จฺฉึสุ ฮาห อาหํสุ กล่าวแล้ว กเถสิ กถยึสุ กล่าวแล้ว วที วทีสุ กล่าวแล้ว มใ4ตยิ มนฺตยึสุ ปรึกษากันแล้ว จินฺเตสิ - จินฺตยึสุ คิดแล้ว อาจกฺขิ บอกแล้ว อาจิกฺฃึสุ อาโรเจสิ อาโรเจสํ บอกแจ้งแล้ว อุชฺฌายิ ยกโทษแล้ว อโวจ อุซุฌายึสุ ได้กล่าวแล้ว อโวจุ ทักทายแล้ว อาลปิ อาลปีสุ รับพร้อมแล้ว สมฺปฏิจุฉิ สมฺปฏิจฺฉึสํ ได้เกิดขึ้นแล้ว อุทปาที - สงฺชุกิ แตกตื่นแล้ว เป็นต้น - หมายเหตุ ที่ยกมานี้เป็นแต่อดีตกาลเท่านั้น ส่วนปัจจุบันกาล และ อนาคตกาล ตลอดถึง กิริยากิตก์ ที่ไซ้คุมพากย์ นักศึกษาพึงเทียบดู ๔. การเปิด อิติ ศัพท์ ดัวยบททุติยาริภัตติ เท่าที่ปรากฎ โดยมากมักวางบททุติยา วิภัตติไว้ สำ หรับนักเรียนประโยค ๑-๒ ถ้ายังไม่ได้เรียนสัมพันธ์จะไม่เซ้าใจว่าเปิด รติ ศัพท์ ด้วยบททุติยาวิภัตติ เพราะไม่ได้เน้นสัมพันธ์ ส่วนประโยค ป.ธ. ๓ จะต้องทราบว่า รติ ศัพท์ สัมพันธ์เข้ากับบทไหน เพราะสัมพันธ์มีความเกี่ยวเนื่องกันในระหว่างบท สำ หรับ กิริยาที่เป็น www.kalyanamitra.org

®^ คู่33«พลัณกณฑการนปลบาร เหตุกัตตุวาจก ปัจจุบัน แปลเรียง นิยม แปลกิรยาเลย เซ่น กถํ สมุฎriเปสุ่ บังวาจาเป็น เครื่องกล่าว ให้ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ว่า ฯถ้าเน้นสัมพันธ์จะต้องแปลว่า บังวาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่า ดังนี้ ให้ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ฯ อุ. อเถกทิวสํ ธมฺมสภายํ ภิกฺยู กถํ สมุฏุจาเป \"สารีปุตฺตตฺเถโรฯปฯ ลภีติ. ๙/๒ ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง อ.ภิกชุ- ท,บังวาจาเป็นเครื่องกล่าวว่า ฯลฯ ดังนี้ ให้ตั้งขึ้นพร้อมแล้วในโรงเป็นที่กล่าวกับด้วยการแสดงซึ่งธรรมฯ บททุติยไวิภัตคิที่นิยมเใ!ด เช่น อิม่ คาถํ อาห ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถานี้ ว่า หตฺถิรวิ รวิ ร้องแล้ว ร้องเพียงดังช้าง ว่า เถรํ นิมนฺเตสิ นิมนต์แล้ว ซึ่งพระเถระ ว่า ปตฺถนํ อกาสิ ได้กระทำแล้ว ซึ่งความปรารถนา ว่า วร่ ยาจิ ขอแล้ว ซึ่งพร ว่า ปาโลติ (วจนั)นามํ อกาสิ ได้กระทำแล้ว ซึ่งคำว่า จิตุคํ อุปฺปาเทสิ บังจิต ให้เกิดขึ้นแล้ว ว่า ปตฺถนํ จเปสิ ตั้งไร้แล้ว ซึ่งความปรารถนา ว่า ฯลฯ ๕. การเป็ด อิติ ดัพท์ ด้วยบทปฐมาวิภัตติ (ประธาน) เซ่น เอคํ จินุตนํ(อ.ความคิด นั่น ว่า ฯ) สงฺกปุโป (อ.ความดำริ ว่า ฯ) จิตฺดํ (อ.จิต ว่า ฯ) โกลาหลํ (อ.ความโกลาหล ว่า....ฯ) โทหโฬ(อ.ความแพ้ท้องว่า ฯ) ปุจฺฉา (อ.อันถาม ว่า ฯ) วิชฺสชฺชนํ (อ.อันแกั ว่า ฯ) ฯลฯ อุ. ตสฺส พุรหฺบุโน เอดํ (จิใ4ตน)- อโหสิ \"อยํ มยา ฯเปฯ นนฺติ. ๙/®'๔ อ.ความคิด นั่น ว่า ฯลฯ ดังนี้ ได้มีแล้ว แก่พรหมนั้นฯ ส่วนการเปิด อิติ ศัพท์ ด้วยวิภัตติ อื่นๆ และการเปิด อิติ ศัพท์ ด้วยบทคุณ ผู้สืกษาพีงเทียบเคียงเปิดดู ฯ จบหลักการเปิด อิติ ศัพท์ แต่เพียงเท่านี้ www.kalyanamitra.org

พะมพาflมคิร» จบฺดามใย ๑๙ โครงสร้างรูปประโยคภาษามคธ (บทขยาย) ประธาน (บทขยาย) กิริยาในระหว่าง (บทขยาย) กิริยาคุมพากย์ การเดินรูปประโยคในการแปลภาษาบาลี โดยเฉพาะรูปประโยคยาวๆ สิ่งที่สำคัญ นักศึกษาจะต้องมีความเข้าใจ กิริยาในระหว่าง ซึ่งเป็นกิริยากิตก์ กิริยาคุมพากย์ที่เป็นกิริยา อาขยาด และ กิริยากิตก์เป็นสำคัญ จึงจะท่าให้เรามีความมั่นใจในการเดินรูปประโยค ไต้อย่างถูกต้อง ใม่ผิดพลาด อีกประการหนึ่ง ที่นักศึกษาจะต้องกำหนดจดจ่าให้ดิก็ศึอ เคล็ดการแปลบาลี เพราะจะช่วยท่าสิ่งที่ยากให้ง่ายขึ้น เพื่อที่จะไต้นำมาปฏิบัติในการแปล กิ จะช่วยให้เราสามารถแปลบาลีไต้ดิยิ่งขึ้น ข้าพเจ้าขอนำเอารูปประโยค พร้อมทั้งให้ข้อควรจ่า เพื่อประกอบการแปล ดังนี้ โครงสร้างหลักของรปประโยค แบ่งเป็น ๓ ภาค ภาคประธาน ภาคกิริยาในระหว่าง ภาคกรยาคุมพากย (ขาดไม่ได้) {ขาดได้) (ขาดไม่ได้ ยกเว้นประโยคลิงคัตถะ) ๑. คุ. ริตรา (ปฎาจารา) กุเฏนุ อุทกํ อาหริตฺวา อตฺตโน ปาปสฺส ผล่ อนุโภลิ. สหตฺถา โกฎฎนปจนาทนั ๙/๑๓๖ ๒.คุ. ตุมฺเห กโรนฺตี ริมีนา (สปุเปน) กิ กริสุสถ. ๙/๑๓๑ ๓.คุ. สาธุ ภทฺเท (ประโยค!^งคัตถะ) ข้อควรกำหนดดังนึ่ ๑. แปลบทประธานแต้ว ให้แปลบทที่ท่าหน้าที่ขยายประธาน(ถ้ามี) ที่มี ลิงค์,,วจนะ, วิภัตดิ เดียวกันบ้าง ต่างวิกัตติกันบ้าง คุ. อบ่โร นารโท นาม ตาปโส หิมวนุตโต อาคนุตฺวา กุมภการิ เอกรตฺ- ติวาสํ ยาจิ. ๑/๓๗ www.kalyanamitra.org

^® ภู่นอนรักเกณฑ'กา»นป«บาร อ.ดาบส ชื่อว่านไรทะ แม้อื่นอีก มาแล้ว จากปาหิมพานต์ ขอแล้ว ซึ่งการอยู่สิ้นราตรีหนึ่ง กะบุคคลผู้กระทำซึ่งหม้อ ฯ อุ. กึ เสฎฺรี อณุโถ)ปี อมฺหากํ ธึตุ โทโส อตฺถิ. ๓/๓๖ ข้าแต่เศรษฐี อ.โทษ แห่งธิดา ของเรา ท. แม้อื่น มีอยู่ หรือ ฯ ๒. เมื่อแปลประธาน และบทขยายแล้ว ให้แปลกิริยาในระหว่าง และบทที่ขยาย (ล้ามี) ซึ่งประกอบด้วย อนุต, มาน, ต ปัจจัย ที่มี ลิงค์, วจนะ, วิภัตติ เสมอกับบทประธาน ส่วน ลูน, ตุวา, ตุวาน ไม่แจกตามบทประธาน คงรูปเดิมเอาไว้ อุ. อถ - อสฺส ปริจาริกาโย ภิฤฃูนํ ภตุตํ ทตุวา สปฺปิจาฎึ อาหรนุติโย เถราน่ ม้รโต จาฎึ ภินุทํสุ. ๓/๑(ร' ครั้งนั้น (อ.หญิง ท.) ผู้รับไข้ ของนาง มัลลิกานั้น ถวายแล้ว ซึ่งภัตร แก่ภิกบุ ท. นำ มาอยู่ ซึ่งถาดแห่ง เนยใส ทำ ลายแล้ว ซึ่งถาด ข้างหน้า ของพระเถระ ท. ฯ การแปล กิริยาไนระหว่าง มีข้อควรกำหนดด้งนี้ ๒.๑ ล้ากิริยาไนระหว่าง เป็น กัตตุวาจก ไห้แปลตามรูปศัพท์ได้เลย อุ. โส(ราชา) เอกทิวสํ คพฺภินิยา เทวิยา สทฺธึ พาลาตป๋ คปฺปมาโน อากาเส นิสีทิ. ๒/๓ ไนวันหนึ่ง {อ.พระราชา) นั้น ทรงผิงอยู่ ซึ่งแดดอ่อน กับด้วยพระเทวีผู้มีครรภ์ ประทับนั่งแล้ว ไนอากาศฯ ๒.๒ ล้า กิริยาไนระหว่าง เป็น เหตุกัตตุวาจก ไห้แปล บททุติยาวิภัตติ ออกสำเนียงอายตนิบาตว่า \"ยัง\" ก่อน กิริยาไนระหว่าง เสมอ ล้าไม่มี ต้องขึ้นมา อุ โส (มหาปนุถโก) ฌานสุเขน ผลสุเขน (กาลํ) วีตินาเมนุโต จินุเตสิ. ฯเปฯ. ๑/๗๗ (อ.ภิกชุ ซื่อว่ามหาปันถก)นั้น ยังกาล โม้น้อมล่วงไปวิเศษอยู่ ด้วยสุขอันเกิดแล้วแต่ฌาน ด้วยสุขอัน เกิดแล้วแต่ผล คิดแล้วว่า ฯลฯ. ๒.๓ ล้ากิริยาไนระหว่าง เป็น ภาววาจก. กัมมวาจก, เหตุกัมมวาจก ไห้แปล บทตติยาวิภัตติ ออกสำเนียงอายดนิบาตว่า \"อัน\" ก่อน กิริยาไนระหว่าง เสมอ ล้าไม่มีต้องขึ้นมา อุ. ทารโก (มาตาปีดูหิ) วาเรน ปริวตุติยมาโน กิลนุโต ปีตุ หตุเถ นิทฺทายิ. ๒/(ร' อ.ทารก (อันมารคาและบิดา) ผลัดเปลี่ยน www.kalyanamitra.org

พรรมพา!เมคิด จิบุดามใย กันอยู่ โดยวาระบอบซํ้าแล้ว ประพฤติหลับแล้ว ในมือ ของ บิดา ฯ ๓. เมื่อแปลกิริยาในระหว่าง และบทขยายแล้ว ให้แปล กิริยาคุมพากย์ และบทชยาย กิริยาคุมพากย์ อุ. เด (มาตาปิตโร) เทฺวปี ทารเก คเหตุวา อฅฺตโน วสนฎขานเมว คตา.๒/๗๕ (อ.มารดาและบิดา ท.) พาเอาแล้ว ซึ่งเด็ก ท. แม้สอง ไปแล้ว สู่ที่เป็นที่อยู่ ของตนนั่นเทียว ฯ การแปลกิริยาคุมพาก์ มีข้อควรกำหนดดังนี้ ๓.๑ ล้ากิริยาคุมพากย์ เป็น กัตตุวาจก ให้แปลตามรูปดัพท!ดัเลย อุ. สตุถาปี กตภตุตกิจฺโจ อนุโมทน่ กตุวา อุฎฺจายาสนา ปกฺกามิ. ๔/๓๐ แม้ อ.พระศาสดา ผู้มืกิจด้วยภัตรอันทรงกระทำแล้ว ทรง กระทำแล้ว ซึ่งการอนุโมทนา เสด็จลุกขึ้นแล้ว จากอาสใ^เสด็จ หลีกไปแล้ว ฯ ๓.๒ ถ้า กิริยาคุมพากย์ เป็น เหตุกัตตุวาจก ให้แปล บททุติยาวิภัตติ ออกสำเนียงอายตนิบาต ว่า '■ยัง\" ก่อน กิริยาคุมพากย์ เสมอ ล้าไม่มื ต้องขึ้นมา อุ. ราชา สกฎสหสฺสํ เปเสตฺวา ธน่ อาหราเปตฺวา ราชงฺคเณ (ราชสู่ริเส) โอกิราเปสิ. ๔/๓๐ อ.พระราชา ทรงส่งไปแล้ว ซึ่งพันแห่งเกวียนทรงให้นำมาแล้ว ซึ่งทร้พย์(ทรงยังราชบุรูษท.) ให้เกลี่ยลงแล้ว ที่เนินแห่งพระราชาฯ ๓.๓ ล้า กิริยาคุมพากย์ เป็น กัมมวาจก, ภาววาจก, เหตุกัมมวาจก ให้แปล บทตติยาวีภัตติ ออกสำเนียงอายตนิบาตว่า\" อัน\" ก่อน กิริยาคุมพากย์ เสมอ ล้าไม่มืต้องขึ้นมา อุ. ขมาปีโต ปน โว ภนุเต สตุลา.๑/๕๓ ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.พระศาสดา อันท่าน ท.ให้ทรงอดโทษแล้ว หรือฯ หมายเหตุ กิริยาคุมพากย์ที่เป็น เหตุกัตตุวาจก, เหตุกัมมวาจก ต้องมีคำแปลว่า \"ให้\" ติดที่ กิริยา ทกครั้ง ฯ www.kalyanamitra.org

ดู่มอนสักเกณฑ์การแปลบาลี ในการเดินรูปประโยคแต่ละประโยค ปัจจ้ยที่ควรจำให้ดีก็คือ อนุต, มาน,ต ปัจจัย ซึ่งใช้ขยายประธาน, มีใช้มาก ท่าหน้าที่เป็นกิริยาในระหว่าง แจกได้ ๓ ลิงค์ เป็นไป ตามบทประธาน เอกวจนะ และ พหุวจนะ เท่านั้น ด้งนี้ ขยายประธาน {เลงค์ อุ. เต (ชายปติกา) คจฺฉนุตา เอก่ โคปาลกสํ ปาใJณึสุ.๒/รf (อ.เมียและผัว ท.) เหล่านั้น ไปอยู่ ถึงแล้ว ซึ่งสอุลชองนายโคบาล สกุลหนึ่ง ฯ ขยายประธานอิตถีลิงค์ อุ. สาปี (จุฤลสุภทฺทา) ตเถว กโรนุตี โสตาปนุนา หุตฺวา ปติกุลํ คตา. ร)/(ร)(1ร) (อ.นางจุลลสุภ้ททา) แม้นั้น กระทำอยู่ อย่างนั้น นั่นเทียว เป็น โสดาบ้น เป็นไปแล้ว ยู่สกุลแห่งผัว ฯ ขยายประธานนสกลิงค์ อุ. ทนุธํ กตํ กุสล่ หิ สมฺปตฺตึ ททมานํ ทนุธเมว ททาติ. ๕/๔ ด้วยว่า อ.กุศล อ้นบุคคลกระท่าแล้วช้า เมื่อให้ ซึ่งส่วนบุญ ย่อมให้ ช้านั่นเทียว ฯ ยังมีปัจจัยอีก ๓ ตัว คือ ตูนาที ปัจจัยมี ตูน, ตุวา, ตุวาน ซึ่งใช้ขยายประธานปอย ท่าหน้าที่เป็น กิริยาในระหว่าง ไม่แจกไปตามบทประธาน คงรูปอยู่อย่างเดิม อุ. เอกา อชา ปณฺณาทีนิ ฃาทมานา คจฺฉนุตร่ ปวิสิตฺวา ทารก่ ทิสฺวา ชนุนุเกหิ ชตฺวา ทารกสฺส ถนํ อทาสิ. ๒/๑๖ อ.แม่แพะ ตัวหนึ่ง เคี้ยวกินอยู่ ซึ่งติณชาติ ท.มีใบไม้เป็นต้น เขาไปแล้ว ยู่ระหว่างก่อไม้ เห็นแล้ว ซึ่งเด็ก ยืนแล้ว ด้วยเข่า ท.ได้ให้แล้ว ซึ่งนม แก่เด็ก ฯ www.kalyanamitra.org

หระมชาสมคิพ จํบุดามใย หลักการแปลประโยค อตฺโถ (ความต้องการ) อตฺโถ แปลว่า อ.ความต้องการ อยู่ในเนี้อเรื่อง มีการแปลคล้ายๆ กับประโยค กึ ปโยซนํ เพราะรูปประโยคจะวางวิกัตติที่เป็นหลักไว้ในลักษณะเคียวกัน ต่างแด่ ประโยค อตฺโถ นั้น จะขึ้น กิริยาอาชยาต ประกอบธาตุว่า มี, เป็น มารับกับบทจตุตถีวิกัตติเสมอ สำ นวน การแปลวิกัตติหลักๆ ซองประโยค อตฺโถ ดังนี้ ปฐมาวิกัตติ ลันว่า •■ความต้องการ\" ตติยาวิกัตติ ดัวย กิริยาคุมพากย์ ย่อมมี จตุตถีวิกัตติ แก่ อุ. กิตฺตเกหิ เต ภิฤ^หิ อตฺโถ อุปาสก (โทติ). ๑/๗๐ ดูก่อนอุบาสก อ.ความต้องการ ด้วยภิกษุ ท, มีประมาณเท่าไร (มีอยู่) แก่ท่าน ฯ อุ. น มยฺหํ พลิกมุเมน อตฺโถ (อตฺกิ). ๔/®ออ อ.ความต้องการ ด้วยพลีกรรม (มีอยู่) แก่เรา หามิไต้ ฯ ถ้าไม่มีบท จตุตถีวิกัตติ วางไว้ ไม่ต้องขึ้นมาก็ไต้ แต่กิริยาคุมพากย์ต้องขึ้นมา ทุกครั้ง อุ. เกน(วตฺถุนา) อตฺโถ (อตฺกิ). ๔/๑๐๐ อ.ความต้องการ (ต้วยวัตถุ) อะไร มีอยู่ ฯ www.kalyanamitra.org

^^ ภู่i3«นสักเกณฑ์การนปสบาร หลักการแปล ต ฟ้จจัย กัมมวาจก คุมพากย์ การแปล ต ปัจจัย คุมพากย์ในรูปของ ก้มมวาจก นับได้ว่าเป็นประโยคที่ยาก สำ หรับนักศึกษาที่เริ่มแปลใหม่ๆ ข้าพเจ้าเองจึงได้ด้นคว้านำเอารูปประโยคมาเพื่อให้นักศึกษา ได้แปลดู เพื่อความชำนาญในการเดินประโยค โดยเฉพาะที่มีกิริยาในระหว่าง คือ อนต,มาน, ต, ตน, ตฺวา, ตฺวาน ขยายประธาน ผู้ศึกษาจะต้องจ่าโครงสรัางการแปลก้มมวาจกให้!ด้ก่อน จะท่าให้การแปลง่ายขึ้น โครงสร้างหอักการแปลกัมมวาจก ดังนี้ ๑. บทประธาน (อ. } ขาดไม่ได้ ๒. บทตติยาวิก้ตดิ (อัน) ขาดไม่ได้ ๓. กิริยาในระหว่าง (ถ้ามี) ๔. กิริยาคุมพากย์ ต ปัจจัย (ขาดไม่ได้) ต ปัจจัย คุมพากย์ ประโยคก้มมวาจก ไม่มีกิริยาในระหว่างขยายประธาน ให้แปล บทตติยาริภัตติ (อัน)หลังบทประธาน อุ. ปุตุโต เม ลทฺโธ. ๒/๑๓ อ.บุตร อันเรา ได้แล้ว ฯ อุ. ยทิ มม ปิดรา อตฺตโน สนุตก่ {วตฺถุ) มยฺหํ นิยฺยาทิต่. ๒/๒๖ ผิว่า (อ.วัตถุ) อันเป็นของมีอยู่ ของตน อันบิดา ของเรา มอบให้แล้ว แก่เรา ฯ ต ปัจจัย คุมพากย์ ประโยคก้มมวาจก ไม่มีกิริยาในระหว่างขยาย แด่มีบท วิเสสนะๆ ขยาย ตติยาวิภัตติหลายๆ บท ให้แปลบทตติยาวิภัตติ (อัน)หลังบทประธาน อุ. ดุมฺเหหิ เตมาสํ เอกเกหิ ติฎุณฺเตหิ นิสิทนุเตหิ ว ทุกฺกรํ กติ. ๑/๕๖ (อ.กรรม)อันบุคคลกระท่าได้โดยยาก อันพระองค์ ผู้ผู้เดียว ผู้ประทับ ยีนอยู่ด้วย ผู้ประทับนั่งอยู่ด้วย ตลอดประชุมแห่งเดือนสาม ทรง กระท่าแล้ว ฯ อุ. คุมเหหิ ปน มม วจนํ อกโรนุเตหิ ภาริยํ (กมฺม่} กติ. ๑/๕๙ (อ.กรรม)อันหนัก อันเธอ ท. ผู้!ม่กระท่าอยู่ ซึ่งคำ ของเรา กระทำ แล้ว ฯ www.kalyanamitra.org

พะมพใสมพํI จํโ4«ามโย ต ปัจจัย คุมพากย์ ประโยค กัมมวาจก มี ตูนาทีปัจจัย ขยายบทประธาน เรียงไว้หน้า อนุต, มาน ปัจจัย ที่ทำ หน้าที่ขยายประธาน ให้แปล กรียาในระหว่างที่เป็น ตูนาที ปัจจัย จนถึง อนุต, มาน ปัจจัย แล้วจึงแปลบทตติยาวิภัตติ (อ้น) หลัง อนุต, มาน ปัจจัย อุ. (อยํ ijfใส) กปโณ วิย ปิโลติก่ นิวาเสตฺวาภตกวีถิยํ ภตึ กตฺวา ซีวนุโต มยา อ้มีนา นาม อุปาเยน ฌาโต. ๒/๗๒ (อ.บุรุษนี้)เป็นราวกะว่าชนผู้กำพร้า(เป็น)นุ่งแล้ว ซึ่งผ้าเก่า กระทำแล้ว ซึ่งการรับจ้าง ในถนนอ้นเป็นที่อยู่แห่งนายจ้าง เป็นอยู่อยู่ อันหม่อม ฉัน รู้แล้ว ฯ ต ปัจจัย คุมพากย์ ประโยค ภัมมวาจก มี อนุต, มาน ปัจจัย ขยายบทประธาน ซึ่งทำหน้าที่เป็น กิริยาในระหว่าง ให้แปลบท ตติยาวภัตติ (อ้น) หลัง อนุต, มาน ปัจจัย อุ. (ตยา) อิเม เต ภิฤฃู อาคจฺฉนุตา ทีฎฺจา. ๑/๓๖ อ.ภิกใรุท. เหล่านี้ ผู้มาอยู่ (อันเธอ) เห็นแล้ว หรีอ ฯ อุ. ก ปน โส(จฤฃุปาลตฺเถโร) ตุนฺเหหิ มาเรนุโต ทีฎฺโจ. ๑/®๘ ก็(อ.ภิกใรุชื่อว่า จักขุบาล)(ยังลัตว์มีปาณะท.)ให้ตายอยู่ อันเธอ ท. เห็นแล้ว หรีอ ฯ ประโยคตัวอย่าง ต ปัจจัยคุมพากย์เป็นได้ ๕วาจก(ยกเว้น เหตุภัตตุวาจก ไม่มีที่ใช้) กัตฯ ๑. ภนุเต เวลา อุปกฎชา. ๒/๓๗ ช้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.เวลา ใกล้เข้ามาแล้ว ฯ ภัมฯ ๒. สรีรํ สุริยเตเซน คดฺตํ. ๒/๓๗ อ.ร่างกาย อ้นเดชแห่งพระอาทีตย์ แผดเผาแล้ว ฯ ภาวฯ ๓. อิมสุมี เต วาเร จิรายิตํ. อ้นท่าน ประพฤติข้าแล้ว ในวาระ นี้ ฯ เหตุกัมฯ ๔. อปิจ ปน เต เถโร ขมาปิโค. เออก็ อ.พระเถระ อ้นเธอ ให้อดโทษแล้ว หรือฯ www.kalyanamitra.org

เสู่นิอหส้กเกณ7?กา!นปลบาร อนีย, ตพุพ ฟ้จจัย คุมพากย์ อนีย, ตพฺพ ปัจจัย คุมพากย์ เป็นได้ ๓ วาจก คือ กัมมวาจก, ภาววาจก, เหตุก้มมวาจก จะคุมพากย์ได้นัน จะต้องประกอบด้วย ปฐมาวิก้ตต เอกวจนะ และ พทุวจนะ เท่านั้น ข้อแตกต่างที่เป็น ภาววาจก บทกิริยาเป็น เอกวจนะ น!]สกลิงค์ อย่างเดียว ธาตุ ไม่เรียกหากรรม ส่วนที่เป็นก้มมวาจก, เหตุก้มมวาจก บทกิริยา เป็นได้ทั้งสองวจนะ แจกได้ ๓ ลิงค์ เป็นไปตามตัวประธาน ธาตุเรียกหากรรม ภาวฯ อุ. สพฺฟ่ (วตฺถํ) ปหาย คนุตพฺพํ. ๒/๑ (อันบุคคล) ละแล้ว (ซึ่งวัตชุ} ทั้งปวง พึงไป •า อุ. สุขํ นิสีทิตพุพํ. ๓/๕ (อันเธอ) พึงนั่ง สบาย ฯ ก้มฯ อุ. อิทานิ กื (กมฺม่) กาตพฺพํ. ๒/๑0๐ ในกาลนี้ (อ.กรรม)อะไร (อันเรา ท.) พึงกระทำ ฯ อุ. สา (กณฺณิกา) ปริเยสิดพฺพา. ๒/๑๐๑ (อ.ช่อฟ้า)นั้น(อันท่าน ท.) พึงแสวงหา ฯ เหตุก้มฯ อุ. พหิอคฺคื อนุโต น ปเวเสตพฺโพ. ๓/๕๗ อ.ไฟในภายนอก {อันหญิงผู้อยู่อยู่ในสชุลแห่งพ่อผัว) ไม่พึงไห' เข้าไป ในภายใน ฯ อุ. (ใส โทโส) ตุมฺเหหิ โสเธตพโพ. ๓/๕๗ (อ.โทษ นั้น) อันท่าน ท. พึงให้หมดจด ฯ www.kalyanamitra.org

พะนหาแมคด จนฺสามใย หลักการสังเกตรูปประโยคในการแปลยกศัพท์ รูปประโยคในภาษาบาลี(มคธ)แยกได้ ๓ ลักษณะด้วยกัน คึอ ๑. ประโยคที่มีแต่เฉพาะเลขนอก ๒. ประโยคที่มีแต่เฉพาะเลขใน ๓. ประโยคที่มีเลขในซ้อนด้วยเลขนอก ๑. ประโยคที่มีแต่เฉพาะเลขนอก เป็นประโยคที่ไม่มีเลขในรวมอยู่ด้วย เนื้อความ มีได้เป็นการสนทนา ถาม, ตอบ กันระหว่างผู้ถามกับผู้ตอบ เป็นแต่การดำเนินไปตามเนื้อ เรี่องเท่านั้น ลักษณะรูปประโยคจะไม่มี ตฺวํ, ตุมฺเห, อหิ. มยํ วางไว้เป็นประธานในประโยค การแปลประโยคที่มีแต่เฉพาะเลขนอกจะง่าย เพราะไม่มีความซับซ้อน แปลไปตามหลักการ แปล ๙ อย่าง ด้งอธิบายแล้วตามสำดับ จนถึงจุดจบประโยค แล้วจึงเริ่มแปลประโยคใหม่ ปฏิบัติอยู่อย่างนี้ ก็จะช่วยให้ลังเกต และแปลรูปประโยคได้ดียิ่งขึ้น เลขนอกล้วน อุ. ตทา ปน นววฎราย ภูมิยา พหู อินทโคปกา อุฎฺรหึสุ. เต (อินทโคปกา)เถเร จงุกมนเต, เยภุยฺเยน วิปร[ชึสุ. อนเตวาลิกา เถรสฺส จงฺกมนฏราน่ กาลสฺเสว น สมุมชฺชึสุ. ๑/๑๘ คำ แปล ก็ในกาลนั้น อ.แมลงค่อมทอง ท.มาก ตั้งขึ้นแล้ว บนภาคพื้น อันฝนตกแล้วใหม่ (อ.แมลงค่อมทอง ท.) เหล่านั้น, ครั้นเมื่อ พระเถระ จงกรมอยู่ ว้บัติแล้ว โดยมากฯ อ.อันเตวาลิก ท. ไม่กวาดแล้ว ซึ่งที่เป็นที่จงกรม ของพระเถระ ต่อกาลนั่น เทียวฯ ๒. ประโยคที่มีแต่เฉพาะเลขใน เป็นประโยคที่ไม่มีเลขนอกรวมอยู่ด้วย เนื้อความ เลขในม่งถึงการดีด,และการสนทนา เป็นต้น โดยมากรูปประโยคเลขในจะวาง ตฺว์, ตุมุเห, อหิ. มย่ ไว้เป็นตัวประธานในประโยค การแปลประโยคที่มีแต่เฉพาะเลขในจะง่าย เพียงแต่นักสืกษา กำ หนดบทที่สามารถนำมาเปิด อิติ ศัพท์ มาเปิดทุกครั้งที่ต้องการเข้าแปลเลขใน ห้ามแปล เข้าเลย ส่วนบทที่จะนำมาเปิด อิติ ศัพท์นั้น ต้องแล้วแต่เนื้อความเลขในมุ่งประสงค์ เช่นใน เรื่อง จกฺอุปาล ภ.® เนื้อความตอนที่ยกมานื้เลขในล้วน เป็นการสนทนาถามตอบกันระหว่าง พวกภิกใ^ กับพระเถระ ฯ พวกภิกษ ถาม. พระเถระ ตอบ, www.kalyanamitra.org

๒๘ ภู่ร่รอพสักเกณฑ'การแปสบาสิ เลขในล้วน อุ. (ภ็กฺชุj) \"นนุ ภนฺเต เวชฺเซนมฺห ปวาริตา, ตสฺส กเถยฺยามาติ คำ แปล (อาห่สุ). (เถโร)\"สาธาๅโสติ {อาห). ๑/ร? (อ.ภิกษุ ท. กล่าวแล้ว} วำ ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ.เรา ท.) หมายเหตุ เป็นผู้อันหมอปวารณาแล้ว ย่อมเป็น มิใช่หรือ, (อ.เรา ท.) พึงบอกแก่หมอนั้น ดังนี้ฯ (อ.พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อ.ดีละ ดังนี้ฯ บางครั้งมีเลขในซ้อนเลขใน คือ มี อิติ ดัพท์ ซ้อน อิติ ดัพท์ ๓. ประโยคทมืเลขในซ้อนด้วยเลขนอก คือมีทั้งเลขนอกเลขในปนกัน ลักษณะนี้ จะแปลยาก ล้ามีเลขในซ้อนดัวย อิติ ศัพท์ชั้นเดียว จะแปลไม่ยาก แต่ล้ามีเลขในซ้อนด้วย อติ ศัพท์หลายๆ ชั้น จะแปลยาก นักศึกษาควรคืกษารูปประโยคลักษณะนี้ให้ดี ซ้อนด้วยเลขนอก อุ. ภิกฺชุ] ตสุส(เถรสุส) อฤฃี ปคฺฆรใ4เต ทิสฺวา '■กิเมต่ ภนฺเตติ (1]จฺฉึสุ). ๑/ร? คำ แปล อ.ภิกษุ ท. เห็นแล้ว ซึ่งนัยน์ตา ท. ของพระเถระนั้น อันหลั่ง ออกอยู่ ถามแล้วว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.เหตุนั้น อะไร ดังนี้ ฯ ซ้อนด้วยเลขนอก อุ. (พุราหฺมโณ) ■■อิมสุมึ จาเน ติฎจาติ น(อหํ) อวจํ. กุหึ นุ โขโส คโตดิ (วตฺวา) โอโลเกนฺโต ปทเจติยํ ทิสฺวา \"อยสุส ปทวลณฺโชติ (อาห). ๒/๓®? คำ แปล (อ.พราหมณ์ กล่าวแล้ว) ว่า (อ.เรา) ไดักล่าวแล้ว กะบุรุษนั้นว่า อ.ท่าน จงยืนอยู่ ในที่นี้ ดังนี้ อ. บุรุษนั้น ไปแล้ว ณ ที่ไหน ดังนี้ แลลูอยู่ เห็นแล้ว ซึ่งเจดีย์คือรอยพระบาท กล่าวแล้ว ว่า อ.รอยนี้ เป็นรอยแห่งเท้า ของ บุรุษนั้น (ย่อม เป็น) ดังนี้ฯ www.kalyanamitra.org

ms««าสมคํด จํบุดามโข หลักการแปล บทที่มีวิภัตติ, วจนะ เสมอกันหลายๆ บท การแปลบทที่มี วิภัตติ, วจนะ, เสมอกันหลายๆบท แม้ว่าจะควบด้วย จศัพท์ หรือ วา ศัพท์ ก็ตาม ให้แปลบทที่เรียงไว้ด้านหน้าก่อน แล้วจึงแปลเรียงไปตามลำดับจนหมด เซ่น ปฐมใวิภัตฅิ(ประธาน) หลายๆ บท มีวิภัตติ, วจนะ เสมอภัน อุ. เตสุ เอเกกสฺส เอเกกา สลากยาคุ สลากภตฺตํ ปกฺขิตภตุตํ อุโปสถิกภตฺตํ อาคนฺตุกภตฺตํ วสุสาวาสิก่ อโหสิ. ๑/๑๒๐ อ.ข้าวต้มอันบุคคลพึงถวายตามสลาก อ,ภัตรอันบุคคลพึงถวายตาม สลาก อ.ภัตรอันบุคคลพึงถวายในปักษ์ อ.ภัตรเพื่อสงฆ์ อ.ภัตร เพื่อบุคคลผู้รักษาซึ่งอุโบสถ อ,ภัตรเพื่อภิกษุผู้จรมา อ,ภัตรอันบุคคล พึงถวายแก่ภิกษุผู้อยู่ตลอดพรรษา อันหนึ่ง ๆ ได้มีแล้ว ในบุตร ท.เหล่านั้นหนา แก่บุตรคนหนึ่งๆ ฯ ทุติยาวิภัฅติ หลายๆ บท มี ปกติสังขยา เป็นวิเสสนะ อุ. เตนหิ ฉ (สํวจฺฉรานิ) ปฌฺจ (สิวจุฉรานิ) จตุตารี (สิวจฺฉรานิ) ติณิ (สิวจฺฉทนิ) เทุว (สิวจฺฉรานิ) เอก่ สิวจฺฉรํ สตฺต มาเส ฉ มาเส ปฌฺจ มาเส จตุตาโร มาเส ตโย มาเส เทถ. ๘(ร:๒ ถ้าอย่างนั้น(อ.พระองค์ ท.) ขอจงพระราชทาน(สิ้นปี ท.) ๖ (สิ้นปี ท.) ๕ (สิ้นปี ท,) ๙ (สิ้นปี ท.)๓ (สิ้นปี ท.)๒ สิ้นปีหนึ่ง สิ้นเดือน ท.๗ สิ้นเดือน ท.๖ สิ้นเดือน ท.๕ สิ้นเดือน ท.๔ สิ้นเดือน ท.๓ ฯ บท ตติยาวิภัตติ ทำ หน้าที่เป็นวิเสสนะ หลายๆ บท อุ. ตุมฺเหหิ เตมาสํ เอกเกหิ ติฎจนฺเตหิ นิสีทนฺเตหิ จ ทุกฺกร่ กต่. ๑/๕ธ อ,กรรมอันบุคคลกระทำได้โดยยาก อันพระองค์ ท. ผู้พระองค์เดียว ผู้ประทับยืนอยู่ด้วย ผู้ประทับนั่งอยู่ด้วย ตลอดประชุมแห่งเดือนสาม ทรงกระทำแล้ว ฯ บท จตุฅถีวิภัตติ หลายๆ บท ควบด้วย จ ฅัพท์ อุ, ตุมฺเห เอตุตก่ นาม ทานวฏุฎํ คเหตุวา เทวสิกํ นวุติสหสฺสานํ ภิกฺขูนํ จ โยธสหสฺสสฺส โน จ สพฺพ์ ขาทนียโภชนียํ สิวตุเตยฺยาถ. ๑/๑๒ อ.ท่าน ท. รับแล้ว ซึ่งค่าใช้จ่ายในทาน ซื่อมีประมาณเท่านี้ www.kalyanamitra.org

๓๐ ภู่มธพสักIกฌฑการแปลบาร ยังของอันบุคคลพึงเคี้ยวและของอันบุคคลพึงบริโภค ทั้งปวง พึงให้ เป็นไปพร้อม แก่ภิกบุ ท. เก้าหมื่นรูปด้วย แก่พันแห่งทหาร ของเรา ท, ด้วย ทุกๆ วัน ฯ ฯลฯ บทที่สำแจมาจากสมาส หอายๆ บท ทำ หน้าที่เป็นวิเสสนะของบทประธาน อุ. ตสฺมึ ขเณ ฉหิ เทวโลเกหิ สพฺพาลงฺการปฎิมณฺฑตา สหสฺสสินฺธวยุตุตา ทิยฑฺฒโยชนสติกา ฉ รถา อาคมึสุ. ๑/๑๒๑ ในขณะนั้น อ.รถ ท.๖ อันประดับเฉพาะแล้วด้วยเครื่องประดับทั้งปวง อันเทียมแล้วด้วยม้าสินธพพันหนึ่ง อันประกอบแล้วด้วยร้อยแห่ง โยชน์ ที่สองด้วยทั้งกึ่ง มาแล้วจากเทวโลก ท.๖ ฯ สำ หรับวิภัตติ อี่นๆ ที่ทำ หน้าที่เป็น วิเสสนะก็ดี ไม่ทำหน้าที่เป็นวิเสสนะก็ด ควบด้วย จ ศัพท์ก็ดี ควบด้วย วา ศัพท์ก็ด ก็มีนัยดังอธิบายแล้วนั้น กฎเกณฑ์ที่ว่ามานี้ นิยมที่เป็นไปส่วนมาก หลักการขึ้นบทประธานกับกิริยาอาฃยาต การใช้บทประธานกับวิภัตติอาขยาต ในการแปลมคธเป็นไทย ก่อนอื่นเราต้องย้อน กลับไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับปุริสสัพพนามก่อน เพี่อไม่ให้สับสน ปุริสสัพพนาม มี ๓ ศัพท์ คือ ต, ตุมฺห. อมห จัดตามบุรุษที่ท่านกล่าวไวในอาฃยาตเป็น ๓ ชั้น เรียกว่า บุรุษ คือ ต ศัพท์ จัดเป็น ปฐมบุรุษ (บุรุษที่ ๑) ตรงกับบุรุษอาฃยาตว่า ปฐมบุรุษ ตุมฺห ศัพท์ จัดเป็น มัธยมบุรุษ (บุรุษที่ ๒)ตรงกับบุรุษอาฃยาตว่า มัธยมบุรุษ อมฺห ศัพท์ จัดเป็น อุดตมบุรุษ (บุรุษที่ ๓)ตรงกับบุรุษอาฃยาตว่า อุดตมบุรุษ ที่ท่านจัดบุรุษ ปริสสัพพนาม ตรงกับบุรุษอาขยาตเช่นนี้ ก็เพราะสัพพนาม แผนกนี้มีความเกี่ยวช้องกับอาฃยาตมากๆ ในการนำเอาบทประธานมาใช้ เพราะบทประธานที่ นำ มาใช้นำมาจากบุรุษทั้ง ๓ นั้น www.kalyanamitra.org

พะมหาสมคํด จิโ^ตามใย ๓๑ การขึ้นตัวประธาน ในวิภัตติอาขยาต มีข้อควรจ่าตังนี้ วิภัตติในอาฃยาตมีอยู่ ๕ หมวดเท่านั้น ในแต่ละหมวดจะมีบุรุษอยู่ ๓บุรุษคือ ๑.ปฐมบุรุษ๒.ม้ธยมบุรุษ๓,อุตตมบุรุษ ๑. ปฐมบุรุษ ใช้กับตัวประธานทั่วไป เซ่น ยู่ริโส, นารี, กุสํ, วตฺถูนิ, อๆข้นิ เป็นต้น ๒. มัธยมบุรุษ ใช้กับประธานที่มาจาก ตุมุห ศัพท์ คือ ตฺวิ, (ตุวํ), ตุมฺเห,(โว) ๓. อุตตมบุรุษ ใช้กับประธานที่มาจาก อมฺห ศัพท์ คือ อหํ, มย่ (โน} จำ ง่ายๆ ปฐมบุรุษ เอกวจนะ ขึ้นประธานที่เป็นเอกวจนะ ถ้าเป็นพหวจนะ ขึ้นประธานที่ เป็นพหุวจนะ (ติ วิกัตติปฐมบุรุษ) อุ.ซโน กมม่ กโรติ (อนุติ วิกัตติปฐมบุรุษ) อุ.ชนา กมฺมํ กโรนุติ. มัธยมบุรุษ เอกวจนะ ขึ้น ตฺวิ (ตุวิ) ถ้าเป็นพหุวจนะ ขึ้น ตุมฺเห,(โว) (สิ วิกัตติมัธยมบุรุษ) อุ.(ตุวิ) กึ กมฺม่ กโรสิ. (ถ วิกัตติมัธยมบุรุษ) อุ, (ดุมเห) กึ กมฺมํ กโรถ. อุตตมบุรุษ เอกวจนะ ขึ้น อหํ ถ้าเป็น พหุวจนะ ขึ้น มย์(โน) (มี วิกัตติอุตตมบุรุษ) อุ.(อห่) กึ กมฺมํ กโรมิ. (ม วิกัตติอุตตมบุรุษ) อุ.(มยํ) กึ กมฺมั กโรม. ตัวอย่างเทียบเคียง หมวดวตุตมานา ปรสฺสปทํ อฅุดโนปทํ ยู่ริส. เอก. พหุ. เอก. พหุ. ป. ติ (ปุริโส) อนุติ (ใเริสา) เต (lJรีโส) อนุเต (ใJริสา) ม. สิ (ตุวิ) ถ (ดุม.เห) เส (ตุวิ) วฺเห {ดุมฺเห) อุ. มี (อหิ) ม (มยํ) เอ (อหิ) มฺเห (มย่) ในวิกัตติอาชยาตทั้ง ๘ หมวด ทุกๆหมวดไม่ว่าฝ่ายปรัสสบท หรือศัตตโนบท 1 จะตองขนเหมอนกน www.kalyanamitra.org

๓๒ ภู่มอพสักเกณฑการแปลบาร คำ เชื่อมกันระหว่าง นาม, กิริยาในการใช้สำเนียง อายตนีบาต อายตนิบาตที่ควรสำเหนียกไว้ดังนี้ กล่าว-กะ อยู่-ใน ต้องการ-ด้วย ถาม-ซึ่ง ให้-แก่ ล่งไป-เพี่อ ทำ -ซึ่ง บอก-แก่ ออก-จาก ไป-สู่ เฉพาะ-ต่อ ถึง-ซึ่ง มา-สู่ กลัว-แต่ สมควร-แก่ เพียงพอ-แก่ เพียรไร-แต่ จำ เดิม-แต่ ประโยชน์อะไร-ด้วย ประทุใฬ้าย-ต่อ หลักการแปลโครงสร้างวาจก ในอาฃยาต มีวาจกอยู่ ๕ วาจก คือ ๑. กัตตุวาจก ๒. ก้มมวาจก ๓, ภาววาจก ๕. เหตุก้ตตุวาจก ๕. เหตุก้มมวาจก ๑, กัตตุวาจก หมายถึง ผู้กระทำเอง กิริยาศัพท์ในวาจกนี้ จะต้องประกอบด้วยปัจจัย ๑๐ ตัว คือ อ, เอ, ย, ณุ, ณา,นา, ณฺหา,โอ, เณ,ณฺย ตัวใดตัวหนึ่ง ส์งที่สำคัญในการแปล วาจกนี้จะฃาคเสียไม่ไดั คือ (๑) ประธาน (ก้นว่า) (๒) กิริยาคุมพากย์(ปัจจัยตัวใดตัวหนึ่งใน ๑๐ ตัว) แบบแกหัดแปอในกัตคุวาจก ๑. กสสํ กโรหิ.(แบบ) อ.ท่าน จงกระทำ ซึ่งกุศล ฯ ๒. สุร่ ปิวามิ,(แบบ)อ,เรา ย่อมดื่ม ซึ่งสุราฯ www.kalyanamitra.org

พะนหาสมลค จิ!!ลามโซ ๓. ตสฺส (เถรสุส) โอวาท่ กโรหิ. (แบบ) อ.ท่าน จงกระทำ ซึ่งโอวาท ของพระ เถระนั้นฯ ๔. กหํ อิเม คมิสุสนฺติ.(แบบ)อ.ซน ท.เหล่านี้ จักไป ณ ทํไหนๆ ๕. จิรํ อิธ วสิมฺหา.(แบบ)อ.เรา ท. อยู่แล้ว ไนที่นี้ สินกาลนานฯ ๖. พาส์ น เสเวยฺย.(แบบ)อ.บุคคล ไม่พึงเสพ ซึ่งคนพาลฯ ๒. กัมมวาจก ยกตัวถูกกระทำขึ้นเป็นประธาน กิริยาตัพท์ในวาจกนี้ จงต้องประกอบ ด้วย ย ปัจจัย และลง อิ อาคม หน้า ย เสมอ เช่น คหิยเต, ปจิยเต, สิวิยเต, ล้าแปลง ย ปัจจัยกับที่สุดธาตุเป็นอย่างอื่นไม่ต้องลง อิ อาคม ได้บ้าง ด้งมีรูปที่ปรากฏอยู่ในทีนี เช่น ลพฺภติ, ลพฺภเต,รุจฺจติ, รูจฺจเต, ๅจฺจติ, ๅจุจเต, ปจฺจติ, ปจฺจเต เป็นต้น ล้าลง ย ปัจจัยแล้ว ไม่ต้องลง อิ อาคม ได้บ้างแต่ต้องซ้อน ย พยัญชนะหน้า ย ปัจจัย เช่น สุยฺยเต เป็นต้น สิ่งที่สำคัญในการแปลวาจกนจะขาดเสียไม่ได้ คือ (๑) ประธาน (ยันว่า) (๒) อนภิหิตกัตตา (ตัวตติยาวิกัตติที่แปลว่า ยัน) (๓) กิริยาคุมพากย์ แบบแกหัดแปลในกัมมวาจก ๑. ยํ (กมฺมํ)โว รุจฺจติ.(๒/๓)(อ.กรรม)ใด ยันท่าน ท. ย่อมชอบใจ ฯ ๒. ธีตรา หิ ตาสํ(อิตฺถีน่) ปเวณี ฆฎิยติ.(๒/๑๓)เพราะว่า อ.เขึ้อสาย(แห่งหโรง ท.) เหล่านั้น ยันธิดา ย่อมสิบต่อฯ ๓. อถกึ ทฺวีหติห่สทฺโทน สุยฺยติ.(๒/๓อ)ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น(มีอยู่) อ.เสียง ยันเรา ย่อมไม่ได้ยิน สินจันสองและวันสาม เพราะเหตุไร ฯ ๔. สามเณเรน ธมโม ปาสิยเต.(แบบ)อ.ธรรม ยันสามเณร ประกาศอยู่ ฯ ๕. กสฺมา สิสุโส ครุนา ครหิยเต- (แบบ) อ.ติษย์ ยันครู ย่อมติเตียน เพราะเหตุอะไรฯ ๖. ราชนิเวสนํ คมียเต.(แบบ) อ.นิเวศน์ ชองพระราชา(ยันซน ท.)ไปอยู่ ฯ ๓. ภาววาจก หมายถึง กิริยาตัพท์ที่กล่าวแต่ สักว่า ความมี, ความเป็น เท่านั้น ไม่กล่าว กัตตา (ประธาน) ผู้กระทำ และกรรม (ตัวขยายกิริยา) กิริยาตัพทํในวาจกนี้จะ ต้องประกอบด้วย ย ปัจจัย ประจ่าวาจก www.kalyanamitra.org

^^ คู่JSflWBกเกณ'ทการแ!1ลบาล สิ่งที่สำคัญในการแปลวาจกนี่'จะขาดเสีย!ม่ได้ คือ ๑. ตติยาวิภัตติ (ที่แปลว่า อัน) ๒. กริยาคุมพากย์(ประกอบด้วย ย ปัจจัย) อุ. เตน ภูยเต.(แบบ)อันเขาเป็นอยู่ (ไม่ค่อยมใช้) (f. เหตุคัตตุวาจก หมายถึง กล่าวสิ่งที่เขาไซIห้ผู้อื่นท่า อีกทีหนึ่ง ไม่ได้กระท่าเอง กิริยาคัพท์ในวาจกนี้จะต้องประกอบด้วย ปัจจัยประจำวาจก ๔ ตัว คือ เณ, ณฺย, ณาเป, ณาปย, ตัวใดตัวหนึ่งก่อน สิ่งที่สำคัญในการแปลวาจกนี่จะขาดเสียไม่ไค้ คือ ๑. ประธาน (อันว่า) ๒. ทุติยาวิภัตติ (ที่แปลว่า อัง) ๓. กิริยาคุมพากย์(ประกอบปัจจัย ๔ ตัว ตัวใดตัวหนึ่ง) แบบแกหัดแปลในเหตุกัคตุวาจก ๑. สามิโก สูท่ โอทนํ ปาเจติ.(แบบ)อ.นาย อังพ่อครัว ให้หุงอยู่ซึ่งข้าวสุกฯ ๒. อมฺโภ กุมฺภการ มา มิ นาสยิ.(๒/๑๘} แน่ะนายช้างหม้อผู้เจริญ อ.ท่าน อังเรา อย่าให้ฉิบหายแล้ว ฯ ๓. เอติ (ปณฺณาการิ) นิวตฺเตห.(๒/๒๓) อ.ท่าน อังเครื่องบรรณาการนั่น จง ให้กลับฯ ๔. เต ชนา(วจนิ) อธิวาสยึสุ. อ.ชน ท.เหล่านั้น อังค่า ให้อยู่ห้บแล้ว ฯ ๕. เต(มาตาปิตโร)กลุยาเณ ปุตุเต นิวาเสนฺติ.(แบบ) (อ.มารดาและบิดา ท.) เหล่านั้นอังบุตร ท,ให้ตั้งอยู่ ในกรรมอันงาม ฯ ๖. กึ อมฺหาก่ สุขํ อุปปาเทสฺสติ. อ.ใคร อังความสุข จักให้เกิดขึ้นแก่เท ท. อย่างไร ๕. เหตุคัมมวาจก หมายถึง กล่าวถึงสิ่งที่ถูกเขาไชIห้บุคคลท่าเป็นประธาน กิริยา ตัพท์ในวาจกนี้จะต้องประกอบด้วย ปัจจัย ๑๐ ตัว ในภัตตุวาจกด้วย ลง ณาเป ปัจจัย ในเหตุภัตตุวาจก ลง ย ปัจจัย กับทั้ง อี อาคม หน้า ย www.kalyanamitra.org

WJtม«า«»ค« จํบุดามใย สิ่งที่สำคัญในการแปลวาจกนี้จะขาดเสียไม่ได้ คือ ๑. ประธาน (อันว่า) ๒. ตติยาวิภัตติ (ที่แปลว่า อัน) ๓. ทุติยาวิภัตติ (ที่แปลว่ายัง) บางครั้งเป็น ตติยา. แต่หักเป็น ทุติยา ๔. กิริยาคุมพากย์ แบบ!!กหัดแปลในเหตุกัมมวาจก ๑. สามเกน สูเทน โอทโน ปาจาปียเต.(แบบ)อ.ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่ ฯ ๒. เขตุตานิ สามิเกน จตูหิ ทาเสห้ อฎฺจห โคเณหิ กาสาปิยนเต.(แบบ) อ.นา ท. อันนาย ยังทาส ท. ๔ ให้ไถอยู่. ด้วยโค ท.๘ ฯ ๓. อฤขราน่ สหสฺสานิ ครุนา สิสฺสํ สิขาปิยนุเต.(แบบ) อ.พัน ท. แห่งอักษร ท. อันครู ยังศิษย์ให้เขียนอยู่ ฯ ๔. มาตรา มิ ธมฺโม สาวิยเต.(แบบ)อ-ธรรม อันมารดา ยังเรา ให้พังอยู่ ฯ ๕. อาหาโร มาตรา ปุตุตํ ฦฌฺชาปิยเต.(แบบ) อ.อาหาร อันมารดายังบุตร ให้กินอยู่ ฯ ๖. กุสเลน ครุนา สิสฺสํ สุนุทร่ สิปฺป่ สิกขาปิยเต. อ.ศิลปะดี อันครูผู้ฉลาด ยังศิษย์ให้คืกษาอยู่ ฯ จบวาจกทั้ง ๕ เพียงเท่า'นี้. หลักการแปล ประโยค กัตนอก-ก้มใน ประโยคที่มีกิริยาอาฃยาตภัตตุวาจกคุมพากย์ อยู่นอก ต ปัจจัย กิริยากิตก์กัมม วาจก อยู่ใน ดูสับสนนิดหน่อย แต่ถ้าท่าความเข้าใจก็ไม่ยาก วิธีสังเกตให้นักคืกษาดู ต ปัจจัยที่เป็นภัมมวาจก จะแปลเป็นวิกติภัตตาหนุนคำว่า. เปีน เข้ามา แล้วจะมิธาตุที่รับวิกติ- ภัตตา ได้ ๔ตัว คือ ชน อสฺ, ภู, หุ วางไ^นรูปภัตตุวาจก. อุ. อย่ (รุกฺโข) มเหสฦขาย เหวตาย ปริฤคหิโด ภวิสฺสติ.(๑/๓) (อ.ต้นไม้) นี้ เป็นด้นไม้ อันเทวดา ผู้มีศักดใหญ่ กำ หนดถือเอารอบแล้ว - จักเป็นฯ www.kalyanamitra.org

® ภู่รอพล้ทเทผฑ์การนปดบาร ประโยคเทึยบเคียง ๑. ฅยาปี โกจิ นิทุโทโส ปุริมภเว อกฺกุฎโ^ ภวิสฺสติ. ๑/๙๑} อ.ใครๆ ผู้มีโทษออกแล้ว เป็นผู้แม'อันท่านด่าแล้วในภพอันมีในก่อน จักฟ็นฯ ๒. กสฺสจิ เต ปสยฺห กิณฺจิ (วตฺถุ) อจุฉินฺนํ ภวิสฺสติ. ๑/๙๑ อ.จัตฤไรๆ ของใครๆ เป็นของอันท่านข่มขี่แยงชิงเอาแล้ว จักเป็น ฯ ๓. เขน ปริตฺต่ ปุณฺฝ กตํ โหติ. (๒/๑๓) อ.บุญอันนิดหน่อย เป็นบุญอันเทพ บุตรใด กระทำแล้ว ย่อมเป็น ฯ ๙. (ปณฺณ่) สเจ มยา น ทิฎขํ อสฺส.(๒/๒๑) ถ้าว่า(อ.หนังสิอ) เป็นหนังสืออันเรา ไม่เห็นแล้ว พึงเป็นไชรฯ หลักการแปลรวบถอน หมายความว่า กล่าวถึงหยู่มาก แล้วแยกกล่าวเดี่ยว(ส่วนน้อย) การแปลรวบถอน เรียกชื่อสัมพันธ์ว่า นิทฺธารณ มี นิทฺธารณีย รับ บทนิทฺธารณ เป็นบทที่ถูกรวบ แล้วเป็นที่ถอนออกแห่งบทนาม เมื่อเราแปลหมด เนื้อความแล้ว หนุนคำว่า\"หนา\"เข้ามา บทนิทฺธารณ จะมี^ฐีวิภัตติ กับ สัตตมีวิภัตติเท่านั้น เป็นริภัตติหสัก ส่วนบท นิทฺธารณีย เป็นบทนามนามที่ถูกถอนออกจากนิทฺธารณีย จะประกอบ ด้วยริภัตติอะไรก็ได้ ในริภัตติทั้ง ๗ ทั้ง เอกวจแะ หรือ พหุวจนะ ไม่จำกัด การแปอรวบถอน นิยมแปลได้ ๒ แบบ เท่านั้น คือ ๑. แปลแบบรวบถอน หมายความว่า ตองอ่านเนื้อความที่เกี่ยวข้องให้หมด แล้วจัง แปล อุ. อนฺนปานเภสชฺเชสุ โย ยํ อิจฺฉติ. แปลว่า อ.ภิกบุใด ย่อมปรารถนา ซึ่ง- ในข้าวและนาและเภสัช ท.หนา-วัตอุใด ๒. แปลแบบถอนออกเลย หมายความว่า เวลาแปลไม่ต้องอ่านรวบ อุ. อนฺนปาน- เภสชฺเชสุ โย ย่ อิจฺฉติ.(๑/๔) แปลว่า ในข้าวและนาและเภสัช ท.หนา อ.ภิกชุใด ย่อมปรารถนาซึ่งวัตอุ ใดฯ www.kalyanamitra.org

พระนหาสมคค สํหตามใย ประโยค!ทืยบเคียง f ๑. สัตตมี-ปฐมา อุ. เตชุ ธมุมกถิโก เอกทิวสํ สรีรวลฌฺชํ กตฺวา อุทโกฎ?เก อาจมนอุทกาวเสสํ ภาชเน จเปตุวา นิกฺขมี.(๑/๔๙) อ.ในภิกษุ ท.๒ เหราไโฟ้ หนา-พระธัมมกถึก กระทำแล้ว ซึ่งวล้ญซะ ในสรีระ เหลือไว้แล้ว ซึ่งนํ้าเป็น เครื่องซ่าระอันเหลือลงในภาชนะ ในซุ้มแห่งนํ้า ออกไปแล้ว ในว้นหนึ่ง ฯ ๒. สัตตมี-ทุติยา อุ. ■'อทํปิ อยุเยน สทฺธึ คจฺฉนฺโต ทสสุ ปณฺฌกิริยาวต.ถูสุ เอกํ (ปณฺณกิรยาวตุถุ่) ลภิสฺสามี.(รติ)(๑/๑๗) แม้ อ.กระผม ไปอยู่ กับด้วยพระผู้ เป็นเจ้า จักได้ ซึ่ง-ในบุญกิริยา วัตลุ ท.สิบ หนา-บุญกิริยาวัตลุอย่างหนึ่ง ฯ ๓. สัตตมี-ตติยา อุ. เตชุ อนาถปีฌฺฑิเกน เอกทิวสํ สตฺถารํ ปญโห น ปุจฺฉิตยู่พฺโพ (โหติ)(๑/๔) อ.ปญหา เป็นปัญหา อัน-ใน ชน ท.๒ เหล่านั้น หนา-เศรษฐี ซึ่อว่า อนาถบิณฑิกะ ไฝเคยทูลถามแล้ว ซึ่งพระศาสดา ในวันหนึ่งนั่นเทียว (ย่อมเป็น)ฯ ๔. สัตตมี-จตุตถี อุ. เตสุ อริยสาวกาน่ เทฺวเยว กิจฺจานิ อเห^.(๑/๕) อ. กิจ ท.๒ นั่นเทียว ได้มีแล้ว แก่-ในมนุษย์ ท.เหล่านั่น หนา-มนุษย์ ท. ผู้เป็นอริยสาวกฯ ๕- ฉัฎฐี-ปฐมา อุ. อหเมว กนฺทตํ (อมหากิ) พาลฺยตโร {โหติ).{๑/๒๗) อ,-แห่งเรา ท. ผู้ครื่าครวญอยู่ ในที่นี้ หนา-ใคร เป็นผู้มีความเป็นแห่งคนพาลกว่า {ย่อมเป็น) ฯ ส่วนความนิยม ไม่ว่าเฉลยสนามหลวง หริอสำนักต่างๆ นิยมแปลทั้งสองแบบ ทั้งนั่ก็สุดแล้วแต่นักสืกษาจะถนัดในการแปส www.kalyanamitra.org

คู่>3«พ«ก1กณฑ'การนปf»บาร ประโยค อนาทร (ชื่อสัมพันธ์) อนาทร แปลว่า \"ไม่เอื้อเฟิอ\" เป็นซื่อของบทนามนามที่ประกอบด้วย ส. นํ แปลออกสำเนียงอายตนิบาตว่า\" เมื่อ\" ทำ หน้าที่เป็นประธานในประโยคแทรก กิริยา คุมพากย์ ประโยค อนาทร นั้น ใช้ปัจจัยในกิริยากิตก์ ๓ ต้ว คือ อนุต, มาน, ต ต้อง ประกอบกิริยาให้มี ลิงค์, วิภ้ตติ, วจนะ ตรงกับบทประธานเสมอ ประโยค อนาทร นี้ นิยมเรียกกันว่า ประโยค ■'แทรก\" เพราะมีประโยคใหญ่ เป็นประโยคยืน มีประโยค อนาทร ประโยคเล็กเป็นประโยคแทรก - แทรกหน้าประโยคใหญ่บ้าง ทำ มกลางประโยคใหญ่บ้าง เนี้อ ความของประโยคอนาทรไม่เอื้ออำนวยกล่าวเรื่องที่ต่างไปจากประโยคใหญ่ ป็!. อุ. เสฎขิโน อิทณฺจิทณุจ (กมฺมํ) กโรนฺตสฺเสว, ทารโก วฑฺฒิโต. ๒/๑๗ เมื่อเศรษฐี กระทำอยู่ (ซึ่งกรรม)นี๋ดวยๆ นั่นเทียว, ' อ.เด็ก เติบโตแล้ว ฯ อิตฺ. อุ. ตสุสา(ภริยาย) ปจฺฉิโต เอกํ (ปูวิ)คณหนุติยา, สพฺเพ(ปูวา) เอกาพทฺธา อลฺลยึสุ. ๓/๓๓ (เมื่อภรรยา)นั่น ถือเอาอยู่ ซึ่ง ขนมชิ้นหนึ่ง จากกระเช้า, อ.ขนม ท.ทั้งปวง เนึ่องเป็นอันเดียว กันแล้ว ติดกันแล้ว ฯ นป๋สกลิงค์ ก็มีวิธีใช้เหมีอนกับปูลิงค์ ฯ ประโยคเทียบเคียํง ๑. สุามเณฺรสฺส ธมุมํ กเถนุตสฺส อนุธกาโร ชาโต. เมื่อสามเณรแสดงอยู่ ซึ่งธรรม อ.หมอกผู้กระทำซึ่งความมีด เกิดแล้ว ฯ ๒. โอคาหนุตสฺส เม อุตฺติณฺณสุส หตฺกินีโย กายํ อุปนิฆ่สนุติโย คจฺฉนุติ.(๑/๕๓) เมื่อเรา หยั่งลงอยู่ ข้ามชิ้นแล้ว อ.ช้างพัง ท.เช้าไปเสืยดสีอยู่ ซึ่งกาย ย่อมไป ฯ ๓. ตสุส อิมินา นิยาเมเนว ชืวิตํ กปุเปนุตสุส ปญจปณฺณาส วสฺสานิ อติกฺกนตานิ.(๑/๑๗) เมื่อนายชุนทะนั่น สำ เร็จอยู่ ซึ่งชีวิต โดยทำนองนี้ นั่นเทียว อ,ปี ท. ๕๕ ก้าว ล่วงแล้ว ฯ ๔. ภนุเต ชุนุทสูกริกสฺส เคหทุวารํ ปีทหิตฺวา สูกรานํ มาริยมานาน่ อชฺซ สตฺตโม ทิวโส.(๑/๑๑(ร!') ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อสุกร ท. อันบุรุษผู้'ฆ่าซึ่งสุกร ชิ้อว่า www.kalyanamitra.org

พะมนาสมคิ['เ จบุตามโย . ^®'' ชุนทะ ปิดแล้ว ซึ่งประดูแห่งเรือน ให้ตายอยู่. อ.วันนี้ เป็นวันที่เจ็ด (ย่อมเป็น)ฯ cT. ตํ กโรนุตสุ!สว อสุส (พุราหฺมณสุส) โรโค พลวา อโหสิ.(๑/๒๓) เมื่อ พราหมณ์ใงั้น กระทำอยู่ ซึ่งยาใทั้!นั่นเทียว อ.โรค เป็นสภาพมีกำลัง ได้เป็นแลัว ฯ ประโยคลักขณะ (ชื่อสัมพันธ์) ประโยคลักขณะ เป็นชื่อของบทนามนามที่ประกอบด้วย สมี, สุ แปลออกสำเนียงอายตนิบาตว่า 'พ฿฿0 ท้าหน้าที่เป็นประธานในประโยคแทรก กิริยาคุม พากย์ ประโยคลักขณะนั้นใช้ปัจจัยในกิริยากิตก์ ๓ ตัว คือ อนุต, มาน, ต ต้องประกอบ กิริยาให้มี ลิงค์, วิภัตติ, วจนะ ตรงภับบทประธานเสมอ ประโยค ลักขณะนี้ นิยมเรียกกันว่า ประโยค \"แทรก\" เพราะมีประโยคใหญ่เป็นประโยคยืน มีประโยคลักขณะประโยคเล็ก เป็นประโยคแทรก แทรกหน้าประโยคใหญ่บ้าง ท่ามกลางประโยคใหญ่บ้าง เนี้อความของ ประโยคลักขณะไม่เอิ้ออำนวยกล่าวเรื่องต่างไปจากประโยคใหญ่ บ้ลิงค์ ต ปัจจัย อุ. อยํ อิตฺถี อตฺตโน สามิเก มเต อญฌํ ลภิ. อ.หญิงนี้ ครั้นเมื่อสามี ของตน ตายแล้ว ได้แล้ว ซึ่งสามีอื่น.ฯ อิตถีลิงค์ มาน ปัจจัย อุ. วิภายมานาย ปน รตฺติยา วลาหกวิคโม จ อรุณุคคมนฌุจ ตสฺสา คพฺภๅฏจานฌฺจ เอกฤขเณเยว อโหสิ,(๒/cf) กั๊ครั้นเมื่อราตรี สว่างอยู่ อ.อ้นไปปราศแห่งเมฆด้วย อ.อ้นขึ้นไปแห่งอรุณด้วย อ,อ้นออกแห่งลัตว์ผู้เกิดแล้ว ในครรภ์ แห่งพระเทวีนั้นด้วย ได้มีแล้ว ในขณะอ้นเดียวกันนั่นเทียว ฯ นป๋สกลิงค์ ต ปัจจัย อุ. อมุพสฺส ผเลสุ สาขาย ปติเตสุ ทารกา วิลุมฺปนุติ. ครั้นเมื่อผล ท. แห่งมะม่วง หล่นแล้ว จากกิ่ง อ.เด็ก ท.ย่อมยอแย่ง ฯ หมายเหตุ อนีย, ตพุพ ปัจจัย มีใช้บ้างแต่น้อย ประโยคเทียบเคืยง ). รณ.เณ อาคเต สพุเพ ชนา ปกุกมนุติ. ครั้นเมื่อพระราชา เสด็จมาแล้ว อ.ชน ท,ย่อมหลีกไปฯ ๒. นิโครธสฺส ปตฺตานี เทเว ๅฎเซ ผลนุติ. อ. ใบ ท. แห่งต้นไทร ครั้นเมื่อ ฝนตกแล้ว ย่อมผลิ ฯ www.kalyanamitra.org

คู่มอพลักเกณฑ์การแปลบาร ๓..ทารกา, อตฺดโน หตฺเถ ผเล มาตรา คหิเต โรทนฺติ. อ. เด็ก ท. ครั้นเมื่อ ผลในมือ ของตน อ้นมารดา ถือเอาแล้ว ย่อมร้องไห้ ฯ ๔. ปิตา, อตฺตโน ปุตฺเต วุฑุฒึ ปตุเด ตสฺส อตุกาย กุมาริกํ อาเนสิ. อ. บิดา ครั้นเมื่อบุตร ของตน ถึงแล้ว ซึ่งความเจริญ นำ มาแล้ว ชื่งนางกุมาริกา เพี่อประโยชน์ แก่บุตร ฯ ๕. ทสิทฺทา อตฺตโน ธเน นฎเจ โสจนฺติ, อ. คนจน ท.ครั้นเมื่อทร้พย์ ของตน ^ * ^ายแล้ว ย่อมเศร้าโศก r วิธีการแปลประโยค \"แทรก\" ยค^อนาทร ก็ดี ประโยค ล้กฃณะก็ดี เป็นประโยคแทรก มีวิธีการแปลด้งนี้ ๑. ล้าแทรกหน้าประโยคใหญ่แปลก่อนได้เลย เซ่น อตีเด พาราณสิยํ พฺรหฺมทตุเต รชฺชํ กาเรนุเต ราซเคเห นิพทฺธ่ อฏจ ปจุเจกพุทฺธา ฦณฺชนฺติ. ๒/๖0 ในกาลอ้นล่วงไปแล้ว ครั้นเมื่อพระเจ้าพรหมทัต ยังบุคคลให้กระทำอย่ซึ่งความเป็นแห่งพระราชาในเมืองพาราณสื อ. พระบิจเจกพุทธเจ้า ท. แปด ย่อมฉันในพระราชร้งเน้องนิตย์ ฯ ๒. ล้าแทรกมาท่ามกลางประโยคใหญ่ ให้แปลเนื้อความประโยคใหญ่ไปตามล่าด้บจน ถึงประโยคแทรก หยุดเนื้อความประโยคใหญ่ไว้ แปลประโยคแทรกให้หมด แล้วเรั้มแปล เนื้อความประโยคใหญ่ต่อไปจนจบประโยค เช่น อเถกทิวส์ ราชา, ปจุเจกพุทฺเธชุ คเตสุ, ตา อิตถิโย อาทาย นทิย่ อุทกกีฟ้ กีห้ตุ่ คตา. ๒/๖๐ ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง อ.พระราชา ครั้นเมื่อพระ!]จเจก พุทธเจ้า ท. ไปแล้ว ทรงพาเอา ชึ่งหญิง ท. เหล่านั้น เสด็จแล้ว เพี่ออันทรงเล่น ทรงเล่นซึ่งนํ้าในแม่นั้า ฯ www.kalyanamitra.org

๔๑ ms«พาสมคิด จิบุตามโย หลักการแปล วิกติกัตตา บทนามนามซึงใช้เป็นวิเสสนะทรึอ คุณนาม, นามกิตท กรยากิตก,สมาส.ตนธต. บทพิเศษ ต้องการจะเน้นบท หรอเนือความให้ทนักแน่นกวิ'แ'ศิพ เวลาแปลให้หนุนคำวิา j|!k— เช้ามา เรยกวิา วิกติก้ตตา การแปลบทวิกติกัตตา ซึ่งให้เป็นวิเสสนะ จะอยูใกล้กับกิริยาศ้พท์ที่สำเร็จมาจาก ทุ, ภ, อส, ชน, ธาตุ ตัวใดตัวหนึง ทีมีอยู่แล้วและเต็มเช้ามา ถ้าบทวิกต็กัตตาอยู่กสา'3ๆ ก็ให้เต็ม ทุตฺวา ถ้าอยู่สุดประโยค ให้เอา^ตุทัง ตัวๆ ใดตัวหนึงประกรบด้วยกรยา อาขยาตฯ บทวิกต็กัตตาในประโยค กัตตุวาจก, และเหตุกัตตุวาจก จะประกอบด้วย ปฐมา วิภ้ตต็ ในประโยค กัมมวาจก, ภาววาจก, เหตุกัมมวาจกจะประกอบตติยาวิกัตต็ ก บทวิกต็กัตตาที่สำเร็จมาจากคุณ ต้องมี สิงต์, วิภัตติ, และวจนะ เป็นไปตามบทประธาน แต่ถ้าบทวิกต็ภัตตานั้นเป็นนามนามห้งคงสิงศ์ วจนะ. ใว้ตามเติม (คุณนาม) อุ. นหิ ธมฺโม อธมุโม จ อุโภ สมวิปากิโน(โหนุติ). (๑/๒®) อ.ธรรมด้ว^ อ สภาพมิใช่ธรรมด้วย ทั้งสอง ฟ้นสภาพมีผลเสมอก้น (ย่อมเป็น) หามิได้ •า (นามนาม)อุ. อกุสลา ธมมา ปน อิธ โลเก จ ปรโลเก จ มลเมว (โหนุติ).(๗/๓๓®') ส่วนว่า อ. ธรรม ท. อันเป็นอกคล เป็นมลทิน ในโลกนีด้วย ในโลกอึนด้วย นันเทียว (ย่อมเป็น) ฯ (กัตตุฯ) อุ. อวิซุชา ปรมํ มลํ (โหติ).(๗/๑๖)อ.อวิชชา เป็นมลทิน อย่างยิ่ง (ย่อมเป็น)ฯ (ก้มมฯ) อุ. มชุฌิมวเย อปุปมตฺเตน ทุตุวา กสสํ กาตพฺฟ. {๖!๕) อ.กุศล อันบุคคล เป็นผู้ไม่ประมาทแก้ว เป็น พึงกระท่า ในมัชฌิมวัยฯ (ภาวฯ) อุ. (อยฺเยน) อกุสีเดน ภวิตพุฟ■อารทธวิริเยน, อสเชน อมายาวินา ทุตุวา กฤยาณชฺฌาสเยน ภวิตพุฟ. (๑/๖๓) (อันพระคุณเจ้า)เป็นผู้ไม่เกียจคร้านแก้ว เป็นผู้มี ความเพียรปรารถแก้ว พึงเป็น (อันพระคุณเจ้า)เป็นผู้ไม่โก้อวด เป็นผู้ไม่มีมารยา เป็น ผู้มีอัธยาศัยอันงาม พึงเป็นฯ (เหตุก้คฯ) อุ. สา ปน ธมฺมํ สุตฺวา สกทาคามิผลํ ปตฺวา, ๆมาริกา ว ทุตฺวา ตถารูเปน อผาสุเกน อาตุรา อาหารุปจฺเฉท่ กตฺวา ปิตร๋ ทฎจุกามา ทุตุวา ปกุโกสาเปสิ. (๑/๑๙๘) ก็ www.kalyanamitra.org

๔๒ ดู่>4อหสัณกโนฑ์ทา?แปลบาลี อนางสุมนเทวีนัน ฟังแล้ว ซึ่งธรรม บรรลุแล้ว ซึ่งพระสกทาคามิผล ฟ้นเด็กเทียว เป็น ผู้กระวนกระวาย ด้วยโรคอ้นหาความสำราญมิได้ อ้นมีภาวะอย่างนั้น เป็น กระทำแล้ว ซึ่ง การเข้าไปตัดซึงอาหาร เป็นผู้ใคร่เทืออันเห็น ซึ่งบิดฺา เป็น (ย้งบุคคล} ให้เรียกมาแล้วฯ (เหตุก้มฯ) อุ. ตํ ภาเวตุกาฌน รโหคเตน' ปฎิสฤลลีเนน (หุตฺวา) •'มรณํ ภวีสฺสติ, ชีวีตินฺทฺริยํ ■อุปจฺฉิฬฺสุสติติ วา ■'มรณํ มรณนุติ\" วา โยนิโสมนสิกาโร ปวตฺเตตพฺโพ. (วีสุทธิมคฺค ๒/๑) อ,การกระทำไวีในใจโดยอุบายอ้นแยบคาย ว่า \"อ.ความตาย จักมี, อ.อินทรีย์คือชีวีต จักขาดสูญ\" ตังนีหรือ หรือว่า \"อ.ความตาย อ.ความตาย ดังนี้ อ้น พระโยคาวจร ผู้ใคร่เทืออ้นยังมรณสตินันให้มิ เป็นผู้ไปแล้วในที่ลับ เป็นผู้เร้นลับ (เป็น) พึงให้เป็นไปฯ บทนามนาม ประโยคเทียบ์เคียง่ - บทคุณนาม ๑. ปมไโท มจุจุโน ปทํ (โหติ).(๒/๖๓) อ.ความประมาท บทนามกิตก์ เป็นทาง แห่งความตาย (ย่อมเป็น)ฯ บทกิริยากิตก์ ๒. อุปาสกา มยํ สมคฺคา ชาตา.(๑/๕๓) ดูก่อนอุบาสกและ บทสมาส อุบาสิกา อ. ข้าพเจ้า ท, เป็นผู้พร้อมเทียงกัน เกิดแล้วฯ ๓. (โหติ) สุกรํ สาธุนา สาธุ,(๖/๒๑) อ.ความดี เป็นกรรม บทดัทธิต บทพิเศษ อันคนดี กระทำได้โดยง่าย(ย่อมเป็น)ฯ ๔.■ โส(สามเณโร)สีลวีปตฺติ ปตฺโต ภวีสุสติ.(๑/๑๕) (อ.สามเณร) นั้น เป็นผู้ถึงแล้ว ซึ่งความวิบัติแห่งคืล จักเป็นฯ ๕. เอโส (ติสุโส) มหาเถโร ภวีสฺสติ. (๑/๔๕) (อ.พระติสสะ) นั่น เป็นพระมหาเถระ จักเป็นฯ ๖. สพฺเพ (ชนา) อุโปสถิกา โหนุติ {๒/๔๓) (อ.ชน ท.) ทั้งปวง เป็นผู้รักษาซึ่งอุโบสถ ย่อมเป็นฯ ๗. จฤขุนา สํวโร สาธุ (โหติ).(๖/๔๔) อ.การสำรวม ด้วยจักษุ เป็นการสำรวมขังประโยชนไห้สำเร็จ•ฯ (ย่อมเป็น) www.kalyanamitra.org

พระมพาสมคพ จิบุตามใย ' ®• หลักการแปลบท วิกติลัมมะ บทวิเสสใ;ะที่เข้าได้กับกิริยาที่สำเร็จมาจาก กรุ ธาตุ หรือ จรุ ธาตุที่เป็นกัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก บทวิกติกัมมะ จะปรัะกอบด้วยทุติยาวิกัตติ ที่เป็นกัมมวาจกและเหตุ กัมมวาจก บทวิกติกัมมะ จะประกอบด้วยปฐมาวิกัตติ การแปลบทวิกติกัมมะจะด้องหนุนคำว่า ใใ? หรือ ใใ?เป็น บทที่แปลว่า ใใ? หรือ ใใ?เป็น ห้ามออกสำเนียงอายตนบาต บทวิกติกัมมะ มวจนะ และลิงค์ เสมอกัน และไม่เสมอกันกับบทนามได้แต่ต้องมีวิภัตติเสมอกับบทนาม ส่วนบทวิกติกัมมะ ซึ่งสำเร็จมาจาก ต ปัยจัยกิริยากิตก์ ก็มีลักษณะเดียวกัน ต่างแต่ กิริยากิตก์ แปลเป็นคุณ (เข้ากับ กรุ ธาตุ) อุ. อถ นํ สตฺถา ต่ 'ผฺยาธ็นา อภิภูติ กตฺวา ทสุเสสิ. (๕/๑๑๐) อ.พระศาสดา ทรงแสดงแล้วซึ่งรูป แห่งหญิงนั้น กระทำใใ?เป็นรูป อันพยาธิ ครอบงาแล้วฯ (เข้ากับ จรุ ธาตุ) อุ. ธมฺม่ จเร สุจริติ.(๖/๓๒) อุ.บุคคล พึงประพฤติ ซึ่งธรรม ใใ?สุจริตฯ ประโยคเทียบเคียง ๑. (เข้ากับ กรุ ธาตุที่เป็นกัตตุวาจก) อุ.โส (พนุธุโล)วินิจฺฉย่ค■แตฺวา ต่ อฎฺฎํ ดีเรตฺวา สามิกเมว สามิกํ อกาสิ. (๓/๑๘) อ.เสนาบดีชื่อว่าพนธุละนั้นไปแล้ว สู่โรงเป็นที่วินิจฉัย พิจารณาแล้วซึ่งคดีนั้นได้กระทำแล้ว ซึ่งเจ้าของนั่นเทียว ใใ?เป็นเล้าของฯ ๒. {เข้ากับ กรุ ธาตุที่เป็นกัมมวาจก) อุ.อฎรืน่ นครํ (อิทํ สรีร่) กต่ มํสโลหิตเลปนิ. (๕/๑๑) (อ.สรืระนี้) อันกุศลากุศลกรรมกระทำแล้ว ใใ?เป็นนคร แห่งกระดูก ท. อันเนี้อ และเลือด เป็นเครื่องฉาบฯ ๓. (เข้ากับ กรุ ธาตุที่เป็นเหตุกัตตุวาจก) อุ.ตุลาสงฺฆาฎทฺวารกวาฎวาตปานโคปาณ สิจฺฉทนิฎุจกา สพฺพาปิ สุวณฺณาทิขจิตา ว กาเรดุวา ฯเปฯ (๗/๓๐) ฯลฯ ให้กระทำแล้ว ซึ่งชื่อและกรอบเช็ดหน้าและบานประตูและบานหน้าต่างและเซิงกลอนและอิฐเป็นเครื่องบุง ท. แม้ทั้งปวง ใใ?งดงามด้วยทองเป็นตนเทียวฯ ๙. (เข้ากับ กรุ ธาตุ ที่เป็นเหตุกัมมวาจ่ก) โส (วิหาโร) จ มหา การิโตติ มหาวิหาโร. (ลัททนิติ) อนึ่ง อ,พระวิหารนั้น อันทายกให้กระทำใใ?ใหญ่แล้ว เพราะเหตุนั้น (อ.พระ www.kalyanamitra.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook