Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่ม 15 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

กลุ่ม 15 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

Published by Panthita Prempree, 2022-04-06 02:53:51

Description: กลุ่ม 15 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

ผู้จัดทำ นางสาวปัญฑิตา เปรมปรี 6181121016 นางสาวโสภิตภิมนฑ์ หมีทอง 6181121020





การจัคดวกิาจมกหรมรามยกขาอรงเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เป็นระบบ เพื่ อดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่ อทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมเป็นพฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร โดยการ จัดประสบการณ์ หรือจัดกิจกรรมใดๆใน สภาพแวดล้อมที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ เพื่ อให้ผู้เรียนได้รับการฝึก ด้วยการประยุกต์หลักในการจัดการทรัพยากรบุคคล เวลา และ งบประมาณ เพื่ อใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้นั้น สำเร็จตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยพิ จารณาได้จากขอบเขตของสาระการเรียนรู้และเป้าหมายของการ จัดการเรียนรู้เป็นสำคัญ

การจคัดวกาิมจสกำรครัญมกขาอรงเรียนรู้ การเรียนรู้ของผู้เรียน การประกันภายใน การสอนของครู การประเมินภายนอก การบริหารของผู้บริหาร

การจคัดวกาิมจสกำรครัญมกขาอรงเรียนรู้ ความสำคัญต่อผู้สอน ความสำคัญต่อผู้เรียน ความสำคัญต่อสถานศึกษา

ความสำคัญต่อผู้สอน 1 เป็นการแสดงถึงความรู้ ความสามารถ ของผู้สอนในการประยุกต์และบูรณาการ ความรู้ ทักษะ เจตคติ และประสบการณ์ในการสอน มาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ 2 เป็นการยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครู เนื่องจากเป็นการปฏิบัติงานสอนที่ต้องใช้ ความรู้ ความสามารถ ด้านเนื้อหาวิชาที่สอน วิชาชีพครู ทักษะการคิด ทักษะการ สื่อสาร และทักษะการแก้ปัญหาของตัวผู้สอนเอง 3 เป็นการแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจ พยายามของครูในการพั ฒนาตนเองและ งานที่รับผิดชอบ 4 เป็นการพั ฒนาตนเองเพื่ อศึกษาค้นคว้าข้อมูลสารสนเทศ เทคนิคการสอนใหม่ รวมถึงการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้อีกด้วย

ความสำคัญต่อผู้เรียน 1 เป็นการช่วยผู้เรียนได้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนมากขึ้น 2 ช่วยให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจ และเจตคติที่ดีต่อการเรียนเพราะได้เรียนจากกิจกรรม ที่สอดคล้องกับพั ฒนาการ ความสนใจ และความถนัด 3 ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในสถานการณ์การเรียนรู้ที่แปลก ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนได้ พั ฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ได้ดีขึ้น รู้จักแหล่งเรียนรู้มากขึ้น

ความสำคัญต่อสถานศึกษา 1 เป็นการช่วยสถานศึกษาในการดำเนินการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ตามแผนงานที่กำหนดไว้ 2 เป็นการช่วยสถานศึกษาพั ฒนาคุณภาพการเรียนรู้ได้ตามเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ 3 เป็นการช่วยสถานศึกษาให้มีหลักฐานเชิงประจักษ์ของกระบวนการ การ จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน

หลักกกาารรจเัรดียกินจรกู้ รรม 1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จะต้องให้สอดคล้องเจตนารมณ์ของหลักสูตร จุดประสงค์การ เรียนรู้ ลักษณะเนื้อหาวิชาที่สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคำนึง ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่ อป้องกันการแก้ไขปัญหา 3 การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติในสถานการณ์จริง ฝึกให้ผู้เรียนได้คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง 4 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการสาระความรู้ที่หลากหลาย อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน 5 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดแทรกการปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะ อันพึ งประสงค์ให้กับผู้เรียน

หลักกกาารรจเัรดียกินจรกู้ รรม 6 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศ สภาพแวดล้อมทางการเรียน และสื่อการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ เพื่ ออำนวยความสะดวกเพื่ อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความ รอบรู้ 7 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ การเรียนรู้ในลักษณะ เรียนรู้ร่วมกัน 8 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เปิดช่องทางให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ ทุกเวลาทุกสถานที่ 9 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบประสานความร่วมมือกับชุมชนเพื่ อร่วมกันพั ฒนาผู้เรียนตาม ศักยภาพ 10 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ นั้น ๆ

ตามหกลาักรจสัูดตกริจแกกรนรกมลกาางรกเราีรยศนึกรู้ษาขั้นพื้ นฐาน 1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่ อสื่อสารสาระการเรียนรู้ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้ นฐาน 2 วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องทำหน้าที่ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่ อพั ฒนาผู้เรียน กิจกรรมพั ฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้ นฐาน

การพั ฒนาคุณภาพการเรียนรู้ 1 การพั ฒนาคุณภาพการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้ นฐาน 1.1 การเป็นผู้เรียนรู้ 1.2 การเป็นผู้ร่วมสร้างนวัตกรรม 1.3 การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง 2 การพั ฒนาคุณภาพการเรียนรู้ตามกรอบการประเมินคุณภาพภายนอก 2.1 ด้านผู้เรียน พิ จารณาความเหมาะสมเป็นไปได้ โดยพิ จารณาจากการกำหนดเป้า หมาย/เกณฑ์ในการพั ฒนาผู้เรียนที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพจริงของผู้เรียน 2.2 ด้านประสิทธิผลด้านผู้เรียน จะพิ จารณาจากผลการพั ฒนาสมรรถนะของผู้เรียน ด้านต่างๆ ตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น 2.3 ด้านการจัดการเรียนการสอน แนวทางการพิ จารณา พิ จารณาจากความเป็นระบบ เชื่อได้ของกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

การพั ฒนาคุณภาพการเรียนรู้ 3 การพั ฒนาคุณภาพการเรียนรู้ตามกรอบการประกันคุณภาพภายใน 3.1 คุณภาพของผู้เรียน ประเด็นพิ จารณา ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 3.2 คุณลักษณะที่พึ งประสงค์ของผู้เรียน 3.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

การพั ฒนาคุณภาพการเรียนรู้ 4 การพั ฒนาคุณภาพการเรียนรู้ตามนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐาน 4.1 ปรับปรุงและพั ฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษาให้เลือกออกการพั ฒนา สมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล 4.2 พั ฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 4.3 พั ฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในทศวรรษที่ 21 4.4 พั ฒนาผู้เรียนให้มีทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต มีlสุขภาวะที่ดี 4.5 การจัดการศึกษาเพื่ อการบรรลุเป้าหมายโลกเพื่ อการพั ฒนาอย่างยั่งยืน 4.6 พั ฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิ เศษ 4.7 นำ Digital Technologt มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล

การเกรีายรนพัรูฒ้อยน่าางคุตณ่อภเนาื่พอง 1 กระบวน กระบวนการพั ฒนา กระบวนการพั ฒนาโดยใช้ข้อมูลอย่างชาญฉลาด (Data Wise Improvement Process) 2 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 3 การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Networking) 4 การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ (Evaluation Utilization)

1 กระบวน กระบวนการพั ฒนา กระบวนการพั ฒนาโดยใช้ข้อมูล อย่างชาญฉลาด (Data Wise Improvement Process) การใช้ข้อมูลอย่างชาญฉลาดเป็นกระบวนการนำข้อมูลสารสนเทศต่างๆที่ สถานศึกษามีอยู่มาใช้ในการพั ฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งในด้านการบริหารการ จัดการ การจัดการเรียนการสอน หรือด้านอื่นๆ โดยข้อมูลสารสนเทศเหล่านี้ได้ มาจากการประเมินจากแหล่งต่างๆทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เช่น ผล การประเมินผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้ นฐาน ผลการทดสอบระดับท้อง ถิ่น ผลการทดสอบระดับชาติ เป็นต้น

2 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การจัดการความรู้เป็นแนวคิดที่สามารถนำไปปฏิบัติ เพื่ อให้การดำเนินการ ของโรงเรียนเป็นไปตามวงจรคุณภาพ PDCA และทำให้คุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนมีการพั ฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในขั้นตอน A (Act) : ซึ่งการ ดำเนินงานอย่างเหมาะสมจำเป็นจะต้องพิ จารณาข้อมูลต่างๆที่มีอยู่ในโรงเรียน อย่างรอบด้าน เพื่ อนำไปสู่การปรับปรุง พั ฒนา และแก้ไขจุดบกพร่องต่างๆและ นำไปสู่การกำหนดแผนงานและปฏิบัติงานตามลำดับ

3 การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Networking) เครือข่ายเป็นกลุ่มของบุคคลและความสัมพั นธ์ระหว่างบุคคลภายในกลุ่มหรืออาจมีการเชื่อม โยงระหว่างกลุ่มที่เกิดการรวมตัวกันของบุคคลด้วยความสมัครใจ เพื่ อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารระหว่างกัน ประสานงานเชื่อมโยงกัน สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือทำ กิจกรรมร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกันภายใต้รูปแบบหรือระเบียบโครงสร้างที่บุคคล องค์กร หรือสมาชิกยังคงมีความเป็นอิสระต่อกัน เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง การเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสาร สาระความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ ต่างๆมาใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ ซึ่งผู้เรียนผู้สอน แม่สถานศึกษาสามารถนำเครือข่ายการ เรียนรู้ต่างๆมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

3 การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Networking) เครือข่ายการเรียนรู้ ประกอบด้วยกลุ่มย่อยๆซึ่งมีอยู่อย่างหลากหลาย เช่น เครือข่าย ภายในโรงเรียน ประกอบด้วย เครือข่ายครูตามระดับชั้น ระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเครือ ข่ายระหว่างโรงเรียน เพื่ อร่วมมือกันในการพั ฒนาคุณภาพการศึกษา เช่น เครือข่ายโรงเรียน ขนาดเล็ก เครือข่ายกลุ่มสถานศึกษา เครือข่ายวิชาการ เครือข่ายกลุ่มพั ฒนาคุณภาพการ ศึกษา เป็นต้น โดยข้อมูลข่าวสารสารสนเทศและทรัพยากรที่ใช้ในเครือข่ายเช่นนี้เป็นเรื่องเกี่ยว กับแนวคิดการจัดการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการแก้ปัญหาด้านต่างๆ ของสถานศึกษา รวมถึงคุณภาพของผู้เรียนและความสำเร็จ กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ เคล็ด ลับในการใช้เทคโนโลยี และมุมมองที่มีผลต่อผู้บริหารและการบริหารจัดการ เป็นต้น

4 การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ (Evaluation Utilization) ผลการประเมินของสถานศึกษา มีลักษณะเป็นสารสนเทศ ดังนั้น สถานศึกษาควรนำผลการประเมินทั้งผลการประเมินคุณภาพภายในและ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาพิ จารณาร่วมกันเพื่ อให้ได้สารสนเทศ ที่มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ แล้วนำผลการประเมินดังกล่าวมาพั ฒนาการ ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง