หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เร่ืองท่ี 3 การวดั และประเมนิ ผล อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ 1 ตุลาคม 2561 การวดั และประเมินผลการเรียนเป็ นภารกิจที่สาคญั ประการหน่ึงของสถานศึกษา ท่ีจะช่วยให้ สถานศึกษาทราบความกา้ วหนา้ ของผเู้ รียนท้งั ในดา้ นความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมจริยธรรม ซ่ึง จะตอ้ งดาเนินการด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นการปฏิบตั ิจริงท่ีเหมาะสมกับลักษณะธรรมชาติของ รายวิชา และผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั ในแต่ละสาระการเรียนรู้ ตลอดจนความสอดคล้องกับระดับ การศึกษา โดยจะตอ้ งดาเนินการอยา่ งต่อเน่ืองควบคู่ไปกบั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียน หลกั การ 1. สถานศึกษาและหน่วยงานตน้ สงั กดั เป็ นผรู้ ับผดิ ชอบในการวดั และประเมินผลการ เรียนของผเู้ รียน 2. เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ กี่ยวขอ้ งมีส่วนร่วมในการวดั และประเมินผลการเรียน 3. ให้มีการประเมินผลการเรียนเป็ นรายวิชาตามโครงสร้างหลกั สูตร 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ให้ดาเนินการควบคู่ไปกบั กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยตอ้ งดาเนินการดว้ ยวธิ ีการและเครื่องมือท่ีหลากหลายใหส้ อดคลอ้ งกบั ระดบั การศึกษา และธรรมชาติรายวชิ า 5. สถานศึกษาตอ้ งเปิ ดโอกาสใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรียนระหวา่ งสถานศึกษาและ รูปแบบการศึกษาต่าง ๆ 6. การวดั และประเมินผลจะตอ้ งไดม้ าตรฐานและมีคุณภาพตามที่หน่วยงานตน้ สงั กดั กาหนด การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
33 แผนภูมิแสดงกรอบการวดั และประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรกา กรอบ การวดั และ การวดั และ ระห การวดั และ ประเมนิ ผล ประเมินผล สถานศึก ประเมนิ ผล การเรียน รายวชิ า การเรียนตาม วธิ ีการ หลกั สูตร การประเมนิ กพช. การประเมิน การศึกษา (200 ชม.) คุณธรรม ป นอกระบบ การประเมนิ สานกั ระดบั คุณภาพการศึกษา การศึกษา คุณ ข้นั พืน้ ฐาน นอกระบบ ท่ีสาน พทุ ธศักราช ระดบั ชาติ ทุกระดบั การศึกษา 2551 ตอ้ งเขา้ รับการประเมิน ตามท่ี สานกั งาน กศน. กาหนด การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี
รศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 หวา่ งภาคเรียน ผลการประเมิน ผา่ น กษาประเมินดว้ ย ผา่ น รที่หลากหลาย ไม่ผา่ น - 32 - ปลายภาคเรียน ประเมินซ่อม เป็ นไปตามท่ี ไม่ผา่ น กงาน กศน. กาหนด ลงทะเบียนเรียนใหม่ ณธรรมเบ้ืองตน้ ผา่ น จบ นกั งาน กศน. กาหนด ผา่ น หลกั สูตร ด ธรรมะวธิ ีกลุ
- 33 - กรอบการวดั และประเมนิ ผลการเรียน กรอบการวดั และประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 มีดงั น้ี 1. การวัดและประเมินผลการเรียนเป็ นรายวิชา เป็ นการประเมินเพื่อทราบสภาพและ ความก้าวหน้า ท้งั ดา้ นความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมจริยธรรม อนั เป็ นผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของสถานศึกษาในแต่ละรายวิชา ดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ประเมินการปฏิบตั ิตามมาตรฐานการเรียนรู้ (Performance Evaluation) ประเมินการปฏิบัติจริง (Authentic Assessment) ทดสอบย่อย (Quiz) ประเมินจากกิจกรรม โครงงาน หรือแบบฝึ กหัด เป็ นตน้ โดยเลือกให้สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั ธรรมชาติของรายวชิ า ควบคูไ่ ปกบั กิจกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียน การกาหนดคะแนนระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียนให้เป็ นไปตามเกณฑ์ท่ี สานกั งาน กศน. กาหนด โดยการวดั ผลระหวา่ งภาคเรียนสถานศึกษาเป็ นผูด้ าเนินการ สาหรับการ วดั ผลปลายภาคเรียน ใหเ้ ป็นไปตามที่สานกั งาน กศน. กาหนด 2. การประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เป็ นเง่ือนไขหน่ึงในการจบหลกั สูตร ในแต่ละระดบั การศึกษา ซ่ึงผูเ้ รียนทุกคนตอ้ งทากิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต เพ่ือการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม จานวนไม่น้อยกวา่ 200 ชวั่ โมง ตามเกณฑ์การประเมินท่ีสถานศึกษา กาหนด โดยประเมินจากโครงการ หรือกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต และให้ผูเ้ กี่ยวขอ้ งมีส่วนร่วม ในการประเมิน 3. การประเมินคุณธรรม เป็นเง่ือนไขหน่ึงท่ีผเู้ รียนทุกคนตอ้ งไดร้ ับการประเมินตามเกณฑ์ ท่ีสถานศึกษากาหนด จึงจะไดร้ ับการพิจารณาให้จบหลกั สูตรในแตล่ ะระดบั การศึกษา โดยคณะกรรมการ การวดั และประเมินผลของสถานศึกษาพิจารณาคุณธรรมเบ้ืองตน้ ที่สานกั งาน กศน. กาหนด ท้งั น้ี สถานศึกษาสามารถกาหนดเพ่ิมเติมได้ โดยเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและ ประกาศใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งไดร้ ับทราบและมีส่วนร่วมในการประเมินคุณธรรม 4. การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ สถานศึกษาจะตอ้ งจดั ให้ผเู้ รียนทุกคน ท่ีเรียนในภาคเรียนสุดทา้ ยของทุกระดบั การศึกษา ไดเ้ ขา้ รับการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบ ระดบั ชาติ ตามท่ีสานกั งาน กศน. กาหนด การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 34 - ผลการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ จะนาไปใชใ้ นการวางแผน พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน และคุณภาพการศึกษา ของแต่ละสถานศึกษา และภาพรวมของสานกั งาน กศน. ตอ่ ไป หากผ้เู รียนไม่เข้ารับการประเมนิ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาตจิ ะมีผลทาให้ไม่จบ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 เกณฑ์การจบหลกั สูตร ผเู้ รียนท้งั ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศึกษาตอน ปลาย มีเกณฑก์ ารจบหลกั สูตรในแตล่ ะระดบั การศึกษา ดงั น้ี 1. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินการเรียนรู้และไดห้ น่วยกิตในรายวชิ า แตล่ ะระดบั การศึกษา ตามโครงสร้างหลกั สูตร คือ 1.1 ระดบั ประถมศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ 48 หน่วยกิต แบ่งเป็นวชิ าบงั คบั 36 หน่วยกิต และวชิ าเลือกไม่นอ้ ยกวา่ 12 หน่วยกิต 1.2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 56 หน่วยกิต แบ่งเป็นวชิ าบงั คบั 40 หน่วยกิต และวชิ าเลือกไมน่ อ้ ยกวา่ 16 หน่วยกิต 1.3 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไม่นอ้ ยกวา่ 76 หน่วยกิต แบ่งเป็ นวชิ าบงั คบั 44 หน่วยกิต และวชิ าเลือกไมน่ อ้ ยกวา่ 32 หน่วยกิต 2. ผา่ นเกระบวนการประเมินกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ (กพช.)ไมน่ อ้ ยกวา่ 200ชวั่ โมง 3. ผา่ นกระบวนการประเมินคุณธรรม ในระดบั พอใชข้ ้ึนไป 4. เขา้ รับการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ การบริหารการวดั และประเมนิ ผล การจดั การศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 มุ่งให้ผูเ้ รียนมีความรู้ ความสามารถ มีกระบวนการคิดวิเคราะห์และปลูกฝังให้มี คุณธรรมจริยธรรม ตามจุดหมายของหลกั สูตรน้นั ดงั น้นั การวดั และประเมินผลการเรียนจะตอ้ งให้ สอดคลอ้ งกบั จุดหมายดงั กล่าว ซ่ึงเป็นภารกิจท่ีสาคญั และจาเป็ นของสถานศึกษา สานักงาน กศน. จึงได้จดั ทาแนวทางการวดั และประเมินผล เพ่ือให้สถานศึกษา พจิ ารณานาไปกาหนดเป็นแนวทางการดาเนินงานใหเ้ หมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษา ดงั น้ี การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 35 - 1. ภารกจิ ของสถานศึกษาในการวดั และประเมินผลการเรียน สถานศึกษามีภารกิจในการวดั และประเมินผลการเรียน ดงั น้ี 1.1. การจัดทาระเบียบและแนวปฏบิ ัติในการวดั และประเมนิ ผลการเรียน สถานศึกษาตอ้ งจดั ทาระเบียบการวดั และประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา สาหรับให้ผูเ้ กี่ยวข้องรับรู้และถือปฏิบัติเป็ นแนวเดียวกัน เพื่อให้การประเมินผลการเรียนของ สถานศึกษามีความถูกตอ้ ง ยตุ ิธรรม และมีผลการดาเนินงานท่ีน่าเช่ือถือ เป็นท่ียอมรับของสงั คม 1.2 การเทยี บโอนผลการเรียน สถานศึกษาจะตอ้ งจดั ทาระเบียบหรือแนวปฏิบตั ิในการเทียบโอนผลการเรียน ให้ เป็นส่วนหน่ึงของผลการเรียนตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ตามที่สานกั งาน กศน. กาหนด 1.3 การวดั และประเมินผลผู้เรียน สถานศึกษาตอ้ งดาเนินการวดั และประเมินผลผเู้ รียน ดงั น้ี 13.1 การวดั และประเมินผลเป็นรายวชิ า ประกอบดว้ ย 1) การวดั และประเมินผลก่อนเรียน 2) การวดั และประเมินผลระหวา่ งภาคเรียน 3) การวดั และประเมินผลปลายภาคเรียน 1.3.2 การประเมินกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ (กพช.) 1.3.3 การประเมินคุณธรรม 1.3.4 การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ 1.4. การประเมินซ่อม สถานศึกษาตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รียนที่ไมผ่ า่ นการประเมินรายวชิ า เขา้ รับการประเมินซ่อม ดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลาย เช่น การทดสอบ หรือการมอบหมายใหท้ ารายงานเพิม่ เติม หรือการจดั ทา แฟ้มสะสมงาน หรือการเขา้ ร่วมกิจกรรม หรืออ่ืนๆ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด โดยให้ค่าระดบั ผลการเรียนไม่เกิน 1 ท้งั น้ี จะตอ้ งดาเนินการให้แลว้ เสร็จ ก่อนเปิ ดภาคเรียนถดั ไป 1.5. การรายงานการประเมนิ ผลการเรียน สถานศึกษาจะต้องจัดทารายงานการประเมินผลการเรียนของผู้เรี ยน เป็ น รายบุคคล รายกลุ่ม เพื่อให้ผเู้ รียนทราบความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ของตนเอง ครูใชเ้ ป็ นขอ้ มูลใน การปรับปรุงและพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ สถานศึกษาและผเู้ ก่ียวขอ้ งใชเ้ ป็ นขอ้ มูลในการ บริหารจดั การศึกษาของสถานศึกษา ใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตามจุดหมาย ของหลกั สูตร การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 36 - 1.6. การอนุมัตกิ ารจบหลกั สูตร สถานศึกษาตรวจสอบคุณสมบตั ิของผเู้ รียนให้เป็ นไปตามเกณฑ์การจบหลกั สูตร การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และอนุมตั ิการจบหลกั สูตร 1.7. การจัดทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษา สถานศึกษาจะตอ้ งจดั ทาเอกสารแสดงขอ้ มูลและสถานภาพทางการศึกษาของ ผเู้ รียน เพื่อใชส้ าหรับตรวจสอบ สื่อสาร ส่งต่อ และรับรองผลการเรียนของผเู้ รียน หลกั ฐานการศึกษา ท่ีสถานศึกษาจะตอ้ งจดั ทาแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1.7.1 เอกสารหลกั ฐานการศึกษาควบคุมและบงั คบั แบบ ประกอบดว้ ย 1) ระเบียนแสดงผลการเรียน (กศน. 1) 2) ประกาศนียบตั ร (กศน. 2) 3) แบบรายงานผสู้ าเร็จการศึกษา (กศน. 3) 1.7.2 เอกสารหลกั ฐานการศึกษาที่สถานศึกษาดาเนินการเอง เช่น แบบบนั ทึก ผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน (กศน.4) แบบอนุมตั ิผลการจบหลกั สูตร แบบรายงานแสดงผลการเรียน เฉล่ีย GPA ของนกั ศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย และอ่ืนๆ 1.8. การกากบั ตดิ ตามและประเมินผลการเรียน สถานศึกษาจะต้องมีการวางแผน กากับ ติดตามและตรวจสอบการดาเนินการ ประเมินผลการเรียน เพื่อให้การดาเนินการเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถปรับปรุงแกไ้ ข ขอ้ บกพร่องท่ีเกิดข้ึนไดท้ นั เหตุการณ์ โดยใหม้ ีผรู้ ับผดิ ชอบดาเนินการกากบั ติดตามในเร่ืองตา่ ง ๆ เช่น 1.8.1 มีการประเมินผลการเรียนใหส้ อดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั ในแต่ละรายวชิ า 1.8.2 มีการประเมินผลการเรียนรู้ และบนั ทึกผลหลงั การเรียนที่จบเน้ือหาในแตล่ ะเร่ือง ทุกคร้ัง แลว้ นาผลการประเมินมาปรับปรุงพฒั นาผเู้ รียน ใหเ้ ป็นปัจจุบนั 18.3 มีการตรวจผลงานผเู้ รียน พร้อมใหข้ อ้ เสนอแนะ เพอื่ การปรับปรุงผลงานผเู้ รียน 2. บทบาทหน้าทีข่ องผ้เู ก่ยี วข้องในการวดั และประเมนิ ผล การวดั และประเมินผลการเรียนของผเู้ รียน สถานศึกษาจะตอ้ งเปิ ดโอกาสใหบ้ ุคคลท่ี เกี่ยวขอ้ งในการจดั การศึกษา ท้งั ผูเ้ รียน ชุมชนเขา้ มามีส่วนร่วมกบั ผสู้ อนและบุคลากรฝ่ ายต่าง ๆ ของ สถานศึกษา เพื่อให้การดาเนินการวดั และประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาเป็ นไปตามระเบียบ หรือแนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลของสถานศึกษา จึงควรกาหนดภารกิจการวดั และประเมินผล การเรียนใหบ้ ุคลากรฝ่ ายต่าง ๆ ของสถานศึกษารับผดิ ชอบ ดงั น้ี การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 37 - ผู้ปฏิบัติ บทบาทหน้าทีท่ เ่ี กยี่ วข้องกบั การวดั และประเมินผล 1. คณะกรรมการ 1.1 ใหค้ วามเห็นชอบระเบียบการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ระเบียบ สถานศึกษา แนวปฏิบตั ิของสถานศึกษา 1.2 ใหค้ วามเห็นชอบพฤติกรรมบ่งช้ีการประเมินคุณธรรมเบ้ืองตน้ 2. คณะกรรมการ บริหารหลกั สูตรและ ที่สถานศึกษากาหนดข้ึนเพือ่ พฒั นาผเู้ รียน วชิ าการของสถานศึกษา 1.3 ใหค้ วามเห็น และขอ้ เสนอแนะเก่ียวกบั การวดั และประเมินผล 3. คณะกรรมการการวดั การเรียน และประเมินผลของ สถานศึกษา 2.1 กาหนดแนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลรายวชิ า 2.2 กาหนดพฤติกรรมบ่งช้ีและแนวปฏิบตั ิการประเมินคุณธรรม 4. ครู สานกั งาน กศน.กาหนด 2.3 จดั ทาระเบียบแนวปฏิบตั ิการเทียบโอนใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวทางการ เทียบโอนท่ีสานกั งาน กศน.กาหนด 3.1 จดั ทาระเบียบการวดั และประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้ สอดคลอ้ งกบั นโยบายของ กศน. 3.2 จดั ทาเครื่องมือประเมินผลก่อนเรียน ประเมินผลระหวา่ งเรียน และประเมินผลปลายภาคเรียน 3.3 ตรวจสอบผลการประเมินและจดั ทารายงานการประเมินผล การเรียนรู้รายวชิ า 3.4 ประเมินผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ 3.5 สรุปผลการประเมินคุณธรรม 3.6 ใหค้ าแนะนากบั ครูและผเู้ ก่ียวขอ้ งในการจดั ทาเครื่องมือการ ประเมินผลก่อนเรียน และระหวา่ งภาคเรียน 3.7 สนบั สนุนส่งเสริมการดาเนินงานการวดั และประเมินผล ใหเ้ ป็นไปตามแนวทางที่สถานศึกษากาหนด 4.1 วางแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ และจดั ทารายงานผลการเรียน ของผเู้ รียน 4.2 จดั ทาเคร่ืองมือดาเนินการวดั และประเมินผลการเรียนก่อนเรียน ระหวา่ งเรียน 4.3 เป็นท่ีปรึกษา ดูแล ควบคุม และประเมินการดาเนินการ โครงการ/กิจกรรมการพฒั นาคุณภาพชีวติ ของผเู้ รียน 4.4 ดาเนินการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียนร่วมกบั ผเู้ ก่ียวขอ้ ง การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
ผู้ปฏบิ ัติ - 38 - 5. เจา้ หนา้ ท่ีทะเบียน บทบาทหน้าท่ที เ่ี กี่ยวข้องกบั การวดั และประเมินผล 6. ผบู้ ริหารสถานศึกษา 5.1 ตรวจสอบ เอกสารหลกั ฐานเก่ียวกบั การลงทะเบียนเรียนรายวชิ า การเทียบโอนผลการเรียน กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ และอื่นๆ พร้อมผลการประเมินดงั กล่าวใหเ้ รียบร้อยก่อนบนั ทึกขอ้ มูล 5.2 รวบรวม ตรวจสอบบนั ทึก และประมวลผลขอ้ มูลการประเมินผล การเรียนของผเู้ รียนแตล่ ะคน 5.3 จดั ทารายงานการประเมินผลการเรียนเสนอผบู้ ริหาร สถานศึกษา เพ่ือขออนุมตั ิ และแจง้ ผเู้ ก่ียวขอ้ งทราบ 5.4 ตรวจสอบและสรุปขอ้ มูลผลการเรียนของผเู้ รียน เม่ือยา้ ย สถานศึกษาหรือจบหลกั สูตร และเสนอใหผ้ บู้ ริหารสถานศึกษา ลงนามรับรองหรืออนุมตั ิการจบหลกั สูตร 5.5 จดั ทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษาต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง 6.1 กากบั ดูแล นิเทศ ติดตามผลการดาเนินงานการวดั และประเมินผล การเรียนของสถานศึกษา 6.2 อนุมตั ิโครงการ/กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิตและผลการผา่ นกิจกรรม 6.3 อนุมตั ิผลการเทียบโอน 6.3 อนุมตั ิผลการเรียนรายวิชา 6.4 อนุมตั ิผลการประเมินคุณธรรม 6.5 อนุมตั ิการจบหลกั สูตร หมายเหตุ ครูในท่ีน้ีหมายถึง ผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมายใหท้ าหนา้ ที่ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตาม หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 3. แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมนิ ผล การวดั และประเมินผลตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 มีเป้าหมายสาคญั เพ่ือนาผลการประเมินไปพฒั นาผเู้ รียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลกั สูตร โดยนาไปใช้เป็ นขอ้ มูลในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้และพฒั นาการของ ผเู้ รียน และนาไปปรับปรุงแกไ้ ขการจดั กระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพย่งิ ข้ึน รวมท้งั นาไปใชใ้ น การพิจารณาตดั สินความสาเร็จทางการศึกษาของผเู้ รียน การวดั และประเมินผลตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ประกอบดว้ ย 3.1 การวดั และประเมินผลการเรียน 3.1.1 การวดั และประเมินผลการเรียนรายวชิ า การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 39 - 3.1.2 การประเมินกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ 3.1.3 การประเมินคุณธรรม 3.2 การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ 3.1. การวดั และประเมนิ ผลการเรียน 3.1.1 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรายวชิ า หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 กาหนด สาระการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 5 สาระการเรียนรู้ คือ ทกั ษะการเรียนรู้ ความรู้พ้ืนฐาน การประกอบ อาชีพ ทกั ษะการดาเนินชีวิต และการพฒั นาสังคม โดยแต่ละสาระการเรียนรู้ประกอบดว้ ยรายวิชาต่างๆ กาหนดใหม้ ีการวดั และประเมินผลเป็นรายวชิ าก่อนเรียน ระหวา่ งภาคเรียน และปลายภาคเรียน เพื่อ ทราบสภาพและความกา้ วหนา้ ท้งั ดา้ นความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมจริยธรรม อนั เป็ นผลมา จากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของสถานศึกษาในแต่ละรายวิชาดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การ สังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานการเรียนรู้ (Performance Evaluation) ประเมินการปฏิบัติจริง (Authentic Assessment) ทดสอบย่อย (Quiz) ประเมินจากกิจกรรม โครงงาน หรือแบบฝึ กหัด เป็ นตน้ โดยเลือกให้สอดคลอ้ ง และเหมาะสมกบั ธรรมชาติของรายวชิ า ควบคูไ่ ปกบั กิจกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียน การกาหนดคะแนนระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียนให้เป็ นไปตามเกณฑ์ท่ี สานกั งาน กศน. กาหนด โดยการวดั ผลระหว่างภาคเรียนสถานศึกษาเป็ นผูด้ าเนินการ สาหรับการ วดั ผลปลายภาคเรียน ใหเ้ ป็นไปตามที่สานกั งาน กศน. กาหนด ดงั น้ี 1.หนงั สือ สานกั งาน กศน. ท่ี ศธ 0210.03/1164 เร่ือง การกาหนดสัดส่วนคะแนนระหวา่ งภาค เรียนต่อปลายภาคเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ลงวนั ที่ 26 มีนาคม 2553 1) สัดส่วนคะแนนการวดั และประเมินผลระหวา่ งภาคเรียนต่อปลายภาคเรียน เป็ น 60 ต่อ 40 โดยผเู้ รียนตอ้ งเขา้ สอบปลายภาคเรียน และรวมคะแนนท้งั ระหวา่ งภาคเรียนและปลาย ภาคเรียนแลว้ ตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 จึงจะผา่ นการเรียนในรายวชิ าน้นั 2) การจดั ทาแบบทดสอบในรายวชิ าบงั คบั สานกั งาน กศน.ร่วมกบั สถาบนั กศน ภาค จดั ทาแบบทดสอบปลายภาคเรียนและกาหนดตารางสอบปลายภาคเรียน ในรายวิชาที่แจ้ง สถานศึกษาไปแลว้ เท่าน้นั หากสถานศึกษาใดเปิ ดรายวิชาบงั คบั นอกเหนือจากน้ี ใหข้ ออนุมตั ิมาเป็ น รายกรณีไป 3) การจดั ทาแบบทดสอบรายวชิ าเลือกใหส้ านกั งาน กศน. กทม./จงั หวดั ร่วมกบั สถานศึกษาในพ้ืนที่ดาเนินการจดั ทาแบบทดสอบวดั ผลและประเมินผลปลายภาคเรียน และกาหนด ตารางสอบไม่ใหท้ บั ซอ้ นกบั ตารางสอบรายวชิ าบงั คบั ท่ีสานกั งาน กศน. กาหนด การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 40 - 2. ประกาศสานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เรื่อง ปรับเกณฑ์การ วดั และประเมินผล และการกาหนดระยะเวลาในการมีสิทธ์ิเขา้ สอบปลายภาคเรียน หลกั สูตรการศึกษา นอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ลงวนั ท่ี 8 ตุลาคม 2555 1) คะแนนทดสอบปลายภาคเรียนในรายวิชาบงั คบั ทุกระดบั การศึกษา ผเู้ รียนตอ้ งไดค้ ะแนนสอบ ปลายภาคเรียนอยา่ งนอ้ ยร้อยละ 30 ของคะแนนสอบปลายภาค (12 คะแนนจาก 40 คะแนน) 2) กาหนดระยะเวลาเรียนมาเป็ นเกณฑใ์ นการมีสิทธ์ิเขา้ สอบปลายภาคเรียน โดยกาหนดใหผ้ เู้ รียน ที่เรียนโดยวิธีการเรียนรู้แบบ กศน. ตอ้ งมีเวลาในการพบกลุ่ม หรือพบครูไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 75 ของ เวลาตามแผนการเรียนรู้ของผเู้ รียนท่ีตกลงร่วมกบั ครู จึงจะมีสิทธ์ิเขา้ สอบ ถ้าผูเ้ รียนมีระยะเวลาในการพบกลุ่มหรือพบครูไม่ถึงร้อยละ75 แต่ถึงร้อยละ 50 ให้อยู่ใน ดุลพินิจของผูบ้ ริหารสถานศึกษา ที่จะพิจารณาอนุญาตให้เขา้ สอบปลายภาคเรียน ถา้ ไม่อนุญาตใหเ้ ขา้ สอบปลายภาคเรียนให้ผูเ้ รียนผนู้ ้นั ไดร้ ะดบั ผลการเรียนเป็ น “ 0 ” (การกาหนดระยะเวลาตามเกณฑ์ ดงั กล่าว ยกเวน้ นกั ศึกษาของสถาบนั การศึกษาทางไกล) การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
แผนภูมกิ รอ ก่อนเรียน ขอ้ มูลพ้นื ฐาน ของผเู้ รียน การวดั และ ระหว่างภาคเรียน ประเมนิ ผล สถานศึกษาประเมินดว้ ยวธิ ีการหลากหลาย รายวชิ า ปลายภาคเรียน เป็นไปตามที่ สานกั งาน กศน. กาหนด การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
- 41 - อบการวดั และประเมนิ ผลรายวชิ า ลงทะเบียนเรียน - 39 - ผลการประเมิน ไมผ่ า่ น ผา่ น ประเมินซ่อม บนั ทึกผลการเรียน ไมผ่ า่ น น พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 42 - แนวทางการวดั และประเมินผลรายวชิ า สถานศึกษาควรดาเนินการประเมินผลรายวชิ าดงั น้ี 1) การวดั และประเมนิ ผลก่อนเรียน เป็นการตรวจสอบความรู้ ทกั ษะและความ พร้อมต่างๆ ของผูเ้ รียนเพื่อเป็ นขอ้ มูลพ้นื ฐานในการจดั กระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกบั สภาพความ พร้อมและความรู้พ้นื ฐานของผเู้ รียน 2) การวดั และประเมินผลระหว่างภาคเรียน ใหส้ ถานศึกษาดาเนินการประเมินผล ระหวา่ งภาคเรียน เพอ่ื ทราบความกา้ วหนา้ ท้งั ดา้ นความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และพฤติกรรมการเรียน การ ร่วมกิจกรรมและผลงาน อนั เป็นผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยจาแนกเป็น 2 ส่วนดงั น้ี (1). กาหนดสัดส่วนการวดั และประเมินผลรายวชิ าใน สาระความรู้พน้ื ฐาน ระหวา่ งภาคเรียน เป็ นไปตามเกณฑ์ท่ีสานกั งาน กศน. กาหนด โดยการประเมินระหวา่ งภาคเรียน ให้มีการประเมินผลด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เป็ นระยะๆ อย่างต่อเนื่องเพ่ือทราบพฒั นาการของ ผูเ้ รียน ท้งั น้ีสถานศึกษาอาจกาหนดใหม้ ีการทดสอบระหวา่ งภาคเรียนไดต้ ามความเหมาะสม และจดั ให้มี การประเมินด้วยวิธีอ่ืนๆ เช่น ทาแบบฝึ กหัดและรายงาน การนาเสนอผลงาน การทาแฟ้มหรือ โครงงาน ฯลฯ โดยสถานศึกษาควรกาหนดคะแนนระหวา่ งภาคเรียนว่าจะประเมินจากกิจกรรม อะไรในสัดส่วนคะแนนเท่าไรตามความเหมาะสม ขอ้ มูลจากการประเมินกิจกรรมในแต่ละคร้ังให้ สถานศึกษานาไปพฒั นาปรับปรุงการเรียนรู้ของผูเ้ รียน (2) การกาหนดสดั ส่วนการวดั และประเมินผลรายวชิ าในอีก 4 สาระ ไดแ้ ก่ สาระทักษะการเรียนรู้ สาระการประกอบอาชีพ สาระทักษะการดาเนินชีวิต และสาระการพัฒนา สังคม การวดั และประเมินผลอาจใชว้ ธิ ีการที่หลากหลายใหส้ อดคลอ้ งกบั สาระรายวชิ า วถิ ีชีวติ และ กระบวนการเรียนรู้ เช่น การประเมินความรู้ ความเข้าใจ การประเมินทกั ษะการสื่อสาร การ ประเมินทกั ษะการปฏิบตั ิ ฯลฯ โดยสถานศึกษาควรกาหนดคะแนนระหว่างภาคเรียนวา่ จะประเมิน จากกิจกรรมอะไรในสัดส่วนคะแนนเท่าไรตามความเหมาะสม ขอ้ มูลจากการประเมินกิจกรรมในแต่ ละคร้ังใหส้ ถานศึกษานาไปพฒั นาปรับปรุงการเรียนรู้ของผเู้ รียน ท้งั น้ี ใหส้ ถานศึกษาระบุรายละเอียดของคะแนนระหวา่ งภาควา่ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ในแตล่ ะสาระไวใ้ นระเบียบการวดั และประเมินผลของสถานศึกษาให้ชดั เจนวา่ มีกรอบการวดั และประเมิน อยา่ งไรมีสดั ส่วนคะแนนในแตล่ ะเร่ืองท่ีจะทาการวดั และประเมินผลคิดเป็ นก่ีเปอร์เซ็นตข์ องคะแนนระหวา่ งภาค ตัวอย่างกรอบรายละเอียดของคะแนนระหวา่ งภาค ประกอบดว้ ย 1. การให้ความร่วมมือกบั สถานศึกษา หมายถึง การที่ผูเ้ รียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม ต่างๆ ของสถานศึกษา เช่น การร่วมเดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด การเขา้ ร่วมในวนั สาคญั ร่วม กิจกรรมของสถานศึกษา เป็นตน้ 2. ผลงานท่ีกาหนดเป็นร่องรอยในแฟ้มสะสมงาน 3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง การร่วมอภิปราย การช่วยงานกลุ่ม การตอบคาถาม ฯลฯ 4. การทดสอบ การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 43 - (3) เครื่องมือและวธิ ีการวดั และประเมินผลการเรียนรายวชิ า วิธีการวดั และประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 มุ่งเนน้ ใหส้ ถานศึกษาใชเ้ ครื่องมือและวธิ ีการที่หลากหลาย ในการวดั และประเมินผลรายวชิ า ซ่ึงสถานศึกษาอาจเลือกใชเ้ ครื่องมือและวธิ ีการต่างๆ ดงั น้ี ก. การประเมินความรู้ความเขา้ ใจในเน้ือหารายวชิ า อาจดาเนินการโดยใช้ แบบ ทดสอบซ่ึงมีท้งั แบบปรนยั และแบบอตั นยั แบบทดสอบปรนยั ไดแ้ ก่ ขอ้ สอบแบบเลือกตอบ แบบ เติมคา แบบถูกผิด แบบจบั คู่ ส่วนแบบทดสอบอตั นัยจะเป็ นการทดสอบที่ให้ผูเ้ รียนเขียนตอบจาก คาถามท่ีกาหนดให้ หรือเขียนแสดงความคิดเห็น แสดงการคิดวเิ คราะห์จากคาถามในแบบทดสอบ ข. การประเมินทกั ษะการสื่อสาร อาจดาเนินการในรูปแบบและวธิ ีการต่างๆ ไดแ้ ก่ - การถามตอบระหวา่ งปฏิบตั ิกิจกรรม - การสนทนาพบปะพดู คุยกบั ผเู้ รียน - การสนทนาพบปะพูดคุยกบั ผเู้ กี่ยวขอ้ งกบั ผเู้ รียน - การสอบปากเปล่าเพอ่ื ประเมินความรู้ ความเขา้ ใจและทศั นคติ - การอ่านบนั ทึกเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ของผเู้ รียน - การตรวจแบบฝึกหดั และตรวจรายงาน ค. การประเมินทกั ษะการปฏิบตั ิ อาจดาเนินการในรูปแบบและวธิ ีการต่างๆ ไดแ้ ก่ - การสงั เกตพฤติกรรมผเู้ รียนตามรายการที่ผเู้ รียนสามารถปฏิบตั ิได้ - การตรวจผลงานการปฏิบตั ิวา่ ถูกตอ้ งสมบูรณ์ครบถว้ น มีคุณภาพตามเกณฑท์ ี่กาหนด - การใหท้ าโครงงาน - การจดั ทาแฟ้มประมวลประสบการณ์ - การประเมินจากการปฏิบตั ิจริงในงานอาชีพ - การประเมินโดยการยอมรับความรู้ประสบการณ์ กรณีมีการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ สถานศึกษาจะตอ้ งมีการวดั และประเมินผล ให้ครอบคลุมตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ท้งั น้ีการวดั ผลรายวชิ าตา่ งๆ ท่ีนามาบูรณาการสามารถ ประเมินจากชิ้นงานเดียวกนั ได้ อน่ึงหากสาระและมาตรฐานใดไม่สามารถนามาบูรณการไดจ้ ะตอ้ ง จดั การเรียนรู้แลว้ วดั และประเมินผลแยกต่างหาก แลว้ จึงนาคะแนนที่ไดจ้ ากการเรียนรู้บูรณาการและ ที่จดั การเรียนรู้เพ่มิ เติมมารวมกนั เป็นคะแนนระหวา่ งภาคของรายวชิ าน้นั ๆ 3) การวัดและประเมินผลปลายภาคเรียน มีวตั ถุประสงค์เพื่อทราบผลการเรียนรู้ โดยรวมของผูเ้ รียนในแต่ละรายวิชา โดยใช้เครื่องมือ เช่น แบบทดสอบปรนยั แบบทดสอบอตั นยั แบบ ประเมินการปฏิบตั ิ เป็นตน้ การวดั และประเมินผลปลายภาคเรียนน้นั ผเู้ รียนที่จะผา่ นการประเมินรายวชิ าใด จะตอ้ ง เขา้ สอบปลายภาคเรียนและมีคะแนนปลายภาคเรียนรวมกบั คะแนนระหวา่ งภาคเรียนผา่ นเกณฑ์ข้นั ต่า ตามเกณฑท์ ี่ สานกั งาน กศน. กาหนด การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 44 - 4) การตัดสินผลการเรียนรายวชิ า การตดั สินผลการเรียนรายวชิ า ใหน้ าคะแนนระหวา่ งภาคเรียนมารวมกบั คะแนนปลาย ภาคเรียน และจะตอ้ งไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 จึงจะถือวา่ ผา่ นการเรียนในรายวชิ าน้นั ท้งั น้ี ผูเ้ รียนตอ้ งเขา้ สอบปลายภาคเรียนดว้ ย แลว้ นาคะแนนไปเปรียบเทียบกบั เกณฑ์ที่ กาหนดโดยใหค้ ่าระดบั ผลการเรียนเป็น 8 ระดบั ดงั น้ี ไดค้ ะแนนร้อยละ 80 – 100 ใหร้ ะดบั 4 หมายถึง ดีเยยี่ ม ไดค้ ะแนนร้อยละ 75 – 79 ใหร้ ะดบั 3.5 หมายถึง ดีมาก ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 – 74 ใหร้ ะดบั 3 หมายถึง ดี ไดค้ ะแนนร้อยละ 65 – 69 ใหร้ ะดบั 2.5 หมายถึง ค่อนขา้ งดี ไดค้ ะแนนร้อยละ 60 – 64 ใหร้ ะดบั 2 หมายถึง ปานกลาง ไดค้ ะแนนร้อยละ 55 – 59 ใหร้ ะดบั 1.5 หมายถึง พอใช้ ไดค้ ะแนนร้อยละ 50 – 54 ใหร้ ะดบั 1 หมายถึง ผา่ นเกณฑข์ ้นั ต่าท่ีกาหนด ไดค้ ะแนนร้อยละ 0 – 49 ใหร้ ะดบั 0 หมายถึง ต่ากวา่ เกณฑข์ ้นั ต่าที่กาหนด กรณีผเู้ รียนมีผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑ์ข้นั ต่าที่กาหนด ใหด้ าเนินการพฒั นาผเู้ รียนใน รายวชิ าท่ีไดค้ า่ ระดบั ผลการเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ดว้ ยวธิ ีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ประเมินการปฏิบตั ิตามมาตรฐานการเรียนรู้ (Performance Evaluation) ประเมินการปฏิบตั ิจริง (Authentic Assessment) ทดสอบยอ่ ย (Quiz) ประเมินจากกิจกรรม โครงงาน หรือแบบฝึ กหัด เป็ นตน้ โดยเลือกให้สอดคล้องและเหมาะสมกบั ธรรมชาติของรายวิชา ถา้ ผูเ้ รียน สามารถผา่ นเกณฑก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั แลว้ ใหร้ ะดบั ผลการเรียนใหม่ โดยใหค้ ่าระดบั ผลการเรียนไม่เกิน 1 สาหรับผูเ้ รียนที่ปรับปรุงพฒั นาแล้ว ไม่ผ่านเกณฑ์ข้นั ต่า ให้ลงทะเบียนซ้าใน รายวิชาเดิมหรือเปลี่ยนรายวิชา ท้งั น้ีให้เป็ นไปตามโครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และดาเนินการใหเ้ สร็จสิ้นก่อนปิ ดการลงทะเบียนเรียนในภาค เรียนถดั ไป 5) การขอเล่ือนสอบปลายภาค ในกรณีท่ีผเู้ รียนมีเหตุสุดวสิ ัย หรือมีเหตุจาเป็นฉุกเฉิน ไมส่ ามารถเขา้ สอบปลายภาคเรียนตามวนั เวลา ตามท่ีกาหนด ผูเ้ รียนสามารถยนื่ คาร้องขอเล่ือนสอบต่อ สถานศึกษา โดยช้ีแจงเหตุผลความจาเป็ นพร้อมท้งั แสดงหลกั ฐาน ท้งั น้ีสถานศึกษาจะตอ้ งขอเลื่อน สอบต่อผมู้ ีอานาจ 6) การประเมินซ่อม ผทู้ ี่มีสิทธ์ิเขา้ รับการประเมินซ่อม คือ ผเู้ รียนท่ีเขา้ สอบปลาย ภาคเรียนแต่ผลการประเมินไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินผลรายวิชา โดยใหผ้ เู้ รียนเขา้ รับการประเมินซ่อม ตามวนั เวลา สถานที่และวธิ ีที่สถานศึกษาหรือตน้ สังกดั กาหนด และใหค้ า่ ระดบั ผลการเรียนไมเ่ กิน 1 การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 45 - 3.1.2 การประเมินกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ การประเมินกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต (กพช.) เป็ นเงื่อนไขหน่ึงท่ีผูเ้ รียนทุกคนจะตอ้ งไดร้ ับ การประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด โดยผูเ้ รียนจะตอ้ งทากิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิตไม่น้อยกว่า 200 ชว่ั โมง จึงจะไดร้ ับการพจิ ารณาอนุมตั ิใหจ้ บหลกั สูตรในแตล่ ะระดบั การศึกษา 3.1.3 การประเมินคุณธรรม การประเมินคุณธรรม เป็ นเง่ือนไขท่ีผูเ้ รียนทุกคนจะต้องได้รับการประเมินตามเกณฑ์ ท่ี หลกั สูตรกาหนด จึงจะได้รับการพิจารณาให้จบหลกั สูตรในแต่ละระดบั การศึกษา โดยสานักงาน กศน. ไดก้ าหนดคุณธรรมเบ้ืองตน้ ไว้ สาหรับผลการประเมินใหเ้ ป็ นปรับปรุง พอใช้ ดี และดีมาก 3.2. การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ 3.2.1 หลกั การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ หลกั การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ สถานศึกษาตอ้ งจดั ให้ผเู้ รียนทุก คนที่เรียนในภาคเรียนสุดทา้ ยของทุกระดบั การศึกษา ไดแ้ ก่ ระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย เขา้ รับการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ ในสาระการ เรียนรู้ ตามที่สานกั งาน กศน. กาหนด การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติไม่มีผลต่อ การไดห้ รือตกของผเู้ รียน แต่มีวตั ถุประสงค์เพ่ือนาขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการประเมินไปใชใ้ นการวางแผน ปรับปรุงและพฒั นาผูเ้ รียน และการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนของสถานศึกษา รวมท้งั เป็ น ขอ้ มูลในการส่งเสริมสถานศึกษาในดา้ นวชิ าการและดา้ นอ่ืน ๆ ใหม้ ีคุณภาพใกลเ้ คียงกนั สถานศึกษาตอ้ งเตรียมผูเ้ รียนให้เข้ารับการประเมินด้วยความเข้าใจและตระหนักถึง ความสาคญั ของการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ เพื่อให้ความร่วมมือในการ ประเมินเตม็ ความสามารถ โดยปฏิบตั ิตามกฎเกณฑแ์ ละเง่ือนไขการประเมินอยา่ งเคร่งครัด 3.2.2 ประโยชน์ของการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ 1) เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพระหวา่ งกลุ่มผเู้ รียนระดบั สถานศึกษา ระดบั จงั หวดั และระดบั ภาค ตลอดจนการประเมินภายนอกไดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผล 2) ส่งเสริมและกระตุน้ ใหส้ ถานศึกษาใหค้ วามสนใจอยา่ งจริงจงั ในการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา 3) สามารถใช้ผลการประเมินให้เป็ นประโยชน์ท้งั ในระดบั ผูเ้ รียน ระดบั กลุ่ม ระดับ สถานศึกษา ระดบั จงั หวดั และระดบั ภาค 4) สร้างแรงจูงใจกระตุน้ และทา้ ทายใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนต้งั ใจใฝ่ สมั ฤทธ์ิทางการเรียนและดา้ นอ่ืนๆ 5) เพ่ือเป็ นขอ้ มูลสร้างความมนั่ ใจเก่ียวกบั คุณภาพของผูเ้ รียน แก่ผูเ้ ก่ียวขอ้ งท้งั ภายใน และภายนอกสถานศึกษา การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 46 - แนวทางการประเมนิ คุณธรรม การกาหนดให้การประเมินคุณธรรม เป็ นเกณฑ์หน่ึงในการจบหลกั สูตร นับเป็ น ความพยายามในการที่จะพฒั นาผูเ้ รียนให้เป็ นคนดี มีคุณธรรมจริยธรรม ดังน้ัน การประเมิน คุณธรรม จึงเป็ นกระบวนการสาคญั ท่ีจะตอ้ งดาเนินการให้ได้มาตรฐาน สานักงาน กศน. จึงได้ กาหนดแนวทางการประเมินคุณธรรมเบ้ืองตน้ เพ่ือใหส้ ถานศึกษาทุกแห่งใชเ้ ป็นแนวปฏิบตั ิเดียวกนั หลกั การ การพฒั นาคุณธรรมในผเู้ รียนมุ่งเนน้ การกระตุน้ จิตสานึกและส่งเสริม สนบั สนุนให้ ผูเ้ รียนมีการประพฤติปฏิบตั ิคุณธรรม ที่เป็ นแบบอย่างท่ีดีแก่เยาวชนในสังคม โดยบูรณาการการ ประเมินคุณธรรมไวใ้ นทุกรายวชิ าและกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต ประเมินคุณธรรมจากการปฏิบตั ิ จริง มีหลกั ฐาน และร่องรอยแสดงการปฏิบตั ิ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างความตระหนกั และกระตุน้ จิตสานึกในการพฒั นาคุณธรรมของ ผเู้ รียน 2. เพ่อื ใหบ้ ุคลากรของสถานศึกษาประเมินคุณธรรมดว้ ยวิธีการท่ีไดม้ าตรฐาน มี ความชดั เจนเป็นแนวทางเดียวกนั กรอบของคุณธรรม คุณธรรมเบ้ืองตน้ ที่ สานกั งาน กศน. กาหนด เพอ่ื ใชเ้ ป็ นหลกั ในการประเมินมี จานวน 11 ประการ ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กล่มุ ท่ี 1 คุณธรรมเพื่อการพฒั นาตน ประกอบดว้ ย 1. สะอาด 2. สุภาพ 3. กตญั ญูกตเวที กล่มุ ที่ 2 คุณธรรมเพื่อการพฒั นาการทางาน ประกอบดว้ ย 4. ขยนั 5. ประหยดั 6. ซ่ือสัตย์ การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 47 - กลุ่มท่ี 3 คุณธรรมเพื่อการพฒั นาการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คม ประกอบดว้ ย 7. สามคั คี 8. มีน้าใจ 9. มีวนิ ยั 10. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริยแ์ ละรักษาความเป็นไทย 11. ยดึ มน่ั ในวถิ ีชีวติ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ความหมายของคุณธรรม คุณธรรม หมายถึง สิ่ งท่ีมีคุณค่า มีประโยชน์ เป็ นความดีงาม เป็ นเครื่ อง ประคบั ประคองใจให้เกลียดความช่ัว กลวั บาปใฝ่ ความดี และเป็ นเคร่ืองกระตุ้น ผลักดันให้เกิด ความรู้สึกผดิ ชอบ เกิดจิตสานึกท่ีดี ทาความดีต่อไป สะอาด หมายถึง ปราศจากความมวั หมองท้งั กาย ใจ และสภาพแวดลอ้ ม ความผอ่ งใส เป็ นที่เจริญตาทาให้เกิดความสบายใจแก่ผูพ้ บเห็น ผูท้ ่ีมีความสะอาด คือ ผูร้ ักษาร่างกาย ท่ีอยู่อาศยั สิ่งแวดลอ้ มถูกตอ้ งตามสุขลกั ษณะ ฝึกฝนจิตใจมิใหข้ ่นุ มวั จึงมีความแจ่มใสอยเู่ สมอ สุ ภาพ หมายถึง เรี ยบร้อยอ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกิริ ยามารยาทท่ีดีงามมี สัมมาคารวะ ผูท้ ่ีมีความสุภาพ คือ ผูท้ ่ีอ่อนน้อมถ่อมตนตามสถานภาพและกาลเทศะ ไม่ก้าวร้าว รุนแรง วางอานาจ ข่มผูอ้ ่ืนท้งั โดยวาจาและท่าทาง แต่ในเวลาเดียวกนั ยงั คงมีความมน่ั ใจในตนเอง เป็นผทู้ ี่มีมารยาท วางตนเหมาะสมตามวฒั นธรรมไทย กตัญญูกตเวที หมายถึง การดูแลเอาใจใส่พอ่ แม่ บุพการี บุคคลในครอบครัว ครูและ ผมู้ ีพระคุณ ดว้ ยความยนิ ดีและเต็มใจอยา่ งต่อเนื่อง ผทู้ ่ีมีความกตญั ญูกตเวที คือ ผทู้ ี่แสดงออกถึงการ ระลึกถึงผมู้ ีพระคุณและหาโอกาสตอบแทนพระคุณเม่ือมีโอกาส ขยัน หมายถึง ความต้งั ใจเพียรพยายามทาหน้าท่ีการงานอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ อดทน ความขยนั ตอ้ งปฏิบตั ิควบคู่กบั การใชส้ ติปัญญา แกป้ ัญหาจนเกิดผลสาเร็จ ผูท้ ี่มีความขยนั คือ ผทู้ ่ีต้งั ใจทาอยา่ งจริงจงั ต่อเน่ืองในเร่ืองท่ีถูกท่ีควร เป็นคนสู้งาน มีความพยายาม ไม่ทอ้ ถอย กลา้ เผชิญ อุปสรรค รักงานท่ีทา ต้งั ใจทาหนา้ ท่ีอยา่ งจริงจงั ประหยัด หมายถึง การรู้จักเก็บออมถนอมใช้ทรัพย์สิ น สิ่ งของแต่พอควร พอประมาณให้เกิดประโยชน์คุม้ ค่า ไม่ฟ่ ุมเฟื อย ฟุ้งเฟ้อ ผูท้ ่ีมีความประหยดั คือ ผูท้ ่ีดาเนินชีวิต ความเป็ นอยูท่ ่ีเรียบง่าย รู้จกั ฐานะการเงินของตน คิดก่อนใช้ คิดก่อนซ้ือ เก็บออม ถนอมใชท้ รัพยส์ ิน ส่ิงของอยา่ งคุม้ คา่ รู้จกั ทาบญั ชีรายรับ – รายจา่ ย ของตนเองอยเู่ สมอ การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 48 - ซ่ือสัตย์ หมายถึง ประพฤติตรงไม่เอนเอียงไม่มีเล่ห์เหล่ียมมีความจริงใจ ปลอดจาก ความรู้สึกลาเอียง หรืออคติ ผูท้ ่ีมีความซ่ือสัตย์ คือ ผูท้ ี่มีความประพฤติตรงท้งั ต่อหน้าที่ ต่อวิชาชีพ ตรงต่อเวลา ไม่ใชเ้ ล่ห์กลคดโกงท้งั ทางตรงและทางออ้ ม รับรู้หนา้ ที่ของตนเองและปฏิบตั ิอยา่ งเตม็ ท่ี ถูกตอ้ ง สามัคคี หมายถึง ความพร้อมเพียงกนั ความกลมเกลียวกนั ความปรองดองกนั ร่วม ใจกนั ปฏิบตั ิงานให้บรรลุผลตามท่ีตอ้ งการ เกิดงานการอย่างสร้างสรรคป์ ราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบกนั เป็ นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด หลากหลายในเรื่องเช้ือชาติ ความกลมเกลียวในลกั ษณะเช่นน้ี เรียกอีกอยา่ งวา่ ความสมานฉนั ท์ ผทู้ ่ีมี ความสามคั คี คือ ผูท้ ่ีเปิ ดใจกวา้ งรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น รู้บทบาทของตน ท้งั ในฐานะผูน้ าและ ผูต้ ามที่ดี มีความมุ่งมนั่ ต่อการรวมพลงั ช่วยเหลือเก้ือกูลกนั เพ่ือให้การงานสาเร็จลุล่วง แก้ปัญหา และขจดั ความขดั แยง้ ได้ เป็ นผูม้ ีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางวฒั นธรรม ความคิด ความเชื่อ พร้อมท่ีจะปรับตวั เพือ่ อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติ มีน้าใจ หมายถึง ความจริงใจท่ีไม่เห็นแก่เพียงตวั เองหรือเรื่องของตัวเอง แต่มี ความเห็นอกเห็นใจเห็นคุณค่าในเพื่อนมนุษย์ มีความเอ้ืออาทรเอาใจใส่ ให้ความสนใจในความ ตอ้ งการ ความจาเป็ น ความทุกขส์ ุขของผอู้ ่ืน และพร้อมท่ีจะให้ความช่วยเหลือเก้ือกลู กนั และกนั ผทู้ ่ีมี น้าใจ คือ ผใู้ หแ้ ละผอู้ าสาช่วยเหลือสังคม รู้จกั แบ่งปัน เสียสละความสุขส่วนตวั เพื่อทาประโยชน์แก่ ผอู้ ื่น เขา้ ใจ เห็นใจผูท้ ี่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคมดว้ ยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบตั ิการ เพือ่ บรรเทาปัญหา หรือร่วมสร้างสรรคส์ ิ่งดีงามใหเ้ กิดข้ึนในชุมชน มวี ินัย หมายถึง การยดึ มน่ั ในระเบียบแบบแผน ขอ้ บงั คบั และขอ้ ปฏิบตั ิ ซ่ึงมีท้งั วนิ ยั ในตนเองและวินัยต่อสังคม ผูท้ ่ีมีวินัย คือ ผูท้ ่ีปฏิบตั ิตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของสถานศึกษา สถาบนั / องคก์ ร / สังคมและประเทศ โดยท่ีตนเองยนิ ดีปฏิบตั ิตามอยา่ งเตม็ ใจและต้งั ใจ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์และรักษาความเป็ นไทย หมายถึง การปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนา มีความรักศรัทธาและเทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์ ภาคภูมิใจและดารงความเป็ นไทย ร่วม กิจกรรมสาคญั ทางศาสนา ยดึ มั่นในวถิ ีชีวติ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็ นประมุข หมายถึง การยึดมนั่ ศรัทธาในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ น ประมุขธารงรักษาไวซ้ ่ึงความปกครองตามระบอบประชาธิปไตย การประพฤติตนในภาวะผนู้ าและผู้ ตามท่ีดีและการ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น บทบาทของสถานศึกษาและผู้เกย่ี วข้อง บทบาทของสถานศึกษา 1. สร้างความเขา้ ใจกบั ครูและผเู้ กี่ยวขอ้ ง ถึงความสาคญั ของการประเมินคุณธรรมผูเ้ รียน การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 49 - 2. สร้างความเขา้ ใจในความหมายของคุณธรรมแต่ละเร่ือง ขอ้ ดีของการปฏิบตั ิตาม คุณธรรม ทาความเขา้ ใจในพฤติกรรมบ่งช้ีในแต่ละคุณธรรม พิจารณาตรวจสอบความเหมาะสม ความเพยี งพอของพฤติกรรมบ่งช้ี ในคุณธรรมแตล่ ะเรื่อง 3. ดาเนินการใหเ้ กิดการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพของผเู้ รียน 4. จดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ที่หลากหลายท้งั ภายในสถานศึกษาและในชุมชนหรือสังคม 5. เชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆ ขยายให้กวา้ งขวางสู่ชุมชนและสังคมโดยประสาน ความร่วมมือกบั ชุมชนและสังคมในการทากิจกรรม คุณธรรม และให้ข้อมูลผูท้ ่ีมีการปฏิบตั ิตาม คุณธรรมเป็นแบบอยา่ งที่ดี รวมท้งั ร่วมส่งเสริมใหม้ ีการปฏิบตั ิอยา่ งยง่ั ยนื 6. จดั ทาแนวทางการประเมินคุณธรรมของผูเ้ รียนในสถานศึกษาและใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ ง ปฏิบตั ิเป็นแนวเดียวกนั บทบาทของครู 1. สร้างความเข้าใจให้ผูเ้ รียนเห็นความสาคญั ของคุณธรรม คุณธรรมเบ้ืองต้น 11 ประการ และพฤติกรรมบ่งช้ีที่ผเู้ รียนจะตอ้ งปฏิบตั ิ 2. ช้ีแจงวธิ ีการและเกณฑก์ ารประเมินคุณธรรมจริยธรรมใหผ้ เู้ รียนทราบ 3. แนะนาผู้เรียนในการรวบรวมเอกสารหลักฐานท่ีผูเ้ รียนสามารถนามาเป็ น หลกั ฐานเพืืื่อประกอบการประเมิน 4. บูรณาการการพฒั นาคุณธรรมในการจดั กระบวนการเรียนรู้ 5. กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรม หรือสร้างสรรคก์ ิจกรรมอยา่ งหลากหลาย 6. บนั ทึกผลการประเมิน รวบรวมร่องรอย หลกั ฐาน ที่สะทอ้ นการปฏิบตั ิคุณธรรม แต่ละเรื่องของผเู้ รียน 7. สรุปผลการประเมินคุณธรรม จริยธรรม ทุกภาคเรียนและแจง้ ผลการประเมินให้ ผเู้ รียนทราบเพอ่ื นาไปพฒั นาตนเอง 8. ครูและผูเ้ รียนร่วมวเิ คราะห์ผลการประเมินและกาหนดรูปแบบ/กิจกรรม ในการ พฒั นาคุณธรรม จริยธรรม โดยสอดแทรกในกระบวนการเรียนรู้ บทบาทของผ้เู รียน 1. ศึกษาพฤติกรรมบ่งช้ีของคุณธรรมแต่ละดา้ น 2. ฝึกปฏิบตั ิ พฒั นาตนเองใหม้ ีคุณธรรมตามพฤติกรรมบง่ ช้ี 3. รวบรวมหลกั ฐานเพอื่ แสดงถึงการประพฤติปฏิบตั ิตามคุณธรรมดา้ นต่างๆ 4. ประเมินตนเองตามแบบประเมินคุณธรรม 5. ส่งแบบประเมินตนเองพร้อมหลกั ฐานใหค้ รู บทบาทขององค์กรนักศึกษา และภาคเี ครือข่าย 1. ส่งเสริม สนบั สนุนการจดั กิจกรรมการพฒั นาคุณธรรม 2. ร่วมประเมินคุณธรรม การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 50 - 3. สร้างแรงจูงใจ โดยจดั กิจกรรมยกยอ่ ง ชมเชย ใหก้ าลงั ใจ ประกาศเกียรติคุณ การประเมนิ คุณธรรม 1. ประเมินคุณธรรมตามพฤติกรรมบง่ ช้ีท่ีเสนอไวเ้ ป็นแนวทาง และสามารถกาหนด พฤติกรรมบ่งช้ีเพ่ิมข้ึนจากพฤติกรรมบ่งช้ีท่ีเสนอไวใ้ นคุณธรรมแต่ละเรื่อง โดยกาหนดให้สอดคลอ้ ง กบั บริบทของผเู้ รียนหรือชุมชน 2. การประเมินคุณธรรมควรดาเนินการประเมินผูเ้ รียนเป็ นรายบุคคลดว้ ยวธิ ีการท่ี หลากหลาย เช่น การสงั เกต การสอบถาม การสมั ภาษณ์ หรือผลงานของผเู้ รียน โดยมีบุคคลหลายฝ่ าย ร่วมประเมิน เช่น ครู ผเู้ รียนประเมินตนเอง กลุ่มเพอ่ื นร่วมประเมิน เป็ นตน้ รวมท้งั มีหลกั ฐาน ประกอบการประเมินคุณธรรมท่ีชดั เจนและเช่ือถือได้ 3. การประเมินคุณธรรมให้ประเมินอยา่ งตอ่ เน่ือง ประเมินจากการเขา้ ร่วมกิจกรรม พบกลุ่ม ผลงานของผเู้ รียนท่ีครูมอบหมาย การจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ หรือกิจกรรมตามท่ี สถานศึกษากาหนด 4. สถานศึกษาอาจกาหนดคุณธรรมเพิ่มข้ึนจากท่ีเสนอไวต้ ามความตอ้ งการและ ความจาเป็ นของสถานศึกษาและชุมชน พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งช้ี เป็ นขอ้ กาหนดเชิงพฤติกรรมที่แสดงให้เห็นวา่ การปฏิบตั ิดงั กล่าว สอดคลอ้ งกบั คุณธรรม จดั ทาข้ึนเป็ นแนวทางให้สถานศึกษาใชเ้ ป็ นขอ้ มูลในการประเมินคุณธรรม ผเู้ รียน สถานศึกษาสามารถปรับหรือเพิ่มเติมพฤติกรรรมบ่งช้ีดงั กล่าวให้เหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย ไดโ้ ดยมีรายละเอียด ดงั น้ี การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
กลุ่มคุณธรรม คุณธรรม - 51 - กลุ่มท่ี 1. 1. สะอาด คุณธรรมเพือ่ พฤตกิ รรมบ่งชี้ การพฒั นาตน 1. รักษาความสะอาดของร่างกาย/เคร่ืองแตง่ กาย 2. ผลงานที่ไดร้ ับมอบหมาย มีความสะอาดและเป็นระเบียบ 3. รักษาความสะอาดของที่อยอู่ าศยั /สถานที่พบกลุ่ม/ศูนยก์ ารเรียน 4. รักษาความสะอาดของที่สาธารณะ 5. มีจิตใจแจ่มใส 2. สุภาพ 1. แสดงกิริยาท่าทางสุภาพ อ่อนนอ้ มถ่อมตนต่อผอู้ ่ืน ดว้ ยความ มนั่ ใจในตนเอง 2. วาจาสุภาพ กล่าวคาขอบคุณหรือขอโทษไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตาม สถานการณ์ 3. สามารถควบคุมอารมณ์ที่ไมพ่ ึงประสงคใ์ นสถานการณ์ต่าง ๆได้ 4. มีสัมมาคารวะและวางตวั ในสงั คมไดเ้ หมาะสมกบั ความเป็นไทย 3. กตญั ญู 1. ดูแล/ช่วยเหลือ หรือใหก้ ารอุปการะ เอาใจใส่บิดามารดา กตเวที ผมู้ ีพระคุณ 2. ตอบแทนบุญคุณ อาสาช่วยเหลือ ครูอาจารย์ และสถานศึกษา 3. มีส่วนร่วม ช่วยเหลือและพฒั นาชุมชน สังคม หรือประเทศชาติ 4. ปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดีของประเทศชาติ การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
กลุ่มคุณธรรม คุณธรรม - 52 - กลุ่มท่ี 2 4. ขยนั คุณธรรมเพอ่ื พฤตกิ รรมบ่งชี้ การพฒั นา 1. ร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ การทางานดว้ ยความต้งั ใจ การทางาน มีความเพียรพยายาม กระตือรือร้น 2. ทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายไดถ้ ูกตอ้ งและเสร็จทนั ตามกาหนด 3. แสวงหาความรู้ อยา่ งต่อเน่ือง 4. แกป้ ัญหาไดด้ ว้ ยตนเอง 5. ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ 5. ประหยดั 1. มีการออม 6. ซ่ือสัตย์ 2. ทาบญั ชี รับ-จา่ ย ของตนเอง 3. ใชจ้ ่ายเงินอยา่ งมีเหตุผลไม่ฟ่ ุมเฟื อย 4. ใชท้ รัพยส์ ิน สิ่งของของสถานศึกษาและสาธารณะอยา่ งประหยดั 5. ใชท้ รัพยากรอยา่ งคุม้ ค่าเหมาะสมกบั งาน 1. ไมค่ ดั ลอกหรือนาผลงานของผอู้ ื่นมาเป็นของตนเอง 2. ตรงตอ่ เวลา ท้งั ตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน 3. ไมท่ ุจริต ประพฤติ ปฏิบตั ิตรงต่อหนา้ ที่ 4. พดู ความจริง ปราศจากความลาเอียงหรืออคติ 5. ไม่เอาสิ่งของของคนอื่นมาเป็นของตนเอง การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 53 - กลุ่มคุณธรรม คุณธรรม พฤตกิ รรมบ่งชี้ กลุ่มที่ 3 7. สามคั คี 1. ร่วมกิจกรรมกบั หมูค่ ณะดว้ ยความเป็นน้าหน่ึงใจเดียวกนั คุณธรรมเพือ่ 2. เป็นผมู้ ีเหตุผล ยอมรับความคิดเห็นท่ีแตกต่างหลากหลาย การพฒั นา 3. มีภาวะความเป็นผนู้ าและผตู้ ามที่ดี การอยรู่ ่วมกนั 4. ยอมรับในบทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง และของผอู้ ่ืน ตลอดจน ในสงั คม ยอมรับการตดั สินของกลุ่ม 8. มีน้าใจ 1. มีความจริงใจไม่เห็นแก่ตวั มีความเอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผ่ เอ้ืออาทร 2. ใหค้ วามช่วยเหลือ เอาใจใส่ใหค้ วามสนใจในชีวติ ความเป็นอยู่ ของผอู้ ื่นท่ีเดือดร้อน 3. เสียสละ เพอื่ ช่วยเหลือผอู้ ่ืน 4. ร่วมสร้างสรรคส์ ิ่งที่ดีงามใหเ้ กิดข้ึนในชุมชน 9.มีวนิ ยั 1. ปฏิบตั ิตนตามกฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงของ สถานศึกษาและสงั คม 2. เขา้ ร่วมกิจกรรมหรือปฏิบตั ิงานท่ีไดร้ ับมอบหมายและตรงต่อ เวลา 3. ปฏิบตั ิตนถูกตอ้ งตามศีลธรรมท่ีดีงาม 4. เป็นผทู้ ่ีมีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ชุมชนและสังคม 10.รักชาติ ศาสน์ 1. การปฏิบตั ิตนตามหลกั ศาสนา กษตั ริยแ์ ละรักษา 2. มีความรักศรัทธาและเทิดทูนสถาบนั ความเป็นไทย พระมหากษตั ริย์ 3. ภาคภูมิใจและดารงความเป็นไทย 4. ร่วมกิจกรรมสาคญั ทางศาสนา 11.ยดึ มนั่ ในวถิ ี 1. ยดึ มนั่ ศรัทธาในระบอบประชาธิปไตยอนั มี ชีวติ และการ พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ปกครองตาม 2. ธารงรักษาไวซ้ ่ึงความปกครองตามระบอบ ระบอบ ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยอนั มี 3. ประพฤติตนในภาวะผนู้ าและผตู้ ามที่ดี พระมหากษตั ริย์ 4. ยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น ทรงเป็ นประมุข การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 54 - ระยะเวลาการประเมิน 1. ดาเนินการประเมินคุณธรรมผเู้ รียนระหวา่ งภาคเรียนและสรุปผลการประเมินเม่ือ สิ้นสุดภาคเรียน เพ่อื นาผลการประเมินมาใชใ้ นการพฒั นาคุณธรรมผเู้ รียนในภาคเรียนถดั ไป 2. ดาเนินการประเมินคุณธรรมตอ่ เนื่องทุกภาคเรียนจนจบการศึกษาแตล่ ะระดบั ซ่ึง สถานศึกษาจะเห็นพฒั นาการคุณธรรมของผเู้ รียนอยา่ งต่อเน่ืองต้งั แตเ่ ริ่มเขา้ เรียนจนจบการศึกษา 3. สถานศึกษาพึงแจง้ ผลการประเมินในระหวา่ งภาคเรียนให้ผเู้ รียนทราบถึงระดบั ผลการประเมินที่ตนเองไดร้ ับ และสถานศึกษาตอ้ งเสนอแนะ หรือจดั กิจกรรมให้ผูเ้ รียนไดพ้ ฒั นา ตนเองใหบ้ รรลุตามเกณฑท์ ่ีกาหนด เกณฑ์การประเมนิ การประเมินคุณธรรม กาหนดเกณฑก์ ารประเมินเป็น 4 ระดบั คือ ดีมาก หมายถึง ผเู้ รียนมีพฤติกรรมตามตวั บ่งช้ี ร้อยละ 90 ข้ึนไป ของพฤติกรรมบ่งช้ี ในแตล่ ะคุณธรรม ดี หมายถึง ผเู้ รียนมีพฤติกรรมตามตวั บง่ ช้ี ร้อยละ 70-89 ของพฤติกรรมบง่ ช้ี ในแต่ละคุณธรรม พอใช้ หมายถึง ผเู้ รียนมีพฤติกรรมตามตวั บง่ ช้ี ร้อยละ 50-69 ของพฤติกรรมบ่งช้ี ในแต่ละคุณธรรม ปรับปรุง หมายถึง ผเู้ รียนมีพฤติกรรมตามตวั บ่งช้ี ร้อยละ 0-49 ของพฤติกรรมบง่ ช้ี ในแต่ละคุณธรรม การสรุปผลการประเมนิ การสรุปผลการประเมินคุณธรรม ใชผ้ ลการประเมินในภาคเรียนสุดทา้ ยที่ผเู้ รียนจบการศึกษา เพอ่ื นาผลการประเมินไปประกอบการศึกษาตอ่ หรือเพือ่ ประโยชน์อ่ืน ในกรณีที่ผูเ้ รียนยา้ ยสถานศึกษา ให้สถานศึกษาจดั ทารายละเอียดผลการประเมินในแต่ละ ภาคเรียนแนบพร้อมกบั ระเบียนแสดงผลการเรียน แบบประเมิน แบบประเมินคุณธรรมผเู้ รียน มี 2 แบบ แบบ 1 แบบประเมินคุณธรรมตามพฤติกรรมบ่งช้ีรายภาคเรียน ใช้สาหรับบนั ทึกผลการ ประเมินผเู้ รียนเป็นรายบุคคลในแตล่ ะภาคเรียน แบบ 2 แบบรายงานผลการประเมินคุณธรรม ใชเ้ ป็นหลกั ฐานมอบใหผ้ เู้ รียนเม่ือสาเร็จ การศึกษา เพ่อื ผเู้ รียนนาไปใชป้ ระกอบการศึกษาหรือประโยชน์อ่ืน การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 55 - ตัวอย่างการประเมนิ คุณธรรม แบบ 1 แบบประเมนิ คณุ ธรรมตามพฤตกิ รรมบง่ ช้ีรายภาคเรยี น ภาคเรียนท่ี ..../......... ชอ่ื -ชอ่ื สกลุ ..........................................................รหสั ประจาตัวนกั ศึกษา..................................... ชื่อสถานศึกษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ ....... จงั หวัด ............ คณุ ธรรม/พฤตกิ รรมบ่งชี้ ผ่าน ไม่ผา่ น หลักฐานการประเมนิ 1.สะอาด สังเกตจากการแตง่ กายมาพบกลมุ่ 1.1 รกั ษาความสะอาดของร่างกาย/เครอื่ งแต่งกาย 1.2 ผลงานที่ได้รับมอบหมาย มีความสะอาดและเปน็ ผลงาน/ใบงานท่มี อบหมาย ระเบยี บ 1.3 รกั ษาความสะอาดของที่อย่อู าศยั /สถานทพี่ บ สงั เกตพฤตกิ รรมมสี ่วนรว่ มขณะพบกล่มุ กลุ่ม/ศูนย์การเรียน 1.4 รกั ษาความสะอาดทสี่ าธารณะ สังเกตพฤตกิ รรมมีส่วนรว่ มขณะพบกลุ่ม 1.5 มีจิตใจแจ่มใส สงั เกตพฤติกรรมมีสว่ นรว่ มขณะพบกลมุ่ สรปุ 2. สุภาพ สังเกตพฤติกรรมมีส่วนรว่ มขณะ 2.1 แสดงกริ ิยาทา่ ทางสุภาพ ออ่ นน้อมถอ่ มตนต่อ พบกล่มุ ท่มี ีต่อครแู ละเพื่อน ผ้อู น่ื ดว้ ยความมั่นใจในตนเอง 2.2 วาจาสุภาพ กลา่ วคาขอบคณุ หรอื ขอโทษได้ สังเกตพฤติกรรมมสี ว่ นร่วมขณะพบ อยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ กลมุ่ ที่มีต่อครูและเพื่อน 2.3 สามารถควบคุมอารมณท์ ี่ไมพ่ ่ึงประสงคใ์ น สังเกตพฤติกรรมมสี ่วนรว่ มขณะพบ สถานการณ์ต่างๆ ได้ กลมุ่ ทีม่ ตี ่อครูและเพอ่ื น 2.4 มีสัมมาคารวะและวางตัวในสังคมไดเ้ หมาะสม สงั เกตพฤติกรรมมีสว่ นรว่ มขณะพบ กบั ความเปน็ ไทย กลมุ่ ทมี่ ีต่อครูและเพือ่ น สรุป 3. กตญั ญูกตเวที 3.1 ดูแล/ชว่ ยเหลือ หรือให้การอปุ การะ เอาใจใส่ สังเกตพฤตกิ รรมและสอบผู้ใกล้ชิด บิดามารดา ผูม้ ีพระคุณ 3.2 ตอบแทนบุญคุณ อาสาช่วยเหลือ ครอู าจารย์ สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วม และสถานศึกษา ขณะพบกลมุ่ และทากิจกรรม 3.3 มีส่วนร่วม ช่วยเหลือและพัฒนาชมุ ชน สังคม สงั เกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ ม หรือประเทศชาติ ขณะพบกล่มุ และทากิจกรรม 3.4 ปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ สังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ ม ขณะพบกลมุ่ และทากจิ กรรม สรุป การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 56 - คุณธรรม/พฤติกรรมบง่ ช้ี ผ่าน ไมผ่ ่าน หลกั ฐานการประเมิน 4. ขยนั 4.1 รว่ มกิจกรรม การเรยี นรู้ การทางานดว้ ยความ สงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วม ตง้ั ใจมีความเพียรพยายาม กระตอื รือรน้ ขณะพบกลุ่มและทากิจกรรม 4.2 ทางานที่ไดร้ ับมอบหมายไดถ้ ูกต้องและเสรจ็ ทัน ตามกาหนด สังเกตพฤติกรรมและผลงานที่ 4.3 แสวงหาความรู้ อยา่ งต่อเนือ่ ง มอบหมายให้ สงั เกตพฤติกรรมและผลงานท่ี 4.4 แก้ปญั หาดว้ ยตัวเอง มอบหมายให้ 4.5 ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สังเกตพฤตกิ รรมและผลงานที่ สรปุ มอบหมายให้ 5. ประหยดั 5.1 มกี ารออม สงั เกตพฤติกรรมและมอบหมายให้ 5.2 ทาบญั ชี รับ-จา่ ย ของตนเอง มีการทาบัญชีครัวเรือน 5.3 ใชจ้ ่ายเงินอย่างมเี หตผุ ลไม่ฟุ่มเฟือย สมดุ บัญชีครัวเรอื น สังเกตพฤตกิ รรมและมอบหมายให้ 5.4 ใชท้ รัพยส์ ิน สง่ิ ของของสถานศกึ ษาและ มกี ารทาบัญชคี รวั เรือน สาธารณะ อยา่ งประหยดั สังเกตพฤติกรรมและมอบหมายให้ 5.5 ใช้ทรัพยากรอยา่ งคุม้ ค่าเหมาะสมกบั งาน มีการทาบัญชคี รัวเรือน สงั เกตพฤติกรรมและมอบหมายให้ สรุป มกี ารทาบัญชคี รัวเรือน 6. ซ่ือสตั ย์ 6.1 ไมค่ ัดลอกหรือนาผลงานของผู้อนื่ มาเป็นของ สงั เกตพฤติกรรมการพบกลมุ่ และ ตนเอง การมีสว่ นร่วม/ผลงานทีม่ อบหมาย 6.2 ตรงต่อเวลา ทั้งต่อตนเองและผู้อนื่ ให้ สงั เกตพฤติกรรมจากการพบกลุ่ม 6.3 ไมท่ จุ รติ ประพฤติ ปฏบิ ัตติ รงต่อหนา้ ท่ี และการเข้ารว่ มกิจกรรม สังเกตพฤติกรรมจากการพบกลุ่ม 6.4 พูดความจรงิ ปราศจากความลาเอียงหรอื อคติ และการเข้าร่วมกจิ กรรม สงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม 6.5 ไมเ่ อาส่งิ ของคนอ่นื มาเป็นของตนเอง ขณะพบกล่มุ ท่มี ีตอ่ ครูและเพ่ือน สงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม สรปุ ขณะพบกลุ่มทม่ี ีตอ่ ครูและเพื่อน การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 57 - คณุ ธรรม/พฤติกรรมบ่งชี้ ผ่าน ไม่ผา่ น หลักฐานการประเมนิ 7. สามัคคี 7.1 รว่ มกิจกรรมกับหมคู่ ณะด้วยความเป็นนา้ หนึ่งใจ สังเกตพฤตกิ รรมจากการพบ เดยี วกัน กลมุ่ และการเข้ารว่ มกิจกรรม 7.2 เป็นผูม้ เี หตผุ ล ยอมรับความคดิ เหน็ ท่ีแตกต่าง หลากหลาย สงั เกตพฤติกรรมจากการพบ 7.3 มภี าวะความเปน็ ผู้นาและผู้ตามท่ีดี กลุม่ และการเขา้ ร่วมกจิ กรรม สงั เกตพฤตกิ รรมจากการพบ 7.4 ยอมรับในบทบาทหนา้ ที่ของตนเอง และของ กลุม่ และการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผู้อ่นื ตลอดจนยอมรบั การตัดสนิ ของกลุ่ม สังเกตพฤตกิ รรมจากการพบ กลุม่ และการเขา้ รว่ มกิจกรรม สรุป 8. มนี ้าใจ สงั เกตพฤตกิ รรมจากการพบ 8.1 มีความจริงใจไม่เห็นแก่ตัว มคี วาม กลุ่มและการเขา้ ร่วมกจิ กรรม เอ้ือเฟ้ือเผอื่ แผ่ เออ้ื อาทร 8.2 ให้ความช่วยเหลอื เอาใจใส่ให้ความสนใจใน สังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนร่วม ชวี ติ ความเป็นอย่ขู องผ้อู น่ื ทเี่ ดอื ดร้อน ขณะพบกลุม่ ที่มีต่อครูและเพื่อน 8.3 เสียสละ เพ่อื ช่วยเหลือผู้อ่ืน สงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นร่วม ขณะพบกลมุ่ ทีม่ ีต่อครูและเพื่อน 8.4 ร่วมสร้างสรรคส์ ิ่งท่ดี ีงามใหเ้ กดิ ขนึ้ ในชุมชน สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วม ขณะพบกล่มุ ทม่ี ีต่อครูและเพื่อน สรุป 9. วินยั สังเกตพฤติกรรมจากการพบ 9.1 ปฏบิ ตั ิตนตามกฎ ระเบียบ ขอ้ บังคบั และ กลุ่มและการเขา้ ร่วมกิจกรรม ข้อตกลงของสถานศกึ ษาและสงั คม 9.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมหรอื ปฏิบัตงิ านท่ไี ด้รับ สังเกตพฤติกรรมจากการพบ มอบหมายและตรงต่อเวลา กลมุ่ และการเขา้ ร่วมกิจกรรม 9.3 ปฏบิ ตั ิตนถูกต้องตามศีลธรรมทดี่ ีงาม สังเกตพฤติกรรมจากการพบ กลมุ่ และการเขา้ รว่ มกจิ กรรม 9.4 เปน็ ผู้ที่มคี วามรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชนและสงั คม สังเกตพฤติกรรมจากการพบ กลมุ่ และการเขา้ ร่วมกิจกรรม สรุป การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 58 - คุณธรรม/พฤติกรรมบง่ ชี้ ผา่ น ไมผ่ ่าน หลกั ฐานการประเมนิ 10. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริยแ์ ละรกั ษาความเปน็ ไทย สัมภาษณเ์ พื่อน/สงั เกตการ 10.1 การปฏบิ ตั ติ นตามหลักศาสนา เข้าร่วมกิจกรรม 10.2 มคี วามรกั ศรทั ธาและเทิดทนู สถาบัน สมั ภาษณ์เพื่อน/สงั เกตการ พระมหากษัตริย์ เข้าร่วมกจิ กรรม 10.3 ภาคภูมใิ จและดารงความเป็นไทย สมั ภาษณ์เพ่ือน/สังเกตการ เขา้ ร่วมกิจกรรม 10.4 ร่วมกจิ กรรมสาคัญทางศาสนา กิจกรรม กพช. สรปุ 11. ยดึ มั่นในวิถชี ีวิตและการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 11.1 ยึดมั่นศรัทธาในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี สัมภาษณเ์ พื่อน/สงั เกตการ พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข การเขา้ ร่วมกจิ กรรม 11.2 ธารงรกั ษาไวซ้ ึ่งความปกครองตามระบอบ สัมภาษณ์เพื่อน/สังเกตการ ประชาธิปไตย เขา้ รว่ มกจิ กรรม 11.3 ประพฤติตนในภาวะผูน้ าและผู้ตามทดี่ ี สัมภาษณ์เพ่ือน 11.4 ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน สัมภาษณเ์ พื่อน สรุป สรปุ (รอ้ ยละ) ข้อคดิ เหน็ ของผู้ประเมิน ........................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................................. ............................................................................................................................. .............................................................. ........................................................................................................................................................... ................................ ลงชื่อ......................................................ผปู้ ระเมิน (............................................) ครู กศน.ตาบล ................... การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 59 - ตัวอย่างการกรอกข้อมูล แบบประเมนิ คุณธรรมตามพฤตกิ รรมบ่งชี้รายภาคเรียน ภาคเรียนท่ี ........../.............. ช่ือ-ช่ือสกลุ ........................................................... รหสั ประจาตัวนักศึกษา............................ ชื่อสถานศึกษา.................................................................................... จังหวดั ....................... คุณธรรม/พฤตกิ รรมบ่งชี้ ผ่าน ไม่ผ่าน หลกั ฐานการประเมิน 1.สะอาด 1.1 รักษาความสะอาดของร่างกาย/เครื่องแต่งกาย สังเกตจากการแตง่ กายมาพบกลุ่ม 1.2 ผลงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย มีความสะอาดและเป็น ระเบียบ ผลงาน/ใบงานท่ีมอบหมาย 1.3 รักษาความสะอาดของที่อยอู่ าศยั /สถานที่พบ กลุ่ม/ศูนยก์ ารเรียน สงั เกตพฤติกรรมมีส่วนร่วมขณะ 1.4 รักษาความสะอาดท่ีสาธารณะ พบกลุ่ม สังเกตพฤติกรรมมีส่วนร่วมขณะ 1.5 มีจิตใจแจม่ ใส่ 60 % พอใช้ พบกลุ่ม สงั เกตพฤติกรรมมีส่วนร่วมขณะ สรุป พบกลุ่ม 2. สุภาพ 2.1 แสดงกิริยาท่าทางสุภาพ อ่อนนอ้ มถ่อมตนตอ่ สงั เกตพฤติกรรมมีส่วนร่วมขณะ ผอู้ ื่นดว้ ยความมนั่ ใจในตนเอง พบกลุ่มที่มีตอ่ ครูและเพื่อน 2.2 วาจาสุภาพ กล่าวคาขอบคุณหรือขอโทษได้ อยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ สงั เกตพฤติกรรมมีส่วนร่วมขณะ พบ 2.3 สามารถควบคุมอารมณ์ท่ีไม่พ่งึ ประสงคใ์ น กลุ่มที่มีตอ่ ครูและเพื่อน สถานการณ์ต่างๆ ได้ สงั เกตพฤติกรรมมีส่วนร่วมขณะ 75 % ดี พบ 2.4 มีสมั มาคารวะและวางตวั ในสงั คมไดเ้ หมาะสม กลุ่มท่ีมีตอ่ ครูและเพื่อน กบั ความเป็นไทย สังเกตพฤติกรรมมีส่วนร่วมขณะ พบ สรุป กลุ่มที่มีตอ่ ครูและเพื่อน 3. กตญั ญูกตเวที 3.1 ดูแล/ช่วยเหลือ หรือใหก้ ารอุปการะ เอาใจใส่ สงั เกตพฤติกรรมและสอบผู้ บิดามารดา ผมู้ ีพระคุณ ใกลช้ ิด การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 60 - สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ขณะพบกลุ่มและทากิจกรรม 3.2 ตอบแทนบุญคุณ อาสาช่วยเหลือ ครูอาจารย์ สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม และสถานศึกษา ขณะพบกลุ่มและทากิจกรรม 3.3 มีส่วนร่วม ช่วยเหลือและพฒั นาชุมชน สงั คม 75 % ดี สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม หรือประเทศชาติ ขณะพบกลุ่มและทากิจกรรม 3.4 ปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดีของประเทศชาติ สรุป คุณธรรม/พฤตกิ รรมบ่งชี้ ผ่าน ไม่ผ่าน หลกั ฐานการประเมนิ 4. ขยนั สงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม 4.1 ร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ การทางานดว้ ยความ ขณะพบกลุ่มและทากิจกรรม ต้งั ใจมีความเพียรพยายาม กระตือรือร้น 4.2 ทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายไดถ้ ูกตอ้ งและเสร็จทนั สังเกตพฤติกรรมและผลงานที่ ตามกาหนด มอบหมายให้ 4.3 แสวงหาความรู้ อยา่ งต่อเน่ือง สงั เกตพฤติกรรมและผลงานท่ี มอบหมายให้ 4.4 แกไ้ ขปัญหาไดด้ ว้ ยตวั เอง 4.5 ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ สังเกตพฤติกรรมและผลงานท่ี มอบหมายให้ สรุป 60 % พอใช้ 5. ประหยดั สังเกตพฤติกรรมและมอบหมาย 5.1 มีการออม ให้ มีการทาบญั ชีครัวเรือน 5.2 ทาบญั ชี รับ-จา่ ย ของตนเอง สมุดบญั ชีครัวเรือน 5.3 ใชจ้ า่ ยเงินอยา่ งมีเหตุผลไมฟ่ ่ ุมเฟื อย สงั เกตพฤติกรรมและมอบหมาย ให้ มีการทาบญั ชีครัวเรือน 5.4 ใชท้ รัพยส์ ิน สิ่งของของสถานศึกษาและ สงั เกตพฤติกรรมและมอบหมาย สาธารณะ อยา่ งประหยดั ให้ มีการทาบญั ชีครัวเรือน 5.5 ใชท้ รัพยากรอยา่ งคุม้ คา่ เหมาะสมกบั งาน สังเกตพฤติกรรมและมอบหมาย ให้ การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 61 - 80 % ดี มีการทาบญั ชีครัวเรือน สรุป สังเกตพฤติกรรมการพบกลุ่มและ 6. ซื่อสัตย์ การมีส่วนร่วม/ผลงานท่ี 6.1 ไมค่ ดั ลอกหรือนาผลงานของผอู้ ื่นมาเป็นของ มอบหมาย ตนเอง ให้ สังเกตพฤติกรรมจากการพบกลุ่ม 6.2 ตรงต่อเวลา ท้งั ตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน และการเขา้ ร่วมกิจกรรม 100 % ดมี าก สงั เกตพฤติกรรมจากการพบกลุ่ม 6.3 ไม่ทุจริต ประพฤติ ปฏิบตั ิตรงต่อหนา้ ที่ และการเขา้ ร่วมกิจกรรม สงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม 6.4 พดู ความจริง ปราศจากความลาเอียงหรืออคติ ขณะพบกลุ่มท่ีมีต่อครูและเพ่ือน สงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม 6.5 ไมเ่ อาสิ่งของคนอื่นมาเป็ นของตนเอง ขณะพบกลุ่มท่ีมีตอ่ ครูและเพ่ือน สรุป คณุ ธรรม/พฤตกิ รรมบ่งช้ี ผ่าน ไม่ผา่ น หลกั ฐานการประเมิน 7. สามคั คี 7.1 ร่วมกิจกรรมกบั หมู่คณะดว้ ยความเป็นน้าหน่ึงใจ สังเกตพฤติกรรมจากการพบ เดียวกนั กลุ่มและการเขา้ ร่วมกิจกรรม 7.2 เป็นผมู้ ีเหตุผล ยอมรับความคิดเห็นท่ีแตกตา่ ง หลากหลาย สงั เกตพฤติกรรมจากการพบ 7.3 มีภาวะความเป็นผนู้ าและผตู้ ามที่ดี กลุ่มและการเขา้ ร่วมกิจกรรม สังเกตพฤติกรรมจากการพบ 7.4 ยอมรับในบทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง และของ กลุ่มและการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผอู้ ื่น ตลอดจนยอมรับการตดั สินของกลุ่ม สงั เกตพฤติกรรมจากการพบ 75 % ดี กลุ่มและการเขา้ ร่วมกิจกรรม สรุป 8. มีนา้ ใจ สังเกตพฤติกรรมจากการพบ 8.1 มีความจริงใจไม่เห็นแก่ตวั มีความ กลุ่มและการเขา้ ร่วมกิจกรรม การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 62 - สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ขณะพบกลุ่มท่ีมีตอ่ ครูและเพื่อน เอ้ือเฟ้ื อเผอื่ แผ่ เอ้ืออาทร สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม 8.2 ใหค้ วามช่วยเหลือ เอาใจใส่ใหค้ วามสนใจใน ชีวติ ความเป็ นอยขู่ องผอู้ ่ืน ที่เดือดร้อน 75 % ดี ขณะพบกลุ่มท่ีมีต่อครูและเพื่อน 8.3 เสียสละ เพอ่ื ช่วยเหลือผอู้ ื่น สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม 8.4 ร่วมสร้างสรรคส์ ิ่งที่ดีงามใหเ้ กิดข้ึนในชุมชน ขณะพบกลุ่มท่ีมีต่อครูและเพ่ือน สรุป 9. วนิ ัย สังเกตพฤติกรรมจากการพบ 9.1 ปฏิบตั ิตนตามกฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั และ กลุ่มและการเขา้ ร่วมกิจกรรม ขอ้ ตกลงของสถานศึกษาและสงั คม 9.2 เขา้ ร่วมกิจกรรมหรือปฏิบตั ิงานท่ีไดร้ ับ สงั เกตพฤติกรรมจากการพบ มอบหมายและตรงตอ่ เวลา กลุ่มและการเขา้ ร่วมกิจกรรม 9.3 ปฏิบตั ิตนถูกตอ้ งตามศีลธรรมที่ดีงาม สังเกตพฤติกรรมจากการพบ กลุ่มและการเขา้ ร่วมกิจกรรม 9.4 เป็นผทู้ ี่มีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ชุมชนและสังคม 75 % ดี สงั เกตพฤติกรรมจากการพบ กลุ่มและการเขา้ ร่วมกิจกรรม สรุป คณุ ธรรม/พฤตกิ รรมบ่งชี้ ผ่าน ไมผ่ ่าน หลกั ฐานการประเมนิ 10. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์และรักษาความเป็ นไทย 10.1 การปฏิบตั ิตนตามหลกั ศาสนา สัมภาษณ์เพื่อน/สงั เกตการ 10.2 มีความรักศรัทธาและเทิดทูนสถาบนั เขา้ รว่ มกิจกรรม พระมหากษตั ริย์ 10.3 ภาคภูมิใจและดารงความเป็นไทย สมั ภาษณ์เพื่อน/สงั เกตการ เขา้ รว่ มกิจกรรม สมั ภาษณเ์ พ่ือน/สงั เกตการ เขา้ รว่ มกจิ กรรม การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 63 - กจิ กรรม กพช. 100 % ดมี าก 10.4 ร่วมกิจกรรมสาคญั ทางศาสนา สรุป สมั ภาษณ์เพื่อน/สังเกตการ การเขา้ ร่วมกิจกรรม 11. ยดึ มน่ั ในวถิ ชี ีวติ และการปกครองตามระบอบ สมั ภาษณ์เพ่ือน/สังเกตการ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็ นประมุข เขา้ ร่วมกิจกรรม 11.1 ยดึ มน่ั ศรัทธาในระบอบประชาธิปไตยอนั มี สัมภาษณ์เพอื่ น พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข สัมภาษณ์เพอื่ น 11.2 ธารงรักษาไวซ้ ่ึงความปกครองตามระบอบ 75 % ดี ประชาธิปไตย 11.3 ประพฤติตนในภาวะผนู้ าและผตู้ ามท่ีดี 11.4 ยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น สรุป การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 64 - แบบ 2 แบบรายงานผลการประเมินคณุ ธรรม ระดับ ............................................ สถานศกึ ษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอ...... จังหวดั ......................... รหสั ประจาตวั นักศึกษา ........................ ชอ่ื – สกลุ ....................................................................... เลขประจาตัวประชาชน ......................................................... กลุ่มคุณธรรม คณุ ธรรม ร้อยละ ผลการประเมิน คุณธรรมเพอ่ื พัฒนาตน 1. สะอาด 2. สภุ าพ 3. ความกตัญญกู ตเวที สรปุ คุณธรรมเพอ่ื พฒั นาการ 1. ขยนั ทางาน 2. ความประหยดั 3. ความซื่อสตั ย์สจุ ริต สรุป คุณธรรมเพอ่ื พฒั นาการ 1. ความสามคั คี อยู่ร่วมกันในสังคม 2. ความมีนาใจ 3. ความมีวินยั 4. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ และรกั ษาความ เปน็ ไทย 5. ยดึ ม่นั ในวถิ ีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมขุ สรุป สรุปในภาพรวม บันทึกความเห็นของสถานศกึ ษา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ....................................................... ผู้อานวยการสถานศกึ ษา (................................................) ……………………………………………………………………………………………………… การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
- 65 - เอกสารอา้ งอิง สานกั งาน กศน. .(2553). หนงั สือ สานกั งาน กศน. ท่ี ศธ 0210.03/1164 เร่ือง การกาหนดสัดส่วน คะแนนระหวา่ งภาคเรียนต่อปลายภาคเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ลงวนั ที่ 26 มีนาคม 2553 สานกั งาน กศน. .(2555). ประกาศสานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เร่ือง ปรับเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล และการกาหนดระยะเวลาในการมีสิทธ์ิเขา้ สอบปลาย ภาคเรียน หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ลงวนั ท่ี 8 ตุลาคม 2555 สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ.(2557).ประกาศสานกั งานกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง เพม่ิ จานวน ชวั่ โมงกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ ในหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. ลงวนั ที่ 18 มีนาคม 2557 สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั .(2555).คูม่ ือการดาเนินงาน หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2555) (พมิ พค์ ร้ังที่ 2). กรุงเทพ ฯ : รังสีการพิมพ์ การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: