รายงานสรุปผลการดำเนนิ โครงการ ห้องเรียนสีขาว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล วันท่ี 14 ธันวาคม 2565 ณ กศน.ตำบล 16 แห่ง ดำเนินการโดย ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมอื งหนองคาย สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดหนองคาย
คำนำ รายงานผลการดำเนนิ งาน โครงการ หอ้ งเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ท่ีจดั โครงการขึน้ เพื่อให้ นักศึกษาในพ้ืนที่ กศน.ตำบลทัง้ 16 ตำบลของอำเภอเมืองหนองคาย หอ้ งเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และปลอดอบายมขุ และได้เรียนรู้หลากหลายรูปแบบและความสามารถนำความรู้ท่ีได้มา ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ ขอบคุณ ผ้อู ำนวยการอำเภอเมอื งหนองคาย บุคลากร กศน.อำเภอเมือง หนองคาย และผู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ งในการจดั โครงการครัง้ นเ้ี สรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี คณะผ้จู ัด ฯหวังเปน็ อยา่ งยง่ิ ว่าในการดำเนนิ โครงการ ฯในครั้งนจ้ี ะเปน็ ประโยชน์กับ กลุม่ เป้าหมายและมีการขยายผลต่อยอดองค์ความรใู้ ห้กับคนในครอบครวั ชมุ ชน สังคมตอ่ ไป กศน.อำเภอเมืองหนองคาย
สารบญั เรื่อง หนา้ คำนำ 1-6 7-10 ส่วนท่ี 1 บทนำ 11-18 19-20 ส่วนที่ 2 วธิ ดี ำเนนิ การ ส่วนที่ 3 การดำเนินการ ส่วนที่ 4 สรปุ ผลการดำเนนิ การ ภาคผนวก ภาพกิจกรรม ใบลงช่ือผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ คำสงั่ แต่งต้ัง โครงการ คณะผู้จดั ทำ
บทที่ 1 บทนำ นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอื่ ง นโยบายการจัดการศกึ ษาของ กระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 เมอ่ื วันท่ี 25 มิถุนายน พ.ศ. 2564 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เม่ือวันที่ 29 ตลุ าคม 2564 ไปแล้ว นนั้ เนือ่ งจากในหว้ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่ึงทำใหท้ ุกคนต้อง ปรบั เปลยี่ นชีวิตให้เขา้ กบั วถิ ีชีวติ ใหม่ หรือ New Normal จงึ มคี วามจำเปน็ ต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินการ ให้มีความปลอดภัยทง้ั ต่อผเู้ รยี น ข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย ดงั นั้น จงึ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร จึงประกาศนโยบายและจดุ เน้นของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ดงั นี้ หลักการตามนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และแผนย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต รวมท้ังแผนการปฏิรปู ประเทศด้านการศึกษา (ฉบบั ปรับปรงุ ) และนโยบายรัฐบาลทง้ั ในสว่ นนโยบายหลักด้านการปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้ และการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทย ทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งด่วน เรื่อง การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย นอกจากน้ี ยงั สนับสนนุ การขบั เคลอ่ื นแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาตปิ ระเด็นอ่นื ๆ ท่ีเก่ียวข้อง รา่ ง แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) โดยเฉพาะหมดุ หมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะ สูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคตแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมทั้ง นโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ ทั้งในด้านโอกาส ความเทา่ เทยี ม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมสี มรรถนะทส่ี ำคัญจำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 และมคี วามพร้อม ร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคง มั่งคั่งและยั่งยนื ดังนั้น ในการเร่งรัดการทำงานภาพรวมกระทรวง ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นความไว้วางใจให้กับสังคมและผลักดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและ ประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กำหนดหลักการสำคัญในการประกาศนโยบายและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ไว้ดังนี้ สร้างความเชือ่ มัน่ ไวว้ างใจให้กบั สงั คม โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งผูเ้ รยี นและประชาชน โดยให้ทุกหนว่ ยงานนำรูปแบบ การทำงานโดยบรู ณาการการทำงานรว่ มกนั และปฏบิ ตั ิหน้าทีด่ ้วยความโปร่งใส ความรับผิดชอบ ความเป็น อนั หนงึ่ อนั เดียวกนั สนับสนุนให้ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทกุ คนดำเนนิ การตามภารกิจด้วยความรบั ผิดชอบ ตอ่ ตนเอง องคก์ ร ประชาชนและประเทศชาติ โดยใหค้ วามสำคัญกบั การประสานความร่วมมือจากทุกภาคสว่ น ผา่ นกลไกการรับฟัง ความคดิ เหน็ มาประกอบการดำเนินงานทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา ดำเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ีไดป้ ระกาศและแถลงนโยบายไว้แลว้ เมอ่ื วนั ท่ี 25 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เพอื่ มุ่งเนน้ ผลใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงของภาคการศกึ ษาท่จี ะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ผูเ้ รยี นและ ประชาชนอยา่ งมีนยั สำคัญ
นโยบายและจุดเนน้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. การจัดการศกึ ษาเพ่อื ความปลอดภยั 1.1 เร่งสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นของสังคม และป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิต รูปแบบใหม่ และภัยอื่นๆ โดยมีการดำเนินการตามแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และ บุคลากรในรูปแบบต่างๆ อย่างเข้มข้น รวมทั้งดำเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลการดำเนินการ และแสวงหาสถานศกึ ษาท่ีดำเนนิ การได้ดเี ยย่ี ม (Best Practice) เพื่อปรบั ปรุง พฒั นาและขยายผลตอ่ ไป 1.2 เรง่ ปลกู ฝังทัศนคติ พฤตกิ รรม และองคค์ วามรู้ท่ีเกีย่ วข้อง โดยบูรณาการอยู่ในกระบวนการจัดการเรยี นรู้ เพื่อ สรา้ งโอกาสในการเรยี นรแู้ ละสรา้ งภูมิคุม้ กนั ควบคู่กับการใชส้ ่ือสงั คมออนไลน์ในเชงิ บวกและสร้างสรรค์ พร้อมท้ัง หาแนวทางวธิ กี ารปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ทีเ่ กิดขน้ึ กบั ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา 1.3 เสรมิ สร้างการรบั รู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนัก และสง่ เสริมคณุ ลักษณะและพฤติกรรมท่พี งึ ประสงค์ดา้ น สิง่ แวดล้อม รวมทั้งการปรับตัวรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต 1.4 เร่งพัฒนาบทบาทและภารกจิ ของหน่วยงานด้านความปลอดภยั ที่มีอยูใ่ นทุกหนว่ ยงาน ในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารให้ดำเนินการอย่างคล่องตัวและมปี ระสิทธภิ าพ 2. การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้สถานศกึ ษานำหลักสตู รฐานสมรรถนะไปสกู่ ารปฏบิ ัติอยา่ งเตม็ รูปแบบ เพ่ือสร้าง สมรรถนะทีส่ ำคญั จำเปน็ สำหรบั ศตวรรษท่ี 21 ให้กับผู้เรยี น 2.2 จดั การเรยี นรู้ให้ผูเ้ รยี นได้ค้นพบพรสวรรค์ ความสนใจ ความถนดั ในอาชพี ของตนเอง ด้วยการเรียนรูจ้ ากการ ลงมือปฏิบัตจิ รงิ (Active Learning) ท้ังในห้องเรยี น สถานประกอบการ รวมท้ังการเรยี นรู้ ผา่ นแพลตฟอรม์ และ หอ้ งดจิ ทิ ลั ให้คำปรกึ ษาแนะนำ 2.3 พฒั นาและบรู ณาการกระบวนการจดั การเรียนรแู้ ละการวัดประเมนิ ผลฐานสมรรถนะสกู่ ารปฏบิ ัตใิ นชนั้ เรียน เพอื่ สรา้ งความฉลาดรดู้ ้านการอ่าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างตรรกะความคดิ แบบเป็นเหตุเปน็ ผลให้ นักเรียนไทยสามารถแข่งขนั ไดก้ บั นานาชาติ 2.4 พัฒนาทกั ษะดิจิทลั และภาษาคอมพวิ เตอร์ (Coding) สำหรบั ผเู้ รยี นทุกช่วงวยั เพื่อรองรบั การเปลี่ยนแปลงสู่ สงั คมดิจิทัลในโลกยุคใหม่ 2.5 พัฒนารปู แบบการจัดการเรยี นการสอนประวตั ศิ าสตร์ หนา้ ท่พี ลเมืองและศลี ธรรมให้มีความทันสมยั นา่ สนใจ เหมาะสมกบั วัยของผูเ้ รียน ควบคู่ไปกบั การเรียนร้ปู ระวัติศาสตรข์ องทอ้ งถิน่ และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความ เป็นพลเมืองที่เขม้ แขง็ 2.6 จัดการเรยี นรตู้ ามความสนใจรายบคุ คลของผเู้ รยี นผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มท่หี ลากหลายและแพลตฟอร์มการ เรียนร้อู จั ฉรยิ ะท่รี วบรวมขอ้ มูลเกีย่ วกับกระบวนการจดั การเรยี นรู้ สื่อการสอนคณุ ภาพสงู รวมทัง้ มกี ารประเมิน และพัฒนาผเู้ รียน 2.7 ส่งเสริมการให้ความรแู้ ละทกั ษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ใหก้ ับผเู้ รยี น โดยบูรณาการ การทำงานร่วมกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง เช่น กระทรวงการคลงั กองทนุ การออมแหง่ ชาติ (กอช.) ธนาคารกรุงศรี อยุธยา ธนาคารออมสิน สหกรณ์ ฯลฯ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ และการเผยแพร่สือ่ แอนิเมชนั รอบรู้เรอื่ งเงนิ รวมทัง้ สง่ เสรมิ ให้เกิดการลงทนุ เชงิ พาณชิ ย์เพ่ือใหเ้ กิดผลตอบแทนท่ีสูงขน้ึ
2.8 ปรับโฉมศูนย์วทิ ยาศาสตร์และศนู ย์การเรียนรู้ ใหม้ ีรูปลกั ษณท์ ี่ทนั สมยั สวยงาม รม่ รน่ื จูงใจ ให้เขา้ ไปใช้ บริการ โดยมีมมุ คน้ หาความรู้ดว้ ยเทคโนโลยที ันสมยั มมุ จัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ คิดวเิ คราะหข์ องผูเ้ รยี น หรอื กล่มุ ผ้เู รียน และการรว่ มกจิ กรรมกับครอบครัว หรอื จัดเป็นฐานการเรยี นร้ดู า้ นต่างๆ ทผ่ี ู้เรยี นและประชาชน สามารถมาลงทะเบยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรม และได้รับเอกสารรบั รองการเขา้ ร่วมกิจกรรม เพ่ือนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นสว่ น ทเ่ี ก่ียวข้องหรอื สะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ รวมท้ังมีบรเิ วณพักผอ่ นทีม่ ีบริการลักษณะบ้านสวน กาแฟเพื่อการเรียนรู้ เปน็ ต้น 2.9 สง่ เสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้มีการนำผลการทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติไปใช้ในการวางแผนการ พัฒนาการจดั การเรยี นการสอน 2.10 พฒั นาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาทเ่ี น้นสมรรถนะและผลลัพธ์ทตี่ ัวผ้เู รียน 3. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษาทกุ ช่วงวยั 3.1 พฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศของนกั เรียนเปน็ รายบุคคล เพ่ือใช้เป็นฐานข้อมลู ในการส่งต่อไปยังสถานศึกษา ในระดบั ทีส่ ูงขน้ึ โดยเฉพาะระดับการศึกษาภาคบังคับ เพอ่ื ปอ้ งกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน 3.2 ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ที่มีอายตุ ้ังแต่ 3 ปีขน้ึ ไปทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษา เพอ่ื รับการพฒั นาอยา่ ง รอบดา้ น มคี ุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการร่วมงานกับทกุ หนว่ ยงานที่ เก่ยี วข้อง 3.3 พัฒนาข้อมูลและทางเลือกทหี่ ลากหลายให้กบั ผเู้ รยี นกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ และกลมุ่ เปราะบาง รวมทัง้ กลุ่ม NEETs ในการเขา้ ถึงการศึกษา การเรยี นรู้ และการฝึกอาชีพ อยา่ งเทา่ เทียม 3.4 พฒั นาระบบสนบั สนนุ การจัดการศึกษาขั้นพ้นื ฐานโดยครอบครัว (Home School) และการเรยี นรู้ที่บา้ นเปน็ หลัก (Home–based Learning) 4. การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะอาชีพและเพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั 4.1 พัฒนาหลกั สูตรอาชวี ศึกษา และหลกั สูตรวชิ าชพี ระยะส้ัน แบบโมดูล (Modular System) มกี ารบรู ณาการ วชิ าสามญั และวชิ าชีพในชดุ วชิ าชีพเดยี วกนั เช่อื มโยงการจัดการอาชีวศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบและระบบทวิ ภาคี รวมทัง้ การจดั การเรียนรู้แบบต่อเน่ือง (Block Course) เพื่อสะสมหน่วยการเรยี นรู้ (Credit Bank) รว่ มมือ กบั สถานประกอบการในการจดั การอาชีวศึกษาอย่างเข้มข้นเพ่ือการมีงานทำ 4.2 ขับเคล่ือนการผลิตและพัฒนากำลังคนตามกรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ และยกระดับสมรรถนะกำลงั คนตามกรอบ คณุ วฒุ ิอา้ งอิงอาเซยี น และมาตรฐานสากล รวมท้งั ขบั เคลื่อนความเป็นเลศิ ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) โดยความรว่ มมอื กับภาคเอกชนและสถานประกอบการในการผลติ กำลังคนทต่ี อบโจทยก์ ารพัฒนา ประเทศ 4.3 พัฒนาสมรรถนะอาชีพท่ีสอดคลอ้ งกบั ความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill และ New skill เพ่อื ให้ทกุ กลุ่มเปา้ หมายมีการศกึ ษาในระดบั ทส่ี ูงข้ึน พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชพี ในรูปแบบหลากหลายให้ ครอบคลุมผู้เรยี นทกุ กลุ่มเป้าหมาย รวมทงั้ ผสู้ งู อายุ โดยมีการบรู ณาการความรว่ มมือระหว่างหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง 4.4 สง่ เสรมิ การพฒั นาแบบทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นอาชวี ศึกษา (V-NET) ตามสมรรถนะทจี่ ำเปน็ ใน การเขา้ สู่อาชพี และการนำผลการทดสอบไปใช้คัดเลือกเข้าทำงาน ศึกษาต่อ ขอรบั ประกาศนียบตั รมาตรฐาน สมรรถนะการใชด้ ิจทิ ัล (Digital Literacy) การขอรบั วุฒบิ ตั รสมรรถนะภาษาอังกฤษ (English Competency)
4.5 จัดตัง้ ศนู ย์ให้คำปรกึ ษาการจัดตง้ั ธุรกิจ (ศนู ย์ Start up) ภายใตศ้ ูนย์พฒั นาอาชพี และการเป็นผปู้ ระกอบการ และพัฒนาศนู ยบ์ ม่ เพาะผูป้ ระกอบการอาชวี ศึกษา เพ่ือการสง่ เสรมิ และพัฒนาผปู้ ระกอบการดา้ นอาชีพทัง้ ผู้เรยี น อาชีวศกึ ษาและประชาชนทว่ั ไป โดยเชื่อมโยงกบั กศน. และสถานประกอบการ ท้ังภาครัฐและเอกชนทส่ี อดคล้อง กบั การประกอบอาชีพในวถิ ชี ีวิตรปู แบบใหม่ 4.6 เพ่มิ บทบาทการอาชีวศกึ ษาในการสร้างและพัฒนาผปู้ ระกอบการและกำลงั แรงงานในภาคเกษตร โดยเฉพาะ กลมุ่ เกษตรกรอัจฉรยิ ะ (Smart Farmer) และกลมุ่ ยุวเกษตรกรอัจฉริยะ (Young Smart Farmer) ท่สี ามารถ รองรบั การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยสี มัยใหม่ได้ 4.7 ส่งเสริม และสนับสนุนการผลติ และพัฒนากำลงั คนทุกช่วงวัยเพือ่ การมีงานทำ โดยบูรณาการความร่วมมอื ใน การจดั การศึกษารว่ มกับหน่วยงาน องค์กรทงั้ ภาครัฐ เอกชน ชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น และสถาบนั สังคม อน่ื 4.8 พฒั นาหลักสูตรอาชีพสำหรบั กลุ่มเปา้ หมายผู้อยูน่ อกระบบโรงเรียนและประชาชนที่สอดคล้องมาตรฐานอาชพี เพือ่ การเขา้ สู่การรับรองสมรรถนะและไดร้ ับคุณวุฒวิ ิชาชีพตามกรอบคณุ วุฒิแห่งชาติ รวมท้งั สามารถนำผลการ เรียนรู้และมวลประสบการณ์เทยี บโอนเข้าสู่การสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ 5. การสง่ เสรมิ สนับสนุนวชิ าชพี ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และบคุ ลากรสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 5.1 ส่งเสริมสนบั สนุนการดำเนินการตามหลกั เกณฑก์ ารประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ Performance Appraisal (PA) โดยใชร้ ะบบการประเมินตำแหนง่ และวทิ ยฐานะของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 สง่ เสรมิ สนับสนุนการดำเนนิ การ พฒั นาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ัลตามกรอบระดบั สมรรถนะดจิ ิทลั (Digital Competency) สำหรับครูและบคุ ลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน และระดับอาชีวศกึ ษา 5.3 พัฒนาครใู ห้มีความพร้อมดา้ นวชิ าการและทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีและนวตั กรรมผา่ น แพลตฟอรม์ ออนไลน์ตา่ ง ๆ รวมทงั้ ให้เป็นผู้วางแผนเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และการดำเนนิ ชีวติ ของผ้เู รียนไดต้ ามความสนใจและความถนดั ของแตล่ ะบุคคล 5.4 พฒั นาขดี ความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ใหม้ สี มรรถนะทสี่ อดคลอ้ งและ เหมาะสมกบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมและการเปลย่ี นแปลงของโลกอนาคต 5.5 เร่งรดั การดำเนินการแก้ไขปัญหาหนี้สนิ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทงั้ ระบบ ควบคูก่ ับการใหค้ วามรดู้ า้ น การวางแผนและการสร้างวินัยด้านการเงนิ และการออม 6. การพัฒนาระบบราชการ และการบริการภาครฐั ยุคดิจทิ ลั 6.1 ขบั เคลอื่ นการพฒั นาระบบราชการ 4.0 ด้วยนวตั กรรม และการนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล มาเปน็ กลไกหลกั ในการ ดำเนินงาน (Digitalize Process) การเชอื่ มโยงและแบง่ ปันข้อมูล (Sharing Data) การสง่ เสริมความรว่ มมือ บูรณาการกบั ภาคส่วนต่าง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอก 6.2 ปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพของเครอื ข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศใหส้ ามารถใช้งานเครือข่ายสอื่ สารข้อมลู เช่ือมโยง หนว่ ยงานภาครฐั ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เพ่ือรองรบั ระบบราชการ 4.0 สามารถตอบสนองความตอ้ งการของ ประชาชนไดใ้ นทุกเวลา ทกุ สถานที่ ทกุ อุปกรณ์และทกุ ช่องทาง 6.3 ปรบั ปรุงระบบการจดั สรรงบประมาณและทรพั ยากรทางการศึกษา โดยยึดหลักความจำเป็นและใชพ้ นื้ ที่เปน็ ฐาน ท่มี งุ่ เน้นการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
6.4 นำเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใช้ในระบบการคัดเลอื กข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในตำแหนง่ และสาย งานต่าง ๆ 6.5 สง่ เสริมสนบั สนุนการดำเนนิ งานของสว่ นราชการใหเ้ ป็นไปตามกลไกการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสใน การดำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั 7. การขบั เคลอ่ื นกฎหมายการศึกษาและแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ เร่งรดั การดำเนนิ การจดั ทำกฎหมายลำดบั รองและแผนการศึกษาแห่งชาตเิ พ่ือรองรับพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษา แหง่ ชาติควบคู่กับการสร้างการรบั รูใ้ ห้กับประชาชนได้รบั ทราบอยา่ งทั่วถงึ แนวทางการขบั เคลือ่ นนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ 1.ให้สว่ นราชการ หน่วยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ นำนโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ข้างตน้ เป็นกรอบแนวทางในการจดั การศกึ ษา โดยดำเนนิ การจดั ทำแผนและ งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2.ใหม้ คี ณะกรรมการติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานการขับเคลอ่ื นนโยบายการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ สูก่ ารปฏิบัติระดับพน้ื ท่ี ทำหนา้ ท่ตี รวจราชการ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลในระดับนโยบาย และ จดั ทำรายงานเสนอตอ่ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทราบตามลำดับ 3.กรณมี ปี ัญหาในเชิงพนื้ ท่ีหรือข้อขดั ขอ้ งในการปฏบิ ตั งิ าน ให้ศกึ ษา วิเคราะห์ขอ้ มูลและดำเนินการแกไ้ ขปัญหาใน ระดับพ้นื ท่ีก่อน โดยใชภ้ าคเี ครอื ข่ายในการแกไ้ ขข้อขัดข้อง พร้อมทงั้ รายงานต่อคณะกรรมการตดิ ตามฯ ตามข้อ 2 ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ และรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตามลำดับ 4.สำหรบั ภารกจิ ของส่วนราชการหลักและหน่วยงานทป่ี ฏิบัตใิ นลกั ษณะงานในเชิงหน้าที่ (Function) งานในเชงิ ยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชงิ พืน้ ท่ี (Area) ซงึ่ ไดด้ ำเนนิ การอยู่ก่อนแล้ว หากมีความสอดคล้องกับ หลักการนโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ขา้ งตน้ ให้ถือเปน็ หน้าที่ ของส่วนราชการหลักและหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้องต้องเร่งรดั กำกบั ติดตาม ตรวจสอบใหก้ ารดำเนนิ การเกิดผลสำเร็จ และมปี ระสิทธภิ าพอย่างเปน็ รปู ธรรม
บทท่ี 2 วิธกี ารดำเนนิ งาน ชอื่ โครงการหอ้ งเรยี นสีขาว ปลอดสารเสพติด ((White Zone) กศน.ตำบล สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน กศน. ดา้ นท่ี 1 ดา้ นการจัดการเรยี นรูค้ ุณภาพ ขอ้ ท่ี 1.2 ขับเคลือ่ นการจัดการเรียนรูท้ ่ีสนองตอบยทุ ธศาสตร์ชาติ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สำนักงาน กศน. มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของนักศึกษาการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ประเด็นท่ี 1.6 นักศกึ ษาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานมสี ุขภาวะทางกาย สุนทรียภาพ ประเดน็ ที่1.8 ผู้จบการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานนำความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐานทีไ่ ดร้ บั ไปใชห้ รือประยกุ ตใ์ ช้ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นนักศึกษาเป็น สำคัญ ประเด็นที่ 2.2 การใช้สื่อท่ีเอือ้ ต่อการเรียนรู้ ประเด็นท่ี 2.3 ครูมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั การเรยี นรู้ที่เนน้ นกั ศกึ ษาเปน็ สำคัญ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา ประเดน็ ที่ 3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาท่เี น้นการมีสว่ นร่วม ประเดน็ ท่ี 3.5 การกำกบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา ประเดน็ ท่ี 3.7 การสง่ เสริม สนบั สนนุ ภาคเี ครอื ข่ายให้มสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา หลกั การและเหตุผล ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคญั ประการหน่ึงของประเทศ ซงึ่ บอ่ นทำลายทรัพยากรและความม่ันคงของ ประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก ได้มีการดำเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบปรามมิให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อนต่อ การดำเนินการจำเป็นต้องวางแผนสำหรับบดำเนินงานในแต่ละด้านอย่างรอบคอบ ในจำนวนนี้ประมาณการได้ว่า มีกลุ่มวัยเรียน และเยาวชนอายุระหว่าง 15-25 ปี ซึ่งประกอบด้วยนักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษาต่างๆ ใช้ยาเสพติดจำนวน 71,666 คน คิดเป็นร้อยละ 8.13 ของกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด เด็ก และเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดครั้งแรก เมื่ออายุน้อยกว่า 10 ปี และเยาวชนวัยเรียนกลุ่มอายุ 14-19 ปี ทั้งในและ นอกระบบสถานศึกษา เป็นกลุ่มที่มีปัญหาเริ่มใช้สารเสพติดครั้งแรก สูงสุดเมื่อเทียบกับกลุ่มอายุอื่น ๆ (ร้อยละ 53.1) และอัตราการใช้สารเสพติดครั้งแรกของกลุ่มน้ีจะสูงสุดอย่างต่อเนื่องและเพิ่มขึ้นทุกปี เมื่อเปรียบเทียบ ระหว่างปี พ.ศ.2536-2538 ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีในกรุงเทพมหานครมากที่สุด คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 60.1 รองลงมาเป็นภาคใต้ และภาคกลาง สำหรับภาคเหนือมเี ยาวชนวยั เรยี น กลุ่มอายุ 15-19 ปี ที่เร่ิมใช้สารเสพตดิ ครั้ง แรก ต่ำสดุ เท่ากบั ร้อยละ 39.95 ปัจจบุ ันน้ีเยาวชนไทยทมี่ ีอายนุ อ้ ยมสี ถิตกิ ารติดยาเสพติดเพิม่ ข้นึ ซ่งึ นบั วา่ เปน็ การ สูญเสียทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการปกครอง เพราะนอกจากผู้เสพยาเสพติดทั้งหลายนี้ จะได้สามารถ
ประกอบอาชีพทำการงานต่าง ๆ ไม่ได้แล้วยังก่ออาชญากรรมทำให้เกิดปัญหาต่อสังคมกระทบกระเทือนต่อ ประชาชนผูไ้ ม่ไดเ้ สพยาเสพติด อกี ด้วยอกี สาเหตกุ ารติดยาเสพติดในปจั จุบันมีหลายสาเหตุ เช่น การหาซ้ือยาไปกิน เองโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์เมื่อกินบ่อย ๆ ก็จะทำให้ติดได้ ครอบครัวที่พ่อแม่ไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน เพราะต้องไปประกอบอาชีพนอกบ้าน ทำให้บุตรหลานไปคบเพื่อนนอกบ้าน อาจจะมีเพื่อนที่ชักนำไปเสพสิ่งเสพ ต ิ ด ห ร ื อ ถ ู ก ห ล อ ก ล ว ง ไ ป ใ น ท า ง ท ี ่ ผ ิ ด ห ร ื อ แ ม ้ แ ต ่ พ ่ อ แ ม ่ ห ย ่ า ร ้ า ง กั น ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้บุตรหลานไปเสพยาเสพติดได้ การที่จะให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติดนั้น จำเป็นจะต้อง แก้ไขปัญหาพื้นฐานที่เป็นสาเหตขุ องการนำไปสูก่ ารใชส้ ารเสพติด ได้แก่ ปัญหาครอบครัวและชุมชน พร้อม ๆ กับ การให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดเพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักและกลัว รวมทั้งส่งเสริมให้มี กิจกรรมกลุม่ ต่าง ๆ เพื่อลดเวลาว่างและใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ ปัญหาเดก็ ติดยาเสพตดิ ก็จะไมเ่ กิดขึ้น กศน.ตำบล 16 แหง่ เปน็ สถานศึกษาทีม่ ี บทบาทหน้าท่ีในการส่งเสรมิ ความรู้ เพื่อมุ่งเนน้ ให้นักศึกษา ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการไดร้ ู้ถึงพิษภยั และรู้ถงึ วธิ ีทีจ่ ะหลีกหนีให้ห่างไกลจากยาเสพติดท้งั หลาย เพ่ือจะไดน้ ำความรทู้ ี่ ได้รบั ไปเป็นแนวทางในการป้องกันตวั เองใหห้ า่ งไกลจากยาเสพตดิ จงึ ไดจ้ ัดทำโครงการน้ีขึน้ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือส่งเสรมิ ความรู้ ความเข้าใจ นกั ศึกษา กศน. ตำบล 16 แห่ง ให้รูโ้ ทษ แนวทางในการป้องกนั ตวั เองใหห้ ่างไกลจากยาเสพติด 2. เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษา กศน.ตำบล 16 แหง่ ท่ผี ่านการอบรม นำความรู้ทีไ่ ด้รบั ไปประยุกต์ใช้และขยายผลต่อ ครอบครัว ชุมชน สงั คมและมคี วามพงึ พอใจ เปา้ หมาย 1. เป้าหมายเชงิ ปริมาณ - นักศกึ ษา กศน.ตำบล 16 แห่ง ๆ 25 คน รวมทง้ั ส้ิน จำนวน 400 คน 2. เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ - นกั ศึกษา กศน.ตำบล 16 แหง่ ท่ีผ่านการอบรม นำความรู้ทีไ่ ดร้ บั ไปประยุกตใ์ ช้และขยายผลต่อ ครอบครวั ชุมชน สงั คมและมีความพึงพอใจ ระยะเวลาดำเนนิ การ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ ดำเนินการ บรยายให้ 1 เพื่อสง่ เสรมิ ความรู้ นักศึกษา กศน. 400 คน กศน.ตำบล 16 14 ธันวาคม 65 88,000- ความรู้ โดย ความเข้าใจ นักศกึ ษา ตำบล 16 แหง่ แหง่ วทิ ยากร ครู กศน. ตำบล 16 แห่ง บุคลากร กศน. ให้ร้โู ทษ แนวทางใน อำเภอเมือง การปอ้ งกนั ตัวเองให้ หนองคาย หา่ งไกลจากยาเสพติด
- การดำเนินการ 2 เพื่อให้นักศึกษา หอ้ งเรียนสีขาว กศน.ตำบล 16 แห่ง ท่ี ผ่านการอบรม นำ ความรู้ที่ได้รับไป ประยุกต์ใช้และขยาย ผ ล ต ่ อ ค ร อ บ ค รั ว ชุมชน สังคมและมี ความพึงพอใจ งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2566 แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน รหัสงบประมาณ 20002420016004100106 รวมเป็นเงนิ ท้งั สน้ิ จำนวน 88,000 บาท (แปดหม่ืนแปดพันบาทถ้วน) รายละเอียด ค่าใชจ้ า่ ยดงั นี้ - วทิ ยากร (ครู กศน.ตำบล) - คา่ อาหารว่างและเครื่องด่ืม (400 คนx 25 บาทx 2 มอ้ื ) จำนวน 20,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 400 คนx 70 x 1 ม้ือ ) จำนวน 28,000 บาท - คา่ วัสดุโครงการ จำนวน 40,000 บาท รวม จำนวน 88,000 บาท ผรู้ ับผิดชอบโครงการ 1. กศน.อำเภอเมอื งหนองคาย 2. กศน.ตำบล 16 แหง่ เครือข่าย - โครงการท่ีเกี่ยวข้อง 1. โครงการสถานศึกษาสขี าว หา่ งไกลยาเสพติด 2. โครงการ มหกรรมแขง่ ขนั ทกั ษะทางวิชาการด้านการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ผลลัพธ์ (Outcomes) - นักศึกษา กศน.ตำบล 16 แห่ง ทผ่ี ่านการอบรม ร้ถู ึงแนวทางในการป้องกันตัวเองใหห้ ่างไกลจากยาเสพ ตดิ มคี วามรู้ บทบาท หน้าท่ี แกนนำห้องเรยี นสขี าว ปลอดสารเสพติด ((White Zone)
ดชั นีช้วี ดั ความสำเร็จของโครงการ 1. ตวั ช้วี ัดผลผลิต (Output) - นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล 16 แห่ง ที่เขา้ ร่วมโครงการ มคี วามรู้ บทบาทหน้าที่ แกนนำหอ้ งเรียน สี ขาวปลอดสารเสพติด ((White Zone) 2. ตวั ช้วี ดั ผลลพั ธ์ (Outcome) - นักศึกษา กศน.ตำบล 16 แห่ง ร้อยละ 80 นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้และขยายผลต่อ ครอบครัว ชมุ ชน สงั คมและมีความพงึ พอใจ การติดตามประเมินผลโครงการ - แบบสอบถาม - สรุปและรายงานผล
บทท่ี 3 การดำเนินการ เครอ่ื งมือ 1.เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครงั้ น้ี เป็นแบบสอบถามเพื่อประเมินความคดิ เห็น ความพึงพอใจ ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม โครงการ หอ้ งเรียนสขี าว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ประกอบดว้ ยคำถามท่ี แบง่ เป็น 3 ตอน ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผ้รู ่วมกิจกรรม ตอนที่ 2 รายการประเมินความพงึ พอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการ ลกั ษณะของแบบสอบถามเป็นแบบสอบถามชนดิ มาตราสว่ นประมาณค่าของลเิ คอรท์ (Likert) มี 5 ระดับ (บุญชุม ศรีสะอาด, 2545 : 65 - 74) กำหนดระดับค่าความพงึ พอใจ โดยใช้เกณฑ์ในการกำหนดคา่ คะแนน ดงั น้ีคือ 5 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจต่อการจดั การศึกษา ระดับมากท่สี ดุ 4 หมายถงึ มีความพงึ พอใจตอ่ การจดั การศึกษา ระดบั มาก 3 หมายถงึ มีความพึงพอใจตอ่ การจดั การศึกษา ระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจตอ่ การจัดการศึกษา ระดบั น้อย 1 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจตอ่ การจัดการศึกษา ระดบั น้อยทส่ี ุด ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นเสนอแนะ ในการสรา้ งเคร่ืองมือได้มีการร่างและตรวจสอบเครื่องมือ โดยเนน้ และลงประเด็นท่ีเก่ียวกับรปู แบบ กจิ กรรมทจ่ี ัด แต่ทง้ั น้ีได้คำนึงถึงความเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมายที่จะสามารถตอบคำถามได้อย่างตรงประเด็น โดยโครงสรา้ งของคำถามจะเป็นในรูปแบบท่เี ขา้ ใจง่ายไมซ่ ับซ้อน จากน้ันได้นำไปให้ผู้บรหิ าร และผ้ทู ีเ่ ชี่ยวชาญ ตรวจสอบความครอบคลุม ความสมบรู ณ์ครบถว้ นจึงนำมาสขู่ น้ั ตอนของการปรบั ปรุงและแก้ไขเคร่ืองมอื ตาม ข้อเสนอแนะการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
แบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการ หอ้ งเรียนสีขาว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล วนั ที่ 14 ธนั วาคม 2565 ณ กศน.อำเภอเมืองหนองคาย จังหวดั หนองคาย สว่ นท่ี 1 ข้อมูลส่วนตัว โปรดกรอกขอ้ ความและใสเ่ ครอื่ งหมาย / หน้าข้อท่ีตรงกับสภาพของทา่ น 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2.อายุ………….ปี 3. ระดบั การศึกษา ( ) ประถม ( ) ม.ตน้ ( ) ม.ปลาย 4. อาชพี ( ) รบั จา้ ง ( ) นักศึกษา ( ) ธุรกิจสว่ นตัว ( ) ค้าขาย ( ) อ่ืนๆ สว่ นที่ 2 โปรดใสเ่ คร่ืองหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับความคดิ เห็นของทา่ น ระดับความคดิ เห็น ขอ้ ท่ี ข้อความ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทส่ี ดุ 1 54 3 2 1 ท่านมคี วามรู้ความเขา้ ใจหอ้ งเรียนสีขาว ปลอดยาเสพ ตดิ (White Zone) กอ่ นการใหค้ วามรู้ หลังการใหค้ วามรู้ 2 เนอ้ื หาในการใหค้ วามรู้มคี วามเหมาะสม 3 โสตทศั นปู กรณใ์ นการให้ความรู้มคี วามเพียงพอ 4 สถานที่ในการให้ความรู้มีความเหมาะสม 5 ระยะเวลาในการให้ความรู้มคี่ วามเหมาะสม 6 การถา่ ยทอดความรูข้ องวิทยากรมีความชดั เจน 7 นิทรรศการให้ความร้ดู ้านห้องเรียนสขี าว ปลอดยาเสพ ตดิ (White Zone) 8 การให้ความรู้มคี วามชัดเจนและสอดคล้องกบั เนอ้ื หา 9 เนอ้ื หาการใหค้ วามรู้ตรงกับวัตถุประสงค์ของโครงการ 10 เนอื้ หาสาระท่ีไดจ้ ากการใหค้ วามรู้เปน็ ประโยชน์ในการ นำไปใชใ้ นการใช้ชวี ิตประจำวนั 11 เนื้อหาการให้ความรู้ตรงกับความต้องการและความ สนใจของท่าน 12 ท่านมน่ั ใจว่าสามารถนำสง่ ท่ีไดจ้ ากการให้ความรไู้ ปใช้ใน ชีวิตประจำวนั ของท่าน ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ดำเนินการดงั นี้ 1. แบบลงเวลา จำนวนประชาชนกลมุ่ เป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 2. ระหวา่ งการอบรม ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดงั นี้ 2.1 แบบสอบถามโดยให้ผูเ้ รียนท่เี ขา้ รว่ มกิจกรรมตอบแบบสอบถามหลังสน้ิ สดุ การ อบรม ซ่งึ เป็นแบบสอบถามทีเ่ กบ็ ข้อมลู เกย่ี วกับ 1) ขอ้ มูลทวั่ ไป 2) ข้อมูลความพึงพอใจต่อการเข้ารว่ มกิจกรรม 3) ข้อเสนอแนะ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในการวิเคราะหข์ ้อมูลได้มีการดำเนนิ การดงั นี้ สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชงิ ปริมาณ ค่าร้อยละ สว่ นข้อมลู เชิงคุณภาพจากข้อ คำถามปลายเปิดใชว้ ธิ วี เิ คราะหเ์ นอื้ หา เกณฑ์การประเมนิ เกณฑ์การประเมิน 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีพึงพอใจและเปน็ การส่งเสริมการรหู้ นังสอื รวมท้ังเปน็ การ เผยแพรง่ านห้องเรียนสขี าว ปลอดยาเสพติด(White Zone) ใหผ้ ู้เรียนไดท้ ราบ 2. ผู้ทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรมมีพงึ พอใจและไดร้ ับรู้ถึงความสำคัญของห้องเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) สถานทจ่ี ัดกิจกรรมและระยะเวลาการจดั กจิ กรรม กศน.ตำบล 16 แห่ง ของอำเภอเมืองหนองคาย วนั ที่ 14 ธันวาคม 2565 รปู แบบการจดั กิจกรรม บรรยายและฝึกปฏบิ ตั ิ ผูเ้ ข้ารบั การอบรม นักศึกษา กศน.อำเภอเมอื งหนองคาย จำนวน 400 คน โดยแบ่งเป็นตำบลๆล่ะ 25 คน จำนวน 16 ตำบล ผเู้ กย่ี วข้องการจดั กจิ กรรม ผู้ดำเนินรายการ ผปู้ ระสานงาน บคุ ลากร ครู กศน.ตำบล และนักศึกษา กศน.อำเภอเมืองหนองคาย
การเก็บรวบรวมข้อมูล โครงการ หอ้ งเรียนสีขาว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล มกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูล ท่ีไดจ้ าก ผู้เขา้ ร่วมโครงการและการตอบแบบประเมินความพึงพอใจ ดังนี้ ผู้เขา้ ร่วมโครงการ หอ้ งเรียนสีขาว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล กำหนดเปา้ หมายจำนวน 400คน ดำเนินการได้ 400 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตามแบบสรปุ ตอ่ ไปน้ี ส่วนท่ี 1 ข้อมูลส่วนตัว ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนของผูเ้ ข้ารับการอบรมตามโครงการ หอ้ งเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ท่ีมคี วามคิดเห็นต่อการจดั อบรมตามโครงการ ฯ จำแนกตามเพศ เพศ จำนวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ ชาย 233 58 หญิง 162 42 รวม 400 100 จากตารางพบวา่ ผู้เข้ารับการอบรมโครงการ ห้องเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ กศน.อำเภอเมืองหนองคาย จงั หวดั หนองคาย ผตู้ อบแบบสอบถามการแสดงความคิดเห็น เปน็ เพศชาย จำนวน 233 คน คิดเป็นร้อยละ 58 เพศหญิง จำนวน 162 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 42 ตารางที่ 2 แสดงจำนวนของผูเ้ ข้ารับการอบรมตามโครงการ หอ้ งเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ท่มี คี วามคดิ เห็นต่อการจดั อบรมตามโครงการ ฯ จำแนกตามอายุ อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ 16 -30 ปี 205 51 31 - 40 ปี 122 30 41-50 ปี 34 9 51 ปีขนึ้ ไป 39 10 รวม 400 100
15 จากตารางพบว่า ผเู้ ข้ารบั การอบรมตามโครงการ ห้องเรียนสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ กศน.อำเภอเมืองหนองคาย จงั หวัดหนองคาย ผตู้ อบแบบสอบถามการแสดงความคิดเห็น มีอายรุ ะหว่าง 16-30 ปี จำนวน 205 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 51 อายุ 31 -40 ปี จำนวน 122 คน คิดเปน็ ร้อย ละ30 อายุ 41-50 ปี จำนวน 34 คน คดิ เปน็ ร้อยละ9 อายุ 51 ปขี ้นึ ไป จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ตารางท่ี 3 แสดงจำนวนของผเู้ ขา้ รบั การอบรมโครงการ หอ้ งเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ท่ีมี ความคิดเห็นต่อการจดั อบรมตามโครงการ ฯ จำแนกตามการศกึ ษา ระดบั การศึกษา จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ ประถม 34 8 ม.ตน้ 120 31 ม.ปลาย 246 61 ปริญญาตรีขนึ้ ไป -- รวม 400 100 จากตารางพบว่า ผ้เู ข้ารับการอบรมตามโครงการ ห้องเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ กศน.อำเภอเมอื งหนองคาย จังหวดั หนองคาย ผตู้ อบแบบสอบถามการแสดงความคิดเห็น กำลังศึกษาในระดับประถมศึกษา จำนวน 34 คน คิดเปน็ ร้อยละ 8 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 120 คน คดิ เป็นร้อยละ 31 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 246 คน คิดเปน็ ร้อยละ 61 ตารางที่ 4 แสดงจำนวนของผเู้ ขา้ รับการอบรมตามโครงการ ห้องเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ที่ มคี วามคดิ เหน็ ต่อการจดั อบรมตามโครงการ ฯ จำแนกตามการศกึ ษา ประกอบอาชีพ จำนวน (คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ รบั จา้ ง 197 49 นกั ศึกษา 178 44 ธุรกิจส่วนตวั 17 5 ค้าขาย 8 2 อนื่ ๆ - - รวม 400 100
16 จากตารางพบว่า ผ้เู ขา้ รบั การอบรมตามโครงการ หอ้ งเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แห่ง กศน.อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ผู้ตอบแบบสอบถามการแสดงความคิดเห็น ประกอบอาชีพรับจ้าง จำนวน 197 คิดเป็นร้อยละ 49 เป็นนักศึกษา จำนวน 178 คน คิดเป็นร้อยละ 44 ประกอบอาชีพธรุ กจิ ส่วนตวั จำนวน17 คน คิดเป็นร้อยละ5 ประกอบอาชีพคา้ ขาย จำนวน 8 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2 สว่ นท่ี 2 โปรดใส่เครอ่ื งหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกับความคดิ เหน็ ของทา่ น ตารางแสดงจำนวนของผเู้ ข้ารับการอบรมตามโครงการ หอ้ งเรียนสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน. ตำบล ทมี่ คี วามคิดเห็นต่อการจัดอบรมตามโครงการ ฯ ระดับความคิดเหน็ ขอ้ ท่ี ข้อความ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทีส่ ุด 54 3 2 1 1 ท่านมีความรู้ความเข้าใจห้องเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพ ตดิ (White Zone) ก่อนการใหค้ วามรู้ 118 282 หลังการให้ความรู้ 400 2 เนอื้ หาในการใหค้ วามรู้มีความเหมาะสม 272 128 3 โสตทศั นปู กรณใ์ นการให้ความรูม้ คี วามเพยี งพอ 235 126 39 4 สถานทใี่ นการให้ความรู้มีความเหมาะสม 324 76 5 ระยะเวลาในการใหค้ วามรู้มค่ี วามเหมาะสม 212 125 63 6 การถา่ ยทอดความรู้ของวทิ ยากรมคี วามชัดเจน 400 7 นิทรรศการให้ความรู้ดา้ นห้องเรียนสขี าว ปลอดยาเสพ 400 ตดิ (White Zone) 8 การใหค้ วามรู้มคี วามชัดเจนและสอดคล้องกับเนอ้ื หา 400 9 เนื้อหาการใหค้ วามรู้ตรงกับวัตถุประสงค์ของโครงการ 277 123 10 เนื้อหาสาระทไี่ ด้จากการใหค้ วามรูเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นการ 400 นำไปใชใ้ นการใชช้ วี ติ ประจำวัน 11 เนอื้ หาการให้ความรูต้ รงกับความต้องการและความ 359 41 สนใจของทา่ น 12 ท่านมน่ั ใจวา่ สามารถนำส่งท่ีได้จากการให้ความรูไ้ ปใช้ใน 400 ชวี ิตประจำวันของท่าน
สรุปหวั ขอ้ ท่ปี ระเมิน 1.โครงการ/กิจกรรมนีบ้ รรลุวตั ถุประสงคใ์ นระดบั ใด 1.ท่านมคี วามรู้ความเขา้ ใจหอ้ งเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพติด(White Zone) ก่อนการให้ความรู้ มีความพึงพอใจในระดับมาก จำนวน 118 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 29 มีความพงึ พอใจ ในระดบั ปานกลาง จำนวน 282 คน คิดเป็นร้อยละ 71 หลังการใหค้ วามรู้ มีความพึงพอใจในระดบั มากทสี่ ุด จำนวน 400 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 2. ทา่ นมีความพงึ พอใจเน้ือหาในการให้ความรมู้ ีความเหมาะสม มคี วามพึงพอใจในระดบั มากทส่ี ุด จำนวน 272 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 68 มีความพงึ พอใจมาก จำนวน 128 คน คิดเป็นร้อยละ 32 3. ท่านมคี วามพึงพอใจต่อโสตทศั นูปกรณ์ในการให้ความรู้มีความเพียงพอ มีความพงึ พอใจในระดับมาก ทีส่ ุด จำนวน 235 คน คดิ เป็นร้อยละ 59 มีความพึงพอใจมาก จำนวน 126 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 31 มีความพึง พอใจในระดบั ปานกลาง จำนวน 39 คน คดิ เป็นร้อยละ 10 4. ทา่ นมีความพึงพอใจต่อสถานท่ีในการใหค้ วามรู้มีความเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดบั มากทสี่ ดุ จำนวน 324 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 81 มคี วามพงึ พอใจในระดับมาก จำนวน 76 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 19 5. ทา่ นมคี วามพงึ พอใจต่อระยะเวลาในการให้ความรู้ม่ีความเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดับมากทส่ี ุด จำนวน 212 คน คดิ เป็นร้อยละ 53 มคี วามพงึ พอใจมาก จำนวน 125 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 31 มคี วามพงึ พอใจใน ระดบั ปานกลาง จำนวน 63 คน คิดเปน็ ร้อยละ 16 6.ท่านมคี วามพึงพอใจตอ่ การถา่ ยทอดความรู้ของวิทยากรมีความชดั เจน มีความพึงพอใจในระดบั มาก ที่สดุ จำนวน 400 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 7. ท่านมคี วามพึงพอใจต่อวทิ ยากรมีทักษะในการให้ความรู้ด้านหอ้ งเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพติด(White Zone) มคี วามพึงพอใจในระดับมากท่สี ุดจำนวน 400 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 8.ท่านมีความพงึ พอใจต่อการใหค้ วามรูม้ คี วามชัดเจนและสอดคล้องกบั เนื้อหามีความพงึ พอใจในระดบั มากท่สี ุด จำนวน 400 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 9.ท่านมคี วามพงึ พอใจตอ่ เน้ือหาการให้ความร้ตู รงกับวตั ถุประสงคข์ องโครงการ มคี วามพึงพอใจในระดับ มากท่ีสุด จำนวน 277 คน คิดเปน็ ร้อยละ 69 มีความพึงพอใจมาก จำนวน 123 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 31 10.ทา่ นมคี วามพึงพอใจตอ่ เนอ้ื หาสาระท่ีได้จากการให้ความรูเ้ ป็นประโยชน์ในการนำไปใช้ในการใช้ ชีวิตประจำวัน มีความพงึ พอใจในระดับมากที่สุด จำนวน 400 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 11. ทา่ นมีความพึงพอใจต่อเนื้อหาการให้ความรู้ตรงกับความต้องการและความสนใจของทา่ น มคี วามพงึ พอใจในระดับมากทสี่ ุด จำนวน 359 คน คดิ เปน็ ร้อย 90 มีความพึงพอใจในระดบั มาก จำนวน 41 คน คดิ เป็น ร้อยละ 10 12.ทา่ นมีความพงึ พอใจ ท่านม่นั ใจว่าสามารถนำสง่ ที่ได้จากการให้ความรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ของทา่ น มคี วามพึงพอใจในระดบั มากทสี่ ุด จำนวน 400 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 จากการสังเกต โดยท่ัวไปแล้ว ผ้เู ขา้ รบั การอบรมตามโครงการ หอ้ งเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ กศน.อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ผ้เู ข้ารับการ อบรมให้ความสนใจในเน้ือหาสาระที่ทางผจู้ ดั ดำเนนิ การ
จากการสัมภาษณ์ ผูเ้ ข้ารบั การอบรมตามโครงการ หอ้ งเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ กศน.อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย มคี วามพงึ พอใจในการให้ ความรขู้ องผู้จัด และพร้อมจะนำความรู้ทไ่ี ด้จากการอบรมคร้ังนี้ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนส์ ูงสุด ในโอกาสต่อไปด้วย ข้อเสนอแนะ 1.เปน็ ความรู้ใหม่ทนี่ า่ สนใจและนำไปปฏบิ ตั ไิ ด้ 2. อยากใหม้ ีการจดั กจิ กรรมข้ึนอกี 3. มปี ระโยชนแ์ ละสามารถนำไปใชไ้ ด้
บทท่ี 4 สรปุ ผลการดำเนินงาน การดำเนินงาน โครงการ ห้องเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล วนั ที่ 14 ธันวาคม 2565 ณ ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ กศน.อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย มผี ลดังน้ี 1. ผลการดำเนินงานตามวตั ถุประสงค์ ที่ วตั ถปุ ระสงค/์ กิจกรรม/โครงการ สภาพความสำเร็จ ผลการดำเนินงาน บรรลุ ไม่บรรลุ 1 เพอ่ื ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ นักศึกษา เพื่อส่งเสรมิ ความรู้ ความเข้าใจ กศน. ตำบล 16 แหง่ ให้รูโ้ ทษ แนวทางใน นักศกึ ษา กศน. ตำบล 16 แหง่ ให้รู้ การป้องกนั ตวั เองใหห้ ่างไกลจากยาเสพติด / โทษ แนวทางในการปอ้ งกนั ตัวเองให้ ห่างไกลจากยาเสพติด เพ่อื ให้นกั ศึกษา กศน.ตำบล 16 แห่ง ทผี่ า่ น / เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษา กศน.ตำบล 16 แห่ง การอบรม นำความรู้ท่ีได้รบั ไปประยกุ ต์ใช้ ทีผ่ ่านการอบรม นำความรู้ที่ไดร้ บั ไป และขยายผลต่อ ครอบครวั ชุมชน สังคม ประยกุ ต์ใช้และขยายผลต่อ และมีความพึงพอใจ ครอบครัว ชมุ ชน สังคมและมีความพึง พอใจ 2. สรปุ ผลการดำเนนิ งานตามเปา้ หมาย ที่ เปา้ หมายของกิจกรรม/โครงการ สภาพความสำเร็จ ผลการดำเนนิ งาน บรรลุ ไมบ่ รรลุ นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล 16 แหง่ ๆ 25 คน เชงิ ปรมิ าณ รวมทัง้ ส้ิน จำนวน 400 คน / นักศึกษา กศน.ตำบล 16 แห่ง ๆ 25 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 400 คน นักศกึ ษา กศน.ตำบล 16 แห่งที่ผา่ นการ / นักศึกษา กศน.ตำบล 16 แห่งทีผ่ า่ น เชงิ คุณ อบรม นำความรู้ทไี่ ด้รบั ไปประยุกตใ์ ชแ้ ละ การอบรม นำความรทู้ ่ีไดร้ ับไป ภาพ ขยายผลต่อ ครอบครัว ชุมชน สังคมและมี ประยกุ ต์ใชแ้ ละขยายผลต่อ ครอบครัว ชุมชน สงั คมและมีความพึงพอใจ ความพึงพอใจ
ที่ เป้าหมายของกจิ กรรม/โครงการ สภาพความสำเร็จ ผลการดำเนินงาน บรรลุ ไม่ 1.ตวั ชี้วัดผลผลติ นักศึกษา กศน.ตำบล 16 แห่ง ทเี่ ข้า นักศึกษา กศน.ตำบล 16 แหง่ ทเี่ ขา้ บรรลุ ร่วมโครงการ มคี วามรู้ บทบาท หนา้ ท่ี แกนนำห้องเรยี น สีขาวปลอด ร่วมโครงการ มีความรู้ บทบาทหน้าท่ี / สารเสพติด ((White Zone) แกนนำห้องเรยี น สีขาวปลอดสารเสพ ความสำเรจ็ ตดิ ((White Zone) / นกั ศึกษา กศน.ตำบล 16 แห่ง ร้อย 2. ตวั ช้ีวดั ผลลัพธ์ ละ 80 นำความรทู้ ี่ได้รับไป นักศึกษา กศน.ตำบล 16 แห่ง ร้อยละ ประยกุ ตใ์ ช้และขยายผลต่อ 80 นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ ครอบครวั ชุมชน สังคมและมีความ และขยายผลต่อ ครอบครัว ชุมชน พึงพอใจ สังคมและมีความพงึ พอใจ 3. จดุ เด่น/จุดควรพฒั นา จดุ เดน่ ของโครงการ ห้องเรียนสีขาว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล วันท่ี 14 ธนั วาคม 2565 ณ ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ กศน.อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย มีดังนี้ 1. นักศึกษาได้รบั ความรู้เกีย่ วกบั หอ้ งเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) 2. นักศึกษาได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ รู้จักพัฒนาทักษะการเรียนรู้ เห็นคุณค่าในตนเอง มี ความมน่ั ใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและเกิดความพึงพอใจ จุดทีค่ วรพัฒนาของโครงการ ห้องเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล วันที่ 14 ธันวาคม 2565 กศน.อำเภอเมอื งหนองคายดงั น้ี 1. ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 2. สถานทคี่ วรจัดนอกสถานท่ี
ภาพกจิ กรรมโครงการ หอ้ งเรียนสีขาว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมอื ง จงั หวดั หนองคาย วนั ที่ 14 ธนั วาคม 2565 ณ กศน.ตำบลพระธาตบุ ังพวน
ภาพกจิ กรรมโครงการ ห้องเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จงั หวดั หนองคาย วันท่ี 14 ธันวาคม 2565 ณ กศน.ตำบลกวนวัน
ภาพกจิ กรรมโครงการ หอ้ งเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จังหวดั หนองคาย วันที่ 14 ธันวาคม 2565 ณ กศน.ตำบลในเมอื ง
ภาพกจิ กรรมโครงการ หอ้ งเรียนสีขาว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมอื ง จงั หวดั หนองคาย วนั ที่ 14 ธันวาคม 2565 ณ กศน.ตำบลบา้ นเด่ือ
ภาพกจิ กรรมโครงการ ห้องเรียนสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จงั หวดั หนองคาย วนั ที่ 14 ธันวาคม 2565 ณ กศน.ตำบลสกี าย
ภาพกจิ กรรมโครงการ หอ้ งเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จังหวดั หนองคาย วันท่ี 14 ธันวาคม 2565 ณ กศน.ตำบลโพนสว่าง
ภาพกจิ กรรมโครงการ ห้องเรียนสขี าว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมอื ง จงั หวดั หนองคาย วนั ท่ี 14 ธนั วาคม 2565 ณ กศน.ตำบลมชี ยั
ภาพกจิ กรรมโครงการ หอ้ งเรียนสขี าว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จังหวดั หนองคาย วันที่ 14 ธนั วาคม 2565 ณ กศน.ตำบลวดั ธาตุ
ภาพกจิ กรรมโครงการ ห้องเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จงั หวดั หนองคาย วันท่ี 14 ธันวาคม 2565 ณ กศน.ตำบลหาดคำ
ภาพกจิ กรรมโครงการ หอ้ งเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมอื ง จงั หวดั หนองคาย วันท่ี 14 ธนั วาคม 2565 ณ กศน.ตำบลปะโค
ภาพกจิ กรรมโครงการ หอ้ งเรียนสขี าว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จังหวดั หนองคาย วันที่ 14 ธนั วาคม 2565 ณ กศน.ตำบลโพธช์ิ ัย
ภาพกจิ กรรมโครงการ ห้องเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จังหวดั หนองคาย วนั ที่ 14 ธนั วาคม 2565 ณ กศน.ตำบลหนิ โงม
ภาพกจิ กรรมโครงการ ห้องเรยี นสีขาว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมอื ง จงั หวดั หนองคาย วันท่ี 14 ธนั วาคม 2565 ณ กศน.ตำบลหนองกอมเกาะ
ภาพกจิ กรรมโครงการ หอ้ งเรียนสีขาว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จงั หวดั หนองคาย วันที่ 14 ธันวาคม 2565 ณ กศน.ตำบลเวยี งคุก
ภาพกจิ กรรมโครงการ หอ้ งเรียนสีขาว ปลอดยาเสพตดิ (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จังหวดั หนองคาย วันที่ 14 ธันวาคม 2565 ณ กศน.ตำบลเมอื งหมี
ภาพกจิ กรรมโครงการ หอ้ งเรียนสขี าว ปลอดยาเสพติด (White Zone) กศน.ตำบล ณ กศน.ตำบล 16 แหง่ อำเภอเมือง จังหวดั หนองคาย วันที่ 14 ธันวาคม 2565 ณ กศน.ตำบลคา่ ยบกหวาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144