บทท่ี 4 ระบบปฏบิ ัตกิ ารเครือข่าย NOS รูปท่ี 4.1 : ระบบปฏิบตั กิ าร ที่มา : http://www.microsoft.com/presspass/events/winhec/images/image006.jpg ระบบปฏิบตั กิ าร หรือ OS (Operating System) ทาหน้าท่ีจดั การเกี่ยวกบั การเข้าใช้ทรัพยากรตา่ งๆ ของ โปรแกรมท่ีรันบนคอมพิวเตอร์เคร่ืองนัน้ ทรัพยากรของคอมพิวเตอร์มีหลายชนิด เช่น หน่วยความจา ฮาร์ดดสิ ก์ จอภาพ คีย์บอร์ด เมาส์ เป็ นต้น ถ้าไม่มีระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์คงจะรันโปรแกรมมากกวา่ หน่ึงโปรแกรมไม่ได้ เพราะแต่ละโปรแกรมอาจแย่งใช้ทรัพยากรดังกล่าวจนทาให้ระบบล่มได้ ระบบ เครือข่ายก็เหมือนกบั ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีจาเป็ นต้องมีระบบปฏิบตั ิการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System) เพื่อทาหน้าท่ีจดั การเกี่ยวกบั การส่ือสารข้อมลู ผ่านเครือข่าย และการเข้าใช้ทรัพยากร ที่มีอยใู่ นเครือขา่ ย เชน่ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดสิ ก์ เป็ นต้น คอมพิวเตอร์ที่เช่ือมตอ่ เข้ากบั เครือขา่ ย จาเป็ นต้องมี ระบบปฏิบตั ิการทงั้ สองประเภท เพื่อทาหน้าที่จดั การทรัพยากรภายในคอมพิวเตอร์และในระบบเครือขา่ ย แตโ่ ดยสว่ นใหญ่ระบบปฏิบตั กิ ารทงั้ สองประเภทจะอย่ใู นตวั เดียวกนั เมื่อตดิ ตงั้ ระบบปฏิบตั ิการเสร็จแล้วก็ เพียงตดิ ตงั้ สว่ นท่ีเป็นเครือขา่ ยเทา่ นนั้ 97 ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือขา่ ย นายสมุ นิ ท์ พลพทิ กั ษ์
ระบบปฏิบัติการเครือข่ายอาจเป็ นชุดซอฟต์แวร์ท่ีต้องติดตัง้ เพ่ิมเติม หรืออาจเป็ นส่วนหนึ่งของ ระบบปฏิบตั ิการทวั่ ๆ ไปขึน้ อยู่กับบริษัทผู้ผลิต ตวั อย่างเช่น เน็ตแวร์ (Netware) ซ่ึงเป็ นซอฟต์แวร์ของ บริษัท โนเวลส์ เป็ นระบบปฏิบัติการท่ีต้องติดตัง้ เพิ่มเติมบนเครื่องที่มีระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ส่วน ระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์ NT/2000/2003/2008. วินโดวส์ 95/98/Me และยูนิกซ์ ซ่ึงมีระบบปฏิบตั ิการ เครือขา่ ยอยใู่ นตวั โดยไมต่ ้องติดตงั้ เพิม่ เตมิ ในสภาพแวดล้อมของเครือข่าย เซิร์ฟเวอร์จะทาหน้าท่ีให้บริการทรัพยากรต่างๆ กบั ไคลเอนท์ สว่ นไคล เอนท์ก็จะติดต่อเซิร์ฟเวอร์เพ่ือให้ทรัพยากรเหล่านีเ้ สมือนว่าเป็ นทรัพยากรของเคร่ืองไคลเอนท์เอง ระบบปฏิบตั กิ ารของเครื่องเซริ ์ฟเวอร์และไครเอนท์จงึ ต้องทางานร่วมกนั เพื่อให้เครือขา่ ยทางานได้ ฟี เจอร์หลักของ NOS การเลือกใช้ระบบปฏิบตั ิการเครือข่ายอาจมีผลตอ่ การใช้งานเครือข่ายขององค์กรมาก ซ่ึงอาจมีผลต่อ ความยากง่ายในการใช้งาน ความยากง่ายตอ่ การดแู ลและจดั การระบบ แอพพลิเคชนั ตา่ งๆ ที่แชร์กนั ใช้ใน ระบบ โครงสร้ างของเครือข่าย รวมถึงระบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูลเป็ นต้น ส่ิงที่ควรพิจารณา เปรียบเทียบก่อนตดั สนิ ใจมีดงั ตอ่ ไปนี ้ การจดั เก็บไฟล์และการพิมพ์ (File and Print Services) การดแู ลและจดั การระบบ (Management Services) การรักษาความปลอดภยั (Security Services) บริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต (Internet/Intranet Services) มลั ตโิ พรเซสซิงและคลสั เตอร์ริง (Multiprocessing and Clustering Services การจัดเกบ็ ไฟล์และการพมิ พ์ การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์ถือได้ว่าเป็ นจุดประสงค์หลกั ของการมีระบบเครือข่ายในช่วงแรกๆ ดงั นนั้ ฟังก์ชนั นีจ้ งึ เป็นสว่ นท่ีสาคญั ของระบบปฏิบตั กิ ารเครือขา่ ย การจดั เก็บไฟล์และการพิมพ์ของระบบหมายถึง ความสามารถของระบบในการจดั การเคร่ืองพิมพ์ ความสามารถในการจดั การเก่ียวกบั ระบบจดั เก็บไฟล์ท่ี แชร์ระหวา่ งผ้ใู ช้ รวมถึงระบบควบคมุ การเข้าใช้ทรัพยากรเหลา่ นีด้ ้วย 98 ระบบปฏิบตั ิการเครือขา่ ย นายสมุ นิ ท์ พลพิทกั ษ์
การดูแลและจัดการระบบ การบริหารจดั การระบบเครือข่ายถือเป็ นเรื่องที่สาคัญเช่นกัน เช่น การจดั การเกี่ยวกับผู้ใช้ (User Accounts) คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากบั เครือข่าย การควบคุมการทางานของอุปกรณ์เครือข่าย การ รายงานเก่ียวกบั ข้อผิดพลาดต่างๆ ที่เกิดขึน้ ในเครือข่าย และการเฝ้ าดรู ะบบเครื อข่ายทราบถึงปัญหาที่ อาจจะเกิดขนึ ้ และสามารถแก้ไขได้ทนั เวลา หรือก่อนท่ีจะกลายเป็ นปัญหาใหญ่ยิ่งเครือข่ายมีขนาดใหญ่ย่ิง จะทา หน้าท่ีของผ้ดู แู ลระบบยากและซบั ซ้อนมากขนึ ้ ดงั นนั้ ระบบปฏิบตั ิการเครือขา่ ยจาเป็ นต้องมีฟังก์ชนั้ ที่ช่วยลดความซา้ ซ้อนของงานเหล่านี ้ปัจจุบันระบบปฏิบตั ิการสมยั ใหม่จะมีการให้ไดเร็คทอรีเข้ามาช่วย เชน่ วินโดวส์ 2008 ก็จะมี ADS (Active Directory Services) ส่วนลีนกุ ซ์ก็จะมี LDAP เป็ นต้น เครื่องมือนี ้ จะชว่ ยให้การจดั การเครือขา่ ยงา่ ยยิง่ ขนึ ้ โดยเฉพาะสาหรับเครือขา่ ยขนาดใหญ่ การรักษาความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัยในเครือข่ายก็ถือเป็ นเร่ืองสาคญั อย่างยิ่ง เน่ืองจากถ้าระบบถูกโจมตีความ เสียหายอาจมากเกินกวา่ ที่คดิ ไว้ก็ได้ นอกจากนีย้ งั มีข้อมลู บางประเภทที่ต้องการความปลอดภยั เช่น ข้อมลู ท่ีเป็ นความลับของบริษัทหรือองค์กร การเข้าถึงข้อมูลเหล่านีจ้ าเป็ นที่ต้องจากัดเฉพาะผู้ที่มีสิทธ์ิเท่านนั้ ดงั นนั้ ระบบปฏิบตั ิการเครือข่ายควรมีฟังก์ชนั ท่ีสามารถแยกแยะผู้ใช้โดยสามารถกาหนดสิทธ์ิให้กบั ผ้ใู ช้ หรือกลมุ่ ของผ้ใู ช้ได้ บริการอินเทอร์เน็ตและอนิ ทราเน็ต ปัจจุบันการให้บริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต ถือเป็ นสิ่งสาคัญและจาเป็ น สาหรับองค์กร ระบบปฏิบตั กิ ารเครือขา่ ยต้องมีฟังก์ชนั ท่ีให้บริการด้านนีด้ ้วย บริการที่กลา่ วนีค้ ือ DNS, เว็บเซิร์ฟเวอร์, เมล เซริ ์ฟเวอร์, เอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์เป็นต้น ซง่ึ บริการเหลา่ นีจ้ ะชว่ ยให้การแลกเปลี่ยนข้อมลู มีประสิทธิภาพมากขนึ ้ โดยเฉพาะการให้บริการเว็บไซต์ เพราะเป็ นเทคโนโลยีท่ีสะดวกต่อการใช้งาน ฝั่งไคลเอนท์เพียงแค่มี โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ เชน่ อินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์ (IE) หรือมอซิลลา่ (Mozilla) ก็สามารถใช้งานได้ แล้ ว ปั จจุบันแอพพลิเคชัน้ มีแนวโน้ มจะเป็ นแบบที่สามารถให้ บริการทางอินเทอร์ เน็ต ดังนัน้ ระบบปฏิบตั กิ ารเครือขา่ ยควรให้บริการด้านนีอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพและปลอดภยั ด้วย 99 ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือขา่ ย นายสมุ นิ ท์ พลพิทกั ษ์
ระบบปฏิบตั ิการสมยั ใหม่ต้องสามารถรองรับธุรกิจผ่านอินเทอร์เน็ตหรืออีคอมเมิร์ชด้วยความต้องการ พืน้ ฐานแล้วต้องรองรับโปรโตคอลมาตรฐาน TCP/IP และเคร่ืองมือสาหรับการพฒั นาเว็บแอพพลิเคชนั รวมถงึ กลไกควบคมุ การเข้าให้และการตรวจสอบผ้ใู ช้งานได้ มัลตโิ พรเซสซ่งิ และคลัสเตอร์ร่ิง ประสิทธิภาพในการให้บริการของเซิร์ฟเวอร์ และความเช่ือถือได้หรือความสามารถในการให้ บริการ อยา่ งตอ่ เนื่องก็เป็นเรื่องท่ีสาคญั โดยเฉพาะกบั ระบบธุรกิจที่มีมลู คา่ มหาศาล การท่ีเซริ ์ฟเวอร์หยดุ ให้บริการ เพียงแคไ่ ม่ก่ีนามีก็อาจทาให้ธุรกิจเสียหายอย่างที่คาดไม่ถึงได้เช่นกนั ประสิทธิภาพในการให้ บริการของ เซิร์ฟเวอร์นัน้ จะขึน้ อยู่กับฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ความท้าทายของความสามารถในการขยายระบบ (Scalability) เป็ นองค์ประกอบที่สาคญั ของการทาให้ระบบมีความเช่ือถือสงู (High Availability) องค์กร ต้องสามารถเพิ่มสมรรถนะของแอพพลิเคชนั หรือทรัพยากรต้องสามารถเพิ่มสมรรถนะของแอพพลิเคชนั หรือทรัพยากรของเครือขา่ ยเม่ือจาเป็นได้โดยไมม่ ีผลทาให้ระบบต้องหยดุ ชะงกั การเพ่ิมความน่าเชื่อถือได้ ของระบบและประสิทธิภาพในการให้บริการสามารถทาได้ 2 วิธีคือมัลติโพรเซสซิ่ง (Multiprocessing) และคลสั เตอร์ริ่ง (Clustering) Multiprocessing : มลั ตโิ พรเซสเซอร์คือ ระบบที่มี CPU หรือโพรเซสเซอร์มากกว่าหน่งึ ตวั ในเครื่อง เซิร์ฟเวอร์เดียวกัน ปัจจุบันเซิรฟ์ เวอร์ส่วนใหญ่จะเป็ นระบบมัลติโพรเซสเซอร์ ย่ิงระบบมี โพรเซสเซอร์มากย่ิงเพิ่มประสิทธิภาพให้ กับแอพพลิเคชนั ท่ีรันบนระบบนนั้ ๆ อย่างไรก็ตามแอพ พลเิ คชนั และระบบปฏิบตั กิ ารต้องรองรับการทางานแบบมลั ตโิ พรเซสซิงได้ด้วย Clustering : การทาคลสั เตอร่ิง คือ การทาให้เซิร์ฟเวอร์หลายๆ เคร่ืองทางานร่วมกันในการให้ บริการอย่างใดอย่างหนง่ึ หรือหลายๆ งาน เม่ือเซิร์ฟเวอร์หนง่ึ ไม่สามารถให้บริการได้ เซิร์ฟเวอร์ท่ี เหลือก็สามารถให้บริการแทนได้ ซ่งึ เหตกุ ารณ์นีจ้ ะเรียกว่า “เฟลโอเวอร์ ( Failover) ” นอกจาก นีค้ ลสั เตอริ่งยงั ทางานเก่ียวกับโหลดบาลานซิ่ง (Load Balancing) ซึ่งเซิร์ฟเวอร์แตล่ ะเคร่ืองใน คลสั เตอร์เดียวกนั จะตรวจเช็คซ่ึงกนั และกนั ตลอดเวลา ซงึ่ เมื่อเครื่องใดเครื่องหน่ึงมีประสิทธิภาพ ลดลงหรือมีโหลดเยอะเกินไปเซิร์ฟเวอร์ท่ีมีโหลดน้อยกว่าก็จะแบ่งงานจากเซิร์ฟเวอร์ดงั กล่าว เชน่ เดยี วกบั มลั ตโิ พรเซสซง่ิ คลสั เตอริงต้องรองรับยทงั้ แอพพลเิ คชนั และระบบปฏิบตั กิ ารด้วย 100 ระบบปฏบิ ตั ิการเครือขา่ ย นายสมุ นิ ท์ พลพทิ กั ษ์
บริการอ่ืนๆ นอกจากฟี เจอร์หลกั ๆ ท่ีกล่าวมาแล้วยังมีฟี เจอร์อื่นๆ อีกที่ช่วยให้ระบบปฏิบตั ิการเครือข่ายมีความ หลากหลายยิ่งขึน้ เช่น การให้บริการฐานข้อมูล ความสามารถในการขยาย (Scalability) และ ความสามารถในการรองรับเครือขา่ ยท่ีมีขนาดใหญ่ ระบบปฏิบตั กิ ารเครือขา่ ยท่ีนิยมใช้ไนปัจจบุ นั มี 3 ระบบ คือ Microsoft Windows Server, Sun Solaris และ Red Hat Linux Sun Solaris โซลาริส (Solaris) เป็ นระบบปฏิบตั ิการของบริษัท ซันไมโครซิสเต็ม เป็ นอีกหน่ึงทางเลือกสาหรับ ระบบปฏิบตั กิ ารเครือขา่ ย โซลสิ เป็นระบบปฏิบตั กิ ารประเภทยนู ิกซ์ ซ่งึ เป็ นระบบปฏิบตั กิ ารแรกที่ถกู พฒั นา สาหรับคอมพิวเตอร์ เริ่มแรกนนั้ โซลาริสถกู ออกแบบสาหรับเพลตฟอร์มประเภทสปาร์ก (Sparc System) ซง่ึ เป็นฮาร์ดแวร์ของบริษัท ซนั ไมโครซิสเต็มเช่นกนั แตป่ ัจจบุ นั มีเวอร์ชนั้ x64/x86 สาหรับเพลตฟอร์มอยา่ ง Intel และ AMD เชน่ กนั เวอร์ชนั ลา่ สดุ ของโซลาริสคอื เวอร์ชน่ั 10 ซง่ึ มีการพฒั นาเพิ่มจากเวอร์ชนั ก่อนหน้า (เวอร์ชนั 9) ทงั้ ทางด้านประสิทธิภาพท่ีดีกว่าและปลอดภยั มากกว่า โดยมีการเพิ่มเฟรมเวิร์คสาหรับการ เข้ารหสั ข้อมลู โดยขนึ ้ อย่กู บั Trusted Solaris Product และ RBAX (Role Based Access Control) ซ่งึ เป็นเทคโนโลยีในการควบคมุ ที่ละเอียดขนึ ้ ทงั้ กบั ผ้ใู ช้และโพรเซสท่ีมีการแยกแอพพลิเคชนั และเซอร์วิสออก จากกนั โดนรันในพืน้ ท่ีแยกกนั เรียกวา่ “Solaris Container” นอกจากนีย้ งั มีการเพ่ิมความเสถียรของระบบโดยการเพ่ิม “Predictive Self Healing” ซึง่ ระบบจะแก้ไข และก้คู ืนข้อมลู โดยอตั โนมตั เิ มื่อระบบมีปัญหาเก่ียวกบั ฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์สาหรับนกั พฒั นา โปรแกรม ก็มีฟี เจอร์ใหมท่ ่ีชื่อ “DTrace” ซ่ึงจะชว่ ยให้โปรแกรมเมอร์และผ้ดู แู ลระบบ สามารถตรวจดกู ารทางานของ แอพพลิเคชนั ในขณะท่ีกาลงั รันอยู่ นอกจากนีโ้ ซลาริส 10 ยงั มาพร้อมกับ JDS 3.0 ซึ่งเป็ น GUI ที่พฒั นา โดยใช้ภาษาจาวา มีรูปร่างหน้าตาคล้ายกบั GUI ของวินโดวส์ และที่สาคญั ท่ีสดุ คือ โซลาริสนนั้ สามารถ ดาวน์โหลดได้ฟรีไมม่ ีคา่ ลขิ สทิ ธิ์นอกจากนีย้ งั รับรองว่าซอฟต์แวร์ท่ีรันบนลีนกุ ซ์ให้สามารถรันบนโซลาริสได้ เชน่ Apache, Tomcat, My SQL และ Star Office ซึ่งปัจจบุ นั ก็ได้เร่ิมโครงการนีแ้ ล้ว โดยรายละเอียด สามารถตดิ ตามได้จาก www.opensolaris.com 101 ระบบปฏบิ ตั ิการเครือขา่ ย นายสมุ นิ ท์ พลพทิ กั ษ์
การจัดเก็บไฟล์และการพมิ พ์ บริษทั ซนั ไมโครซิสเตม็ เป็นผ้คู ดิ ค้น NFS (Network File System) ซี่งเป็ นมาตรฐานในการแชร์ไฟล์ผา่ น เครือข่าย ส่วน WebNFS เป็ นระบบที่พัฒนาต่อจาก NFS อนุญาตให้สามารถแชร์ไฟล์ผ่านเว็บได้ นอกจากนีร้ ะบบโซลาลิสยังสามารถเข้าถึงไฟล์ในระบบวินโดวส์ได้โดยใช้โปรโตคอล SMB (Server Message Block) หรือท่ีรู้จกั กนั ในนามแซมบา (Samba) ในเวอร์ชน่ั 10นนั้ รองรับระบบไฟล์แบบ ZFS (Zettabyte File System) ซึง่ มีฟี เจอร์ที่ดีกว่า UFS เชน่ การปกป้ องข้อมลู จากการคอร์รัปชน่ั สามารถขยาย ได้ไมจ่ ากดั ขนาดและมีฟังก์ชนั่ เพ่ือชว่ ยในการดแู ลระบบง่ายขนึ ้ การดูแลและจัดการเครือข่าย โดยทว่ั ไปแล้วการจดั การหรือคอนฟิกระบบยนู ิกซ์ จะทาผ่าน CLI (Command Line Interface) ผา่ นการ พิมพ์คาสงั่ หรือแก้ไขเท็กซ์ไฟล์ท่ีเก็บข้อมลู ของเครื่องนนั้ ๆ แตโ่ ซลาลิส 10 มีเคร่ืองมือท่ีเป็ น GUI ท่ีอนญุ าต ให้ผ้ดู แู ลระบบสามารถจดั การทรัพยากรของระบบผ่านเว็บบราวเซอร์ได้ ส่ิงที่สามารถจดั การได้จะรวมถึง ยูสเซอร์กรุ๊ป DNS และบางส่วนของเครื่องนนั้ นอกจากนีโ้ วลาลิส 10 ยงั รองรับ WBEM (Web Base Enterprise Management) ซงึ่ เป็นมาตรฐานท่ีออกแบบสาหรับบริหารจดั การเคร่ืองผา่ นเวบ็ บราวเซอร์ Sun ONE Console โซลาริส 10 ให้บริการล็อกอินจากศนู ย์กลางโดยผ่าน NIS/NIS+ (Network Information Service) ซ่ึง เป็นระบบที่ใช้เซริ ์ฟเวอร์หนง่ึ รวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั บญั ชีผ้ใู ช้แล้วแจกจา่ ยไปยงั เคร่ืองอื่นๆ ท่ีอย่ใู นเครือขา่ ย เป็ นช่วงๆ ดงั นนั้ การล็อกอินเข้าเคร่ืองใดเคร่ืองหน่งึ จึงสามารถควบคมุ ได้จากเซิร์ฟเวอร์กลาง โซลาลิสยงั ร องรับไดเร็คทอร่ีเซอร์วิส หรือ Sun ONE Directory Service ซงึ่ ถกู ออกแบบตามมาตรฐาน LDAP เพ่ือเก็บ ข้อมลู ของเครือขา่ ยไว้ท่ีศนู ย์กลาง เชน่ บญั ชีผ้ใู ช้และข้อมลู เก่ียวกบั ผ้ใู ช้ Resource Manager Sun Solaris 10 Resource Manager เป็ นเครื่องมือแบบ GUI ให้ผ้ดู แู ลระบบใช้จดั การเซิร์ฟเวอร์ เช่น CPU, RAM, Bandwidth สาหรับยสู เซอร์หรือแอพพลิเคชนั้ ดงั นนั้ จะไม่มียสู เซอร์ หรือแอพพลิเคชนั ไหนใช้ รีซอร์สของเซริ ์ฟเวอร์เพียงคนเดียว นอกจากนี ้Resource Manager ยงั สามารถมอนิเตอร์การใช้รีซอร์สของ แตล่ ะยสู เซอร์หรือแอพพลเิ คชนั่ ได้ 102 ระบบปฏิบตั ิการเครือขา่ ย นายสมุ นิ ท์ พลพทิ กั ษ์
Server Virtualization เวอร์ชวลไลเซชนั กาลงั จะเป็ นเทคโนโลยีท่ีสาคญั สาหรับระบบจดั เก็บดาต้าเครือข่าย และไคลเอนท์เห็น ผลแล้วคือ บนเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ตงั้ แตข่ นาดใหญ่ไปจนถึงเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ก เวอร์ชวลไลเซชนั คือการแชร์ ฮาร์ดแวร์ของระบบปฎิบตั ิการหรือแอพพลิเคชน่ั ซ่ึงปัจจุบนั การพฒั นาฮาร์ดแวร์นนั้ ไปเร็ วกว่าซอฟต์แวร์ หรือแอพพลิเคชน่ั ในปัจจบุ นั ไมไ่ ด้ใช้ประโยชน์จากฮาร์ดแวร์อยา่ งเตม็ ท่ี ประโยชน์อีกข้อหนึง่ คือ การแยกการทางานระหวา่ งแอพพลิเคชน่ั ที่รันบนเซิร์ฟเวอร์เดียวกนั ในสว่ นของ เมมโมร่ี ดาต้าและฮาร์ดดสิ ก์ กลา่ วคือ ถ้ามีแอพพลิเคชน่ั ท่ีรันบนเซิร์ฟเวอร์เดียวกนั เช่น เว็บเซิร์ฟเวอร์และ เมลเซิร์ฟเวอร์ หากแอพพลิเคชนั่ หน่ึงล่มก็อาจมีผลทาให้แอพพลิเคชนั่ หน่ึงล่มตามไปเช่นกนั โซลาริสถูก ออกแบบมาให้รองรับเทคโนโลยีนีเ้ชน่ กนั การรักษาความปลอดภยั ซนั โซลาริส 10 ถูกออกแบบให้มีความปลอดภัยสูง มีฟี เจอร์และเคร่ืองมือต่างๆ ที่ช่วยในการบริหาร จดั การและควบคมุ ระบบ เช่น User and Process Rights Management ซ่ึงทางานร่วมกับ Solaris Containers จะชว่ ยในการบริหารจดั การเซริ ์ฟเวอร์ที่มีหลายแอพพลเิ คชน่ั และหลายยสู เซอร์ใช้งานพร้อมกนั นอกจากนีย้ งั มี Solaris Trusted Extensions ชว่ ยในการปกป้ องข้อมลู ตามนโยบายท่ีกาหนด Solaris IP Filter Firewall ซง่ึ จะตดิ ตงั้ มาพร้อมกบั ระบบเพื่อกรองทราฟฟิกท่ีวง่ิ เข้าออกระบบ บริการอนิ เทอร์เน็ตและอินทราเน็ต โซลาริส 10 ได้ออกแบบสาหรับการให้บริการเว็บเซอร์วิสอย่างปลอดภัยที่มาพร้ อมกับการติดตัง้ ระบบปฏิบตั กิ าร โดยใช้โอเพน่ ซอร์สเวบ็ เซิร์ฟเวอร์อยา่ ง Apache ซง่ึ มีฟี เจอร์สาคญั คอื สามารถโฮสตห์ ลายๆ เว็บไซตใ์ นระบบเดยี วกนั อยา่ งปลอดภยั เพ่ืมความเสถียรและความเชื่อถือได้ของระบบ โดยใช้เทคนิค Predictive Self-Healing และ Apache เพิ่มความปลอดภัยให้กับเว็บเซิร์ฟเวอร์ โดยการใช้ฟี เจอร์ต่างๆ ของโซลาริส เช่น User and Process Right Management เพม่ิ ประสทิ ธิภาพและความพร้อมใช้งานตลอดเวลา โดยใช้ DTrace (Solaris Dynamic Tracing) 103 ระบบปฏบิ ตั ิการเครือขา่ ย นายสมุ นิ ท์ พลพทิ กั ษ์
มัลตโิ พรเซสซิงและคลัสเตอร์ริง โซลาริสรองรับฮาร์ดแวร์ทงั้ ระบบ SPARC และ x86/64 เพลตฟอร์ม อย่างเช่น Intel และ AMD โดยโซลา ริสสามารถรองรับทางานมัลติโพเซสเซอร์แบบ SMP (Symmetric Multiprocessing) ได้ถึง 100 โพรเซสเซอร์ในระบบ SPARC และ 8 โพรเซสเซอร์ในระบบ x86/64 และแตล่ ะโพเซสเซอร์ยงั สามารถเป็ น แบบ Dual Core CPU ได้ด้วย สรุปซันโซลาริส โซลาริสยงั คงเป็นระบบปฏิบตั กิ ารที่คอ่ นข้างนิยมสาหรับองค์กรขนาดใหญ่ เน่ืองจากความเสถียรและมี ประสิทธิภาพของระบบที่สงู แต่ข้อเสียคือ ซอฟต์แวร์และแอพพลิเคชน่ั ท่ีใช้ส่วนใหญ่ยงั คงเป็ นของบริษัท ซนั ไมโครซิสเตม็ ซง่ึ อาจทาให้ราคานนั้ คอ่ นข้างสงู Microsoft Windows Sever วินโดว์เอ็นที (Windows NT) เป็ นระบบปฏิบตั กิ ารเครือข่ายของไมโครซอฟท์ ท่ีพฒั นามาจากแลนแมเน เจอร์ (LAN Manager) วินโดว์เอ็นทีเวอร์ชนั่ 3.5 เป็ นเวอร์ชนั่ แรกท่ีไมโครซอฟท์นาออกวางตลาด หลงั จาก นนั้ ก็มีการพัฒนาเป็ นเวอร์ชั่น 3.51, 4.0, 2000, 2003 และสาหรับเวอร์ชน่ั ปัจจบุ นั เรียกว่า “วินโดว์ เซิร์ฟเวอร์ 2008” วินโดวส์ 2008 มีฟี เจอร์ใหม่ๆ ท่ีสาคญั เช่น Build-in Web และเวอร์ชวลไลเซชนั่ (Virtualization) ซี่งจะ ช่วยเพ่ิมความเสถียรและความยืดหย่นุ ของระบบ มีเคร่ืองมือใหม่ อย่างเช่น IIS7, Windows Server Manager และ Windows PowerShell จะช่วยให้สามารถควบคมุ เซิร์ฟเวอร์การคอนฟิ ก และการดแู ล จดั การที่ง่ายขนึ ้ การเพิ่มฟี เจอร์ทางด้านการรักษาความปลอดภยั อย่างเช่น Network Access Protection และ Read-Only Domain Controller จะทาให้ระบบมีความแขง็ แกร่งมากขนึ ้ การจัดเกบ็ ไฟล์และการพมิ พ์ วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008 ใช้ระบบไฟล์ NTFS ซึง่ สามารถก้คู ืนได้โดยอตั โนมตั ิเม่ือเกิดข้อผิด พลาด หรือ ล้มเหลว นอกจากนีไ้ มโครซอฟท์ได้เพ่ิม ดสิ ก์โควต้า (Disk Qouta) ซึ่งฟี เจอร์นีไ้ ม่มีในเวอร์ชน่ั 4 นอกจากนี ้ ยงั รองรับการเข้ารหสั ไฟล์ (File Encryption), WebDAV, การพิมพ์ผา่ นอินเตอร์เน็ตโดยใช้โปรโตคอล IPP (Internet Printing Protocal) 104 ระบบปฏบิ ตั ิการเครือขา่ ย นายสมุ นิ ท์ พลพิทกั ษ์
WebDAV (Web-based Distributed Authoring and Versioning) เป็ นเทคโนโลยีใหมท่ ี่ช่วยให้ผ้ใู ช้ สามารถแชร์ไฟล์ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ ด้วยเทคโนโลยีนีท้ าให้ผ้ใู ช้สามารถทางานท่ีใดก็ได้และยังสามารถ อพั เดตไฟล์ท่ีอยบู่ นเครือขา่ ยขององคก์ รได้ DFS (Distribute File System) เป็ นระบบไฟล์ซิสเตม็ ท่ีอนญุ าตให้รวมหลายไดร์ฟหรือไฟล์เซิร์เวอร์เข้า เป็นหนง่ึ ไดเร็คทอร่ี ทาให้ง่ายตอ่ การจดั การไฟล์ทวั่ ทงั้ เครือขา่ ยได้ การดูแลและจัดการระบบ การควบคมุ และจดั การเซิร์ฟเวอร์ตา่ งๆ จะต้องมีเคร่ืองมือท่ีง่ายและผ้ดู แู ลระบบไม่จาเป็ นต้องเดินทางไปท่ี เครื่องเซริ ์ฟเวอร์เหลา่ นนั้ MMC วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008 ใช้ MMC (Microsoft Management Console) ในการควบคมุ ทกุ อยา่ งของ ระบบ MMC เป็ นเครื่องมือที่ออกแบบเพื่อให้ใช้งานง่าย และทาให้ผ้ดู แู ลระบบสามารถควบคมุ ระบบได้ทกุ อยา่ งโดยใช้เครื่องมือนี ้ วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008 ใช้ ADS (Active Directory Service) เป็ นไดเร็คทอรี่ที่จดั เก็บข้อมูลเก่ียวกบั เครือขา่ ย เชน่ ผ้ใู ช้ คอมพิวเตอร์ เคร่ืองพิมพ์ เป็นต้น เพื่อให้ง่ายตอ่ การค้นหาและจดั การ Terminal Services remote Desktop Connection ไมโครซอฟท์มีเซอร์วิสท่ีชว่ ยในการบริหารจดั การเซิร์ฟเวอร์ สามารถทาผา่ นเครือขา่ ยซ่งึ ก็คือ เทอร์มินอล เซอร์วิส (Terminal Service) ในการเชื่อมต่อกบั เซิร์ฟเวอร์นนั้ จะใช้ไคลเอนท์ที่ช่ือวา่ “Remote Desktop Connection 6.0” ซง่ึ มีทงั้ ในวนิ โดวส์วสิ ต้า และวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008เทอร์มินอลเซอร์วิสของวินโดวส์นนั้ จะทาให้ผ้ใู ช้มีความรู้สกึ เสมือนใช้เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ที่ตงั้ อยตู่ รงหน้า นอกจากซอฟท์แวร์ไคลเอนท์ Remote Desktop Connection แล้ว เทอร์มินอลเซอร์วิสสามารถเข้าถึงได้ โดยใช้เว็บบราวเวอร์ ด้วยการติดตงั้ เซอร์วิส Terminal Service Web Access ซึ่งจะทาให้ผ้ใู ช้เข้าถึง แอพพลเิ คชน่ั นีไ้ ด้เพียงแคม่ ีเว็บบราวเซอร์ อยา่ งเชน่ IE หรือ Mozilla เทา่ นนั้ 105 ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือขา่ ย นายสมุ ินท์ พลพทิ กั ษ์
การรักษาความปลอดภยั วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008 ยงั มีแอ็คทีฟไดเร็คทอรี (Active Directory) ซ่ึงจะใช้โปรโตคอลเคอร์เบอโรส์ (Kerberos) เวอร์ชนั 5 สาหรับการล็อคอินของผ้ใู ช้ นอกจากนีย้ งั รองรับการจากัดความยาวของรหสั ผ่าน ระบบเฝ้ าตรวจและป้ องกนั ผ้บู กุ รุก เป็ นต้น วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008 ยงั รองรับระบบ PKI (Public Key Infrastructure) ซึ่งเป็ นสว่ นหนงึ่ ของ AD ถ้า ตดิ ตงั้ Certificate Server เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์นนั้ จะทาหน้าที่เป็ น CA (Certificate Authority) ซึ่งสามาร แจกจา่ ยและจดั การใบรับรองแบบ x.509 สาหรับแอพพลิเคชนั่ และผ้ใู ช้ได้ วินโดวส์ไฟร์วอลล์และ Advance Security เป็ นฟังก์ชน่ั ใหม่ของวินโดวส์วิสต้าและวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008 ซง่ึ ไฟร์วอลล์นีส้ ามารถฟิลเตอร์แพ็กเก็ตของ IPV4 และ IPV6 ที่วิ่งเข้าและออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ บริการอินเทอร์เน็ตและอนิ ทราเน็ต IIS 7.0 วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008 รองรับการให้บริการอินเทอร์เน็ต โดยมี IIS 7.0 (Internet Information Service) ซงึ่ ทาหน้าท่ีให้บริการอินเทอร์เน็ต เช่น HTTP, FTP, SMTP และ SSL เป็ นต้น IIS 7.0 สามารถ รองรับเซิร์ฟเวอร์เสมือน (Virtual Server) หรือสามารถรองรับหลายเว็บไซต์ในเคร่ืองเดียวกนั ได้ IIS 7.0 ถกู อินทิเกรทเข้ากบั ระบบปฏิบตั ิการทาให้มีประสิทธิภาพสงู SMTP ของ IIS 7.0 จะทาให้การรับส่งข้อความมี ความปลอดภยั มากขนึ ้ IIS 7.0 เม่ือทางานร่วมกบั .NET Framework 3.0 จะเป็ นแพลตฟอร์มสาหรับการสร้างเว็บแอพพลิเคชน่ั ท่ีสามารถเช่ือมตอ่ ผ้ใู ช้ และทาให้แชร์ข้อมลู ซง่ึ กนั และกนั ได้ Server Virtualization เวอร์ชวลไลเซซนั (Virtualization) เป็ นเทคโนโลยีใหม่ท่ีเริ่มได้รับความนิยมมากขนึ ้ เร่ือยๆ เวอร์ชวลไลเซ ซันเป็ นการรันหรือมีหลายระบบปฏิบัติการบนฮาร์ดแวร์เดียวกัน เช่นเซิร์ ฟเวอร์เคร่ืองหนึ่งอาจมีทัง้ ระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์และลีนกุ ซ์ในเครื่องเดียวกัน โดยแต่ละระบบปฏิบตั ิการจะแชร์การใช้รีซอร์สของ เครื่อง และจะเป็นอิสระซงึ่ กนั และกนั 106 ระบบปฏิบตั กิ ารเครือขา่ ย นายสมุ นิ ท์ พลพิทกั ษ์
อย่างไรก็ตามเวอร์ชวลไลเซซนั จาเป็ นต้องใช้โพเซสเซอร์ที่ออกแบบมาสาหรับฟังก์ชน่ั นีโ้ ดยเฉพาะ เช่น โพเซสเซอร์ที่มีฟี เจอร์ Intel VT หรือ AMD-V เป็นต้น มัลตโิ พรเซสซ่งิ และคลัสเตอร่ิง วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008 รองรับการทางานมลั ติโพเซสเซอร์แบบ SMP (Symmetric Multiprocessing) ซง่ึ ใช้โพเซสเซอร์แบบ X86 (32 บติ ) และ X64 ( 64 บติ ) ทงั้ ของบริษทั อินเทล (Intel) และ AMD วนิ โดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008 Standard Edition รองรับ SMP ได้ถึง 4 CPU ส่วน Enterprise Edition รองรับ ได้ถงึ 8 CPU สรุปวินโดวส์เซริ ์ฟเวอร์ จดุ เดน่ ของวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2008 คือ ความได้เปรียบทางด้านการตลาด เน่ืองจากคนส่วนใหญ่จะ นิยมใช้ซอฟต์แวร์ของไมโครซอฟท์ ถึงแม้ประสิทธิภาพอาจไมด่ ีเทา่ กบั ของบริษัทอื่นก็ตาม แตไ่ มโครซอฟท์ จะเน้นที่การใช้งานงา่ ย ทาให้ผ้ใู ช้สว่ นใหญ่นยิ ม นอกจากนีแ้ อพพลิเคชนั่ ที่รองรับระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์ก็ มีมากด้วย Red Hat Linux ลีนกุ ซ์เป็ นระบบปฏิบตั ิการประเภทยนู ิกซ์ท่ีคิดค้นโดย ไลนสั โทรวาสด์ส (Linus Torvolds) จดุ ประสงค์ ของการคิดค้นลีนุกซ์ในตอนแรกนัน้ เพ่ือระบบปฏิบัติการประเภทยูนิกซ์ท่ีรันบนพีซีได้ ลีนุกซ์เป็ น ระบบปฏิบตั ิการ แบบโอเพ่นซอร์ส (Open Source) หรือไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ผู้ใช้ทวั่ ไปสามารถดาวน์ โหลดมาใช้งานได้ฟรี แตข่ ้อด้อยของลีนกุ ส์ระบบปฏิบตั กิ ารประเภทยนู ิกซ์คือ ยากตอ่ การใช้งาน เพราะการ ใช้งานส่วนใหญ่ยงั คงเป็ นแบบคอมมานด์ไลน์ หรือ CLI (Command Line Interface) แตป่ ัจจบุ นั ได้มีการ พฒั นายสู เซอร์อนิ เตอร์เฟส หรือ GUI อยา่ งตอ่ เน่ือง เพื่อให้ง่ายตอ่ การใช้งาน ลีนกุ ส์เป็นระบบเปิดคือ ผ้ใู ดก็ได้มีสิทธ์ท่ีจะนาไปใช้งานได้โดยไมต่ ้องเสียคา่ ลิขสิทธ์ิแตอ่ ย่างใด ดงั นนั้ ใน ตระกูลลีนกุ ส์มีหลายบริษัทพยายามที่จะนาระบบมาพฒั นาเพิ่มต่อและจาหน่ายโดยจะเน้นที่การบริการ เป็นหลกั บริษัทตา่ งๆ เชน่ Redhat, SuSe, Debian, Ubantu เป็นต้น 107 ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือขา่ ย นายสมุ ินท์ พลพิทกั ษ์
สว่ นระบบปฏิบตั ิการยนู ิกส์อีกประเภทหนึ่งได้รับความนิยมมากเช่นกนั และมีความคล้ายคลงึ กบั ลีนกุ ส์ คือ ระบบปฏิบตั กิ ารตระกลู BSD ซึง่ กาเนิดและพฒั นาที่มหาวิทยาลยั แคลิฟอร์เนีย ณ เมืองเบิร์กเลย์ (UC Berkley) เวอร์ชนั่ ของ BSD เชน่ FreeBSD, OpenBSD เป็นต้น Redhat ลีนุกส์เป็ นระบบปฏิบตั ิการท่ีพฒั นาตอ่ จากระบบ Fedora ซึ่งเป็ นโอเพ่นซอร์สที่พฒั นาโดย นกั เขียนโปรแกรมทวั่ โลกและสนบั สนนุ อยา่ งเป็ นทางการโดยเรดแฮทเอง Fedora นนั้ สามารถดาวน์โหลด มาใช้งานได้ฟรี แตส่ าหรับเรดแฮทสีนกุ ส์จะมีคา่ ลิขสิทธิ์ เวอร์ชน่ั ล่าสดุ ของเรดแฮทคือ Redhat Enterprise Linux 5 ซงึ่ แบง่ ยอ่ ยเป็น 3 เวอร์ชนั่ คือ Redhat Enterprise Linux Desktop : เป็ นเวอร์ชนั่ สาหรับการใช้งานส่วนตวั เหมาะสาหรับใช้เป็ น เวริ ์คสเตชนั่ หรือเพื่อการศกึ ษา Redhat Enterprise Linux Server : เป็ นเวอร์ชน่ั ท่ีมีเคร่ืองมือหลากหลาย ถกู ออกแบบสาหรับทา เซริ ์ฟเวอร์ขนาดเลก็ และกลาง Redhat Enterprise Linux Advance Server : เป็ นเวอร์ชน่ั สาหรับเซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ ซึ่ง ออกแบบสาหรับให้บริการที่สาคญั ๆ ขององค์กร นอกจากนีย้ งั มีเคร่ืองมือสาหรับการบริหารจดั การ เซิร์ฟเวอร์อยา่ งมากมาย ระบบจัดเกบ็ ไฟล์และการพมิ พ์ ลีนกุ ซ์ใช้ระบบไฟล์คล้ายกบั ยนู ิกซ์ โดยมีชื่อเรียกว่า Ext (Extended File System) เวอร์ชน่ั ท่ีใช้งานอยู่ ในปัจจบุ นั คือ เวอร์ชน่ั 2 เรียกสนั้ ๆ วา่ “ext2” สามารถรองรับไฟล์ได้ถึง 4 TB และปัจจบุ นั รองรับระบบไฟล์ ext3 ซงึ่ รองรับระบบไฟล์ได้ถึง 16 TB สว่ นการรักษาความปลอดภยั ของระบบไฟล์ก็เหมือนกบั ยนู ิกส์ คือ ผ้ดู แู ลระบบสามารถกาหนดให้ผ้ใู ช้มี สทิ ธิเข้าถงึ ไฟล์และไดเร็คทอรี่ใดได้บ้าง นอกจากนีล้ ีนกุ ส์ยงั สามารถแชร์ไฟล์กบั ระบบวินโดวส์ได้โดยการใช้ โปรโตคอล Samba ผ้ใู ช้งานลีนกุ ส์และวนิ โดวส์สามารถแลกเปลี่ยนไฟล์ซงึ่ กนั ได้ ลีนกุ ส์จะใช้ Samba ซงึ่ เป็นโปรแกรมท่ีใช้โปรโตคอล SMB (Server Message Block) ซึง่ เป็ นโปรโตคอล ที่วนิ โดวส์ใช้สาหรับแชร์ไฟล์และพรินเตอร์ผา่ นเครือขา่ ย 108 ระบบปฏิบตั ิการเครือขา่ ย นายสมุ ินท์ พลพิทกั ษ์
การดูแลและจัดการระบบ Webmin : เป็ นเครื่องมือแบบโอเพน่ ซอร์ส สาหรับการจดั การเซิร์ฟเวอร์ผ่านเว็บ ผ้ดู แู ลระบบสามารถ จดั การเซริ ์ฟเวอร์ได้เกือบทกุ อยา่ ง ไมว่ า่ จะเป็นการจดั การยูสเซอร์, ไฟล์, พรินเตอร์,เน็ตเวิร์ค, เว็บ, เมล์ และ DNS เป็นต้น บริการอินเทอร์เน็ตและอนิ ทราเน็ต อะปาเช่ (Apache) เป็ นเว็บเซิร์ฟเวอร์ท่ีนิยมมากท่ีสุดบนอินเทอร์เน็ต และสามารถรันบนลีนุกซ์ได้ เช่นกนั เซิร์ฟเวอร์จะรองรับ CGI และ PHP ซ่ึงเป็ นโอเพ่นซอร์สเช่นกนั นอกจากนีล้ ีนุกส์ยงั รองรับบริการ อนิ เทอร์เน็ตอ่ืนๆ เชน่ FTP, Telnet, DNS, DHCP, SMTP, POP3, IMAP, NNTP,NTP เป็นต้น มัลตโิ พรเซสซิงและคลัสเตอร์ริง Red Hat Enterprise Linux AS รองรับการทางานแบบคลสั เตอร์โดยใช้ Cluster Manager ซึง่ รองรับ การคลสั เตอร์ทงั้ สองประเภทคือ Failover และ Load Balancing Failover Clustering Cluster Manger รองรับเซอร์วสิ หลายประเภท ดงั นี ้ NFS/CIFS Failover : เพิ่มการให้บริการแบบต่อเน่ืองสาหรับไฟล์เซอร์วิสทงั้ ระบบยนู ิกซ์และ วนิ โดวส์ Fully Shared Storage System : สมาชิกของคลสั เตอร์ทงั้ หมดสามารถเข้าถึงระบบจดั เก็บไฟล์ท่ี แชกนั Comperhensive Data Integrity guarantee : ตรวจเช็คความถกู ต้องของดาต้าโดยในการเข้าถึง ระบบจดั เก็บไฟล์ SCSI and Fibre Channel Support : รองรับทงั้ ระบบ SCSI และ Fibre Channel ในการเข้าถึง ระบบจดั เก็บไฟล์ Service Failover : นอกจากการตรวจเช็คดวู ่าฮาร์ดแวร์ยงั คงทางานปกติหรือไม่ Cluster Manager ยงั ตรวจเช็คได้วา่ แอพพลิเคชน่ั ทางานอย่างถกู ต้องหรือไม่ และทาการรีโคเวอร์เซอร์วิส ถ้าการให้บริการหยดุ ลง 109 ระบบปฏบิ ตั ิการเครือขา่ ย นายสมุ ินท์ พลพทิ กั ษ์
IP Load Balancing IP Load Balancing เป็ นการให้บริการคลสั เตอร์ในระดบั IP กลา่ วคือ การให้บริการนนั้ จะแบง่ ตาม โหลดของเซิร์ฟเวอร์หลายๆ เครื่อง เป็นการเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการให้บริการ Server Virtualization เรดแฮทลีนกุ ซ์รองรับการทาเวอร์ชวลไลเซซนั โดยเวอร์ชนั่ เซิร์ฟเวอร์รองรับการทาเวอร์ชวลไลเซซนั ได้ถึง 4 ระบบปฏิบตั กิ าร สว่ นเวอร์ชนั่ Advance Platform รองรับได้ไมจ่ ากดั ระบบปฏิบตั กิ ารบนเซิร์ฟเวอร์เคร่ือง เดียวกนั สรุปเรดแฮทลีนุกซ์ ลีนุกซ์เป็ นระบบปฏิบตั ิการท่ีฟรี หรือมีราคาที่ถูกมากเมื่อเทียบกับระบบอ่ืนๆ แต่เน่ืองจากลีนุกซ์เป็ น ระบบท่ีพฒั นาใหม่ ดงั นนั้ จงึ ยงั มีซอฟต์แวร์หรือแอพพลิเคชนั ท่ีรองรับอย่นู ้อยลีนุกซ์ยงั ขาดองค์ประกอบที่ สาคญั ของระบบปฏิบตั ิการเครือข่ายนนั้ คือไดเร็คทอรีเซอร์วิส ซ่ึงระบบปฏิบตั ิการอ่ืนๆ ท่ีกล่าวถึงในบทนี ้ ล้วนแตเ่ ป็นไดเร็คทอรีเซอร์วิสทงั้ สนิ ้ อยา่ งไรก็ตามข้าได้เปรียบของลีนกุ ซ์ยงั ทาให้มันเป็ นระบบปฏิบตั กิ ารท่ี น่าจะมีความนิยมมากขึน้ เร่ือยๆ ซ่ึงนนั่ ก็หมายถึง การเพิ่มขึน้ ของซอฟต์แวร์และแอพพลิเคชนั้ ท่ีรองรับ นนั้ เอง Feature Red Hat Enterprise Solaris Windows Server 2008 Linux 5 Directory Service Sun Directory Active Directory Open LDAP Service (SDS) Service (ADS) Internet Service Apache(PHP, IIS 7.0(ASP, ASP.NET,PHP) Apache(PHP, Tomcat(JSP) Multiprocessing Tomcat(JSP) 64 CPUs/Server 8 CPUs/Server Clustering Nodes 8 CPUs/Server 4 Nodes 16 Nodes Max memory 16 Nodes 64 GB 64 GB File System 4 GB UFS NTFS Max File System Size ext3 4 TB 2 TB Platform 4 TB - Intel, AMD - Intel, AMD - Intel, AMD - SPARC - SPARC - Alpha - PowerPC 110 ระบบปฏิบตั ิการเครือขา่ ย นายสมุ ินท์ พลพิทกั ษ์
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: