Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore nutrinote_faezahh

nutrinote_faezahh

Published by Faezah To-ae, 2019-11-28 21:39:29

Description: nutrinote_faezahh

Keywords: nutrition_note

Search

Read the Text Version

เป้าหมายในการตดิ ตามโรคเบาหวาน 51 - เป้าหมายการควบคมุ เบาหวานสาหรับผู้ใหญ่ ควบคมุ ไม่ เข้มงวด การควบคมุ เป้าหมาย 140-170 มก./ เบาหวาน ควบคุมเข้มงวดมาก ควบคมุ ดล เข้มงวด - ระดับน้าตาลใน >70-110 มก./ดล. 80-130 - เลือดขณะอด มก./ดล 7.0-8.0% อาหาร ระดบั น้าตาลใน เลือดหลังอาหาร 2 <140 มก./ดล - ชว่ั โมง ระดบั นา้ ตาลใน เลอื ดสูงสดุ หลัง - <180 มก./ดล อาหาร A1C (% of total <6.5% <7.0% hemoglobin)

52 - เป้าหมายในการควบคุมระดับน้าตาลในเลือดสาหรับผู้ป่วย เบาหวานสงู อายุ และผู้ปว่ ยระยะสุดท้าย สภาวะผู้ปว่ ยเบาหวานสูงอายุ เปา้ หมายระดับ A1C ผมู้ สี ุขภาพดี ไม่มโี รคร่วม <7% ผู้มีโรคร่วม ชว่ ยเหลอื ตัวเองได้ 7.0-7.5% ผปู้ ่วยท่ตี ้องไดร้ บั การช่วยเหลอื มีภาวะเปราะบาง ไม่เกนิ 8.5% มภี าวะสมองเส่อื ม ไมเ่ กิน 8.5% หลีกเลี่ยงภาวะนา้ ตาลในเลอื ดสูงจนทา ผู้ป่วยทีค่ าดว่าจะมชี วี ิตอยู่ไดไ้ ม่นาน ใหเ้ กดิ อาการ

53 - เป้าหมายการควบคุมปัจจัยเส่ียงของภาวะแทรกซ้อนท่ีหลอด เลอื ด การควบคมุ /การปฏบิ ัตติ วั เปา้ หมาย ระดบั ไขมันในเลือด* ระดับไขมนั ในเลือด ระดับแอล ดี แอลค <100 มก./ดล เลสเตอรอล* <150 มก./ดล. ระดับไตรกลเี ซอไรด์ 40 มก./ดล ระดับ เอช ดี แอล คอเลสเตอรอล: 50 มก./ดล ผชู้ าย ผหู้ ญงิ ความดันโลหติ ** ความดันโลหติ ซสิ โตลิค (systolic BP) <140 มม.ปรอท ความดนั โลหิตไดแอสโตลิค (diastolic <90 มม.ปรอท BP) น้าหนกั ตวั ดัชนีมวลกาย 18.5-22.9 กก./ม.² หรือ รอบเอวจาเพาะบคุ คล (ทงั้ สองเพศ)*** ใกล้เคยี ง รอบเอว : ผ้ชู าย ไม่เกินสว่ นสงู หารด้วย 2 ผหู้ ญิง <90 ซม. <80 ซม. การสบู บหุ รี่ ไม่สูบบุหร่ีและหลีกเลี่ยง การรบั ควันบหุ รี การออกกาลงั กาย ตามคาแนะนาของแพทย์

54 * ถ้ามีโรคหลอดเลือดหัวใจหรือมีปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ หลายอย่างร่วมดว้ ยควรควบคุมให้ LDL-C ต่ากว่า 70 มก./ดล. ** ผ้ปู ว่ ยท่มี ีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ความดัน โลหิตซิสโตลิคไม่ควรต่ากว่า 110 มม.ปรอท ผู้ป่วย ที่อายุน้อยกว่า 40 ปี หรือมีภาวะแทรกซ้อนทางไตร่วมด้วยควรควบคุมความดันโลหิตให้น้อย กวา่ 130/80 มม.ปรอท ถา้ ไม่ทาใหเ้ กิด ภาวะแทรกซอ้ นของการรกั ษา การตรวจวินจิ ฉัยโรคและตรวจคัดกรองเบาหวานขณะ ต้งั ครรภ์ - เกณฑข์ อง Carpenter และ Coustan หญิงต้ังครรภ์ดื่มน้าที่ละลายน้าตาลกลูโคส 100 กรัม (100 gm OGTT) เวลา ระดับนา้ ตาลในเลือด (มก./ ดล.) กอ่ นด่มื นา้ ตาล 100 กรมั หลงั ดื่มนา้ ตาล 1 ชัว่ โมง 95 หลงั ดม่ื นา้ ตาล 2 ชวั่ โมง 180 หลังดม่ื นา้ ตาล 3 ชว่ั โมง 155 140 *ตง้ั แต่ 2 คา่ ขึน้ ไปจะถอื ว่าเป็นโรคเบาหวาน ขณะต้ังครรภ์

55 - เกณฑ์ของ International Diabetes Federation (IDF) หญิงต้ังครรภ์ด่ืมน้าท่ีละลายน้าตาลกลูโคส 75 กรัม (75 gm OGTT) เวลา ระดบั นา้ ตาลในเลอื ด (มก./ ดล.) ก่อนดื่มนา้ ตาล 100 กรัม หลังดม่ื นา้ ตาล 1 ชว่ั โมง 92 หลงั ด่ืมน้าตาล 2 ชั่วโมง 180 153 *ตั้งแต่ 1 ค่าข้ึนไปจะถือวา่ เป็นโรคเบาหวานขณะตงั้ ครรภ์ เป้าหมายของระดบั นา้ ตาลในเลอื ดของผู้ป่วยเบาหวานขณะต้ังครรภ์ เวลา ระดบั น้าตาลในเลอื ด (มก./ ดล.) กอ่ นอาหารเช้าอาหารม้ืออน่ื 60-95 และกอ่ นนอน <140 หลังอาหาร 1 ชั่วโมง <120 หลังอาหาร 2 ช่ัวโมง >60 เวลา 02.00 – 04.00 น. ท่มี า: แนวทางเวชปฏบิ ัติสาหรับโรคเบาหวาน 2559

56 การตรวจระดบั น้าตาลในเลือดด้วยตนเอง ขอ้ บง่ ชก้ี ารทา SMBG 1. ผปู้ ่วยเบาหวานทม่ี ีความจาเปน็ ในการทา SMBG 1.1 ผู้ที่ต้องการคุมเบาหวานอย่างเข้มงวด ได้แก่ ผู้ป่วย เบาหวานท่ีมีครรภ์ (pre-gestational DM) และผู้ป่วยเบาหวานขณะ ต้งั ครรภ์ (gestational DM) 1.2 ผูป้ ว่ ยเบาหวานชนดิ ที่ 1 1.3 ผู้ป่วยเบาหวานท่ีมีภาวะน้าตาลต่าในเลือดบ่อยๆ หรือ รุนแรง หรือมภี าวะน้าตาลตา่ ในเลือด โดยไมม่ อี าการเตอื น 2. ผปู้ ว่ ยเบาหวานท่ีควรทา SMBG 2.1 ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ซ่ึงได้รับการรักษาด้วยการฉีด อินซูลิน 3. ผู้ปว่ ยเบาหวานท่ีอาจพจิ ารณาใหท้ า SMBG 3.1 ผ้ปู ่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ซ่ึงไม่ได้ฉีดอินซูลินแต่เบาหวาน ควบคมุ ไม่ได้ พจิ ารณาใหท้ า SMBG เมือ่ ผ้ปู ่วย และ/หรือผู้ดูแลพรอ้ มทีจ่ ะ

57 เรียนรู้ ฝกึ ทักษะ และนาผลจาก SMBG มาใช้ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเพ่ือ ควบคมุ ระดับน้าตาลในเลอื ดให้ไดต้ ามเปา้ หมาย 3.2 ผู้ท่ีเพ่ิงได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน เพ่ือเรียนรู้ใน การดูแลตนเองท้ังเร่ืองอาหาร การออกกาลังกาย หรือได้ยาลดระดับ นา้ ตาลในเลือดให้เหมาะสมกบั กิจวัตรประจาวัน ความถี่ของการทา SMBG ความถ่ีของการทา SMBG 1. ผู้ป่วยเบาหวานระหว่างการต้ังครรภ์ควรทา SMBG ก่อน อาหารและหลังอาหาร 1 หรือ 2 ชั่วโมง ท้ัง 3 มื้อ และก่อนนอน (วันละ 7 ครง้ั ) อาจลดจานวนครงั้ ลงเมอื่ ควบคมุ ระดบั นา้ ตาลในเลือดไดด้ ี 2. ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ที่ได้รับการรักษาด้วย insulin pump ควรทา SMBG วันละ 4-6 ครั้ง 3. ผู้ป่วยเบาหวานที่ฉีดอินซูลินต้ังแต่ 3 ครั้งขึ้นไป ควรทา SMBG กอ่ นอาหาร 3 มอ้ื ทุกวนั ควรทา SMBG กอ่ นนอน และหลงั อาหาร 2 ชม.เปน็ ครง้ั คราว หากสงสัยว่ามีภาวะน้าตาลต่าในเลือดกลางดึกหรือมี ความเสย่ี งท่จี ะเกิด ควรตรวจระดบั น้าตาลในเลือดชว่ งเวลา 02.00-04.00 น.

58 4. ผู้ป่วยเบาหวานท่ีฉีดอินซูลินวันละ 2 คร้ัง ควรทา SMBG อย่างน้อยวันละ 2 ครงั้ โดยตรวจก่อน อาหารเชา้ และเย็น อาจมีการตรวจ ก่อนอาหารและหลังอาหารมื้ออ่ืนๆ เพ่ือดูแนวโน้มการเปล่ียนแปลงของ ระดับน้าตาลในเลือด และใช้เปน็ ขอ้ มูลในการปรบั ยา 5. ควรทา SMBG เม่ือสงสัยว่ามีภาวะน้าตาลต่าในเลือดและ หลังจากให้การรักษาจนกว่าระดับน้าตาล ในเลือดจะกลับมาปกติหรือ ใกล้เคียงปกติ 6. ควรทา SMBG ก่อนและหลังการออกกาลังกาย หรือ กิจกรรมทม่ี คี วามเสี่ยง เช่น การขับรถ ในผู้ป่วย เบาหวานที่ได้รับยาซึ่งมี ความเสยี่ งทีจ่ ะเกดิ ภาวะน้าตาลตา่ ในเลอื ด 7. ในภาวะเจบ็ ปว่ ยควรทา SMBG อย่างนอ้ ยวนั ละ 4 ครั้ง ทุก 4 ถึง 6 ชั่วโมง หรือก่อนม้ืออาหาร เพื่อค้นหาแนวโน้มที่จะเกิดภาวะ นา้ ตาลตา่ ในเลอื ดหรอื ระดับน้าตาลในเลอื ดสูงเกินควร 8. ในผปู้ ว่ ยเบาหวานชนิดท่ี 2 ซง่ึ ฉีดอินซูลนิ ก่อนนอน ควรทา SMBG กอ่ นอาหารเชา้ ทกุ วนั หรอื อยา่ ง นอ้ ย 3 ครั้ง/สปั ดาหใ์ นชว่ งทมี่ ีการ ปรับขนาดอินซูลิน อาจมีการทา SMBG ก่อนและหลังอาหารม้ืออ่ืนๆ สลับกัน เพ่ือดูแนวโน้มการเปล่ียนแปลงของระดับน้าตาลในเลือด ถ้ายัง ไม่ได้ค่า A1C ตามเปา้ หมาย ทมี่ า: แนวทางเวชปฏิบัติสาหรบั โรคเบาหวาน 2559

59 กาหนดคาร์บในแต่ละมื้อสาหรบั หญิงตั้งครรภ์ (GDM) Nutrient or recommendation Meal planning food type tips Carbohydrate A minimum of 175 g Common CHO daily , allowing carbohydrate for the guidelines : 2 approximately 33 carbohydrate needed for fetal choices (15-30 g) at brain development. breakfast , 3-4 Recommendations choices (45-60g) for are based on effect lunch and evening of intake on blood meal, 1-2 choices glucose levels. (15 to 30 g) for Intake should be snacks. distributed Recommendations throughout the day. should be Frequent feedings, modified based on smaller portions, individual with intake sufficient assessment and to avoid ketonuria. blood glucose self- monitoring test results.

60 ชนดิ ของ Insulin แบง่ เป็น 4 ชนิดตามระยะเวลาออกฤทธิ์ ได้แก่ 1. ฮิวแมนอินซูลินออกฤทธ์ิส้ัน (short acting หรือ regular human insulin, RI) 2. ฮิวแมนอินซูลินออกฤทธ์ินานปานกลาง (intermediate acting human insulin, NPH) 3. อนิ ซลู ินอะนาลอ็ กออกฤทธิ์เร็ว (rapid acting insulin analog, RAA) เป็นอินซูลินท่ีเกิดจากการ ดัดแปลงกรดอะมิโนท่ีสายของฮิวแมน อินซูลิน 4. อินซูลนิ อะนาล็อกออกฤทธ์ิยาว (long acting insulin analog, LAA) เป็นอินซูลินรุ่นใหม่ที่เกิดจาก การดัดแปลงกรดอะมิโนท่ีสายของฮิว แมนอินซูลิน และเพ่ิมเติมกรดอะมิโน หรือเสริมแต่งสายของอินซูลิน ดว้ ย กรดไขมนั (Clinical Practice Guideline for Diabetes 2017)

61 ศพั ท์ทางเภสชั จลนศาสตร์ (Pharmacokinetic) 1. Onset คือ ระยะเวลาตั้งแต่ให้ยาไปจนกระทั่งถึงยาเร่ิมออก ฤทธิ์ 2. Peak คือ ระยะเวลาต้ังแต่ให้ยาไปจนถึงระดับสูงสุดของยา ช่วง peak เป็นช่วงที่ต้องกังวลกับการเกิด hypoglycemia ให้มาก 3. Duration คือระยะเวลาทย่ี าออกฤทธ์ิทงั้ หมด

62 (ภวินทพ์ ล โชตวิ รรณวิรชั , 2559)

63 ภาวะนา้ ตาลในเลือดสงู ชนดิ Diabetic ketoacidosis คอื เป็นภาวะฉกุ เฉนิ ทมี่ รี ะดบั นา้ ตาลในเลือดสูงและเกดิ ภาวะกรดเม ตะบอลิคจากการทม่ี ีกรดคีโตนคั่งในรา่ งกาย ภาวะนพี้ บไดท้ ั้งในผู้ป่วย เบาหวานชนดิ ท1่ี และชนิดท2่ี (รพีพร โรจนแ์ สงเรอื ง) อาการและอาการแสดง อาการที่เกิดจากระดบั นา้ ตาลในเลือดสงู (hyperglycemia) เช่น ดมื่ น้าบ่อย (polydipsia), ปสั สาวะบอ่ ย (polyuria), ปัสสาวะรดท่ี นอน (nocturnal enuresis) กินบอ่ ยและหิวบอ่ ย, นา้ หนกั ลด (weight loss), อ่อนเพลีย (weakness) อาการแสดงของDKA เมอื่ ถึงจุดท่ีรา่ งกายไมส่ ามารถรกั ษา สมดลุ ไดห้ รอื มีภาวะเครยี ด(stress) บางอยา่ งมาเปน็ ปจั จยั เส่ียงทาใหเ้ กิด อาการไดแ้ ก่ ปวดทอ้ ง คล่ืนไส้ อาเจียน หายใจหอบลึก (Kussmaul breathing) เนือ่ งจากภาวะ metabolic acidosis หมดสติ (coma) อาการของภาวะ dehydration เชน่ ความดนั โลหิตต่า ชพี จรเต้นเร็ว ชอ็ ค ลมหายใจมีกล่นิ acetone (พฒั น์ มหาโชคเลิศวัฒนา.2544)

64 ปัจจยั ชกั นาไดแ้ ก่ 1. การขาดยาลดระดบั น้าตาล 2. มีโรคที่ก่อภาวะเครยี ดตอ่ รา่ งกาย เชน่ ภาวะติดเชื้อ การ ได้รับอบุ ตั ิเหตุ หวั ใจวาย โรคหลอด เลอื ดสมอง ภาวะ กลา้ มเนือ้ หัวใจขาดเลอื ด 3. ได้รับยาบางชนิดเชน่ thiazide, steroid สาเหตุ เกิดขึ้นไดท้ ั้งในผปู้ ่วยเบาหวานชนดิ ท1่ี และชนิดท่ี2 แตม่ กั เกิดขนึ้ ในผูป้ ่วยเบาหวานชนิดที่ 1ไดง้ า่ ยและบ่อยกวา่ เนื่องจากมภี าวะขาด อินซูลนิ ท่รี นุ แรงกว่า (รพพี ร โรจน์แสงเรอื ง, มปป) เกณฑ์การวนิ ิจฉัยภาวะน้าตาลในเลอื ดสงู ชนิด diabetic ketoacidosis

65 (ท่มี า:American Diabetes Association From Diabetes Care Vol 29, Issue 12, 2006.)

66 ภาวะ DKA การดแู ลรักษาเม่ือผา่ นพ้นภาวะ DKA 1. การหยดุ fluid replacement และเร่ิมกินอาหาร ผูป้ ว่ ย ไม่ควรรบั ประทานอาหาร (ยกเว้นอมนา้ แขง็ เปน็ ครง้ั คราว กรณีรสู้ ึกตัวด)ี จนกระท่ังภาวะ metabolic ของร่างกายดีขน้ึ คือ blood glucose <300 mg/dl, pH > 7.3 และ serum HCO3 > 15 mmol/L และไมม่ ี ภาวะ ketosis 2. การหยุด insulin infusion ควรหยดุ เมอ่ื ผูป้ ่วยมีการ ร้สู ึกตวั ดี และภาวะ metabolic ดขี ึน้ คือ blood glucose < 300 mg/dl, pH > 7.3 และ serum HCO3 > 15 mmol/L โดยฉดี ยา regular insulin subcutaneous ขนาด 0.25 – 0.5 unit/kg กอ่ นมือ้ อาหาร และหยุด insulin infusion หลงั จากฉีดยาหนง่ึ ช่ัวโมง 3. การให้ subcutaneous regular insulin ในม้ือต่อไป กรณผี ู้ป่วยใหม่ เริ่มให้ subcutaneous regular insulin 0.25 – 0.5 unit/kg/dose กอ่ นมอ้ื อาหาร 3 มอ้ื และกอ่ นนอน 1 – 2 วัน วันถดั ไปเมื่อไมม่ ี acidosis แล้วจงึ เร่มิ ให้ regular insulin ผสมกบั intermediate acting insulin (NPH) ผสมก่อนอาหารเชา้ โดยให้ total dose insulin 0.7 – 1.0 unit/kg/day แบง่ ให้ 2 ใน 3 ส่วนกอ่ นอาหาร

67 เชา้ (สดั สว่ นของ NPH : regular insulin ประมาณ 2 : 1) และ 1 ใน 3 ส่วนกอ่ นอาหารเยน็ (สัดสว่ นของ NPH : regular insulin ประมาณ 1 : 1) 4. การคานวณอาหารเฉพาะโรคเบาหวาน ควรให้ ลกั ษณะอาหารประกอบดว้ ย carbohydrate 50 – 55% , fat 25 – 30%, protein 15–20% 5. การประเมนิ ผลระดับน้าตาลในเลือดและการตรวจ น้าตาลและ ketone ในปสั สาวะ ตรวจระดับ blood glucose คอื กอ่ นอาหารเช้า, กลางวัน, เยน็ , ก่อนนอน, หลังเทย่ี งคืน – ตี 3 และเมอ่ื มีอาการสงสัย hypoglycemia นอกจากน้ันควรตรวจ urine ketone เมื่อผล blood glucose > 250 mg/dl เสมอ เมื่อพบมีระดบั นา้ ตาลผดิ ปรกติใหป้ รบั ขนาดและชนิด insulin ทใ่ี ห้เพ่อื รักษาระดบั นา้ ตาลระหวา่ ง 70 – 180 mg/dl 6. การให้ความรู้โรคเบาหวาน ผูป้ ว่ ยใหม่และผู้ปว่ ยเกา่ ทุก รายที่มอี าการ DKA ควรจะไดรั ับความรู้ความเขา้ ใจเรอื่ งโรคเบาหวานใหม่ ให้ถูกต้อง เพอ่ื การดแู ลตนเองต่อไป (พฒั น์ มหาโชคเลศิ วฒั นา.2544)

กรณไี มม่ อี าการเจบ็ ปว่ ย 68 ตรวจไมพ่ บคี ตรวจพบคีโตน กรณีเจบ็ ปว่ ย ไม่สบาย โตน ตรวจไม่พบคี ตรวจพบคีโตน - ออกกาลัง - หยุดพัก/งด โตน กายได้ ออกกาลังกาย - ตรวจระดับ - กรณีกนิ -ดื่ ม น้ า เ ป ล่ า - ด่ืมน้าเปล่า น้าตาลในเลือด อาหารและด่มื มากๆ ไม่ต้อง 2-4 ลิตร ใน 2 และ คีโ ตน ซ้า นา้ ไดป้ กติ : กนิ อาหารเพ่ิม ช่ัวโมง ภ า ย ใ น 4 - ใหต้ ิดตอ่ ทีม ช่วั โมง ผรู้ ักษาเพื่อขอ - ตรวจเลือดซ้า - เพ่ิมอินซูลิน - ให้ดื่มน้า คาปรึกษา หาก ถ้าสูงกว่า 250 ชนิดออกฤทธ์ิ บ่ อ ย ๆ ( 2-4 พบคโี ตนใน มก./ดล. หาก ส้ันทันทีร้อยละ ลิ ต ร ใ น 4 ปสั สาวะมีค่าสูง ไม่พบคีโตน ให้ 10-20 เมื่อถึง ชว่ั โมง) ปานกลางถงึ ฉดี อินซูลินชนิด เวลาฉดี ยา ออกฤทธส์ิ ั้น - ตรวจระดับ มาก *ถ้ า ตรว จ พ บ น้าตาลในเลือด - แจ้งให้แพทย์ - ในกรณีท่ีไม่ สา ร คี โ ต น ใ ห้ แ ล ะ คี โ ต น ซ้ า ทราบว่าเปน็ สามารถติดต่อ ป ฏิ บั ติ ต า ม ภ า ย ใ น 2 -3 เบาหวานหรือ ทีมผู้รักษาได้ให้ กรณีตรวจพบคี ช ม . จ น ก ว่ า เบาหวานชนิด ดืม่ น้าเปล่า 2-4 โตน ระดับน้าตาลใน ที่ 1 และรับคา ลิ ต ร ใ น 2 เลื อ ด ต่ า ก ว่ า แ น ะ น า ป รั บ ชั่วโมง 180 มก./ดล. ขนาดอินซลู นิ ต ร ว จ ร ะ ดั บ แ ล ะ ไ ม่ พ บ น้าตาลในเลือด ทกุ 2-3 ชัว่ โมง - กินอาหาร และด่ืมน้าไม่ได้

สารคีโตน 69 : - พบแพทย์ ทั น ที ห า ก รุนแรงอาจซึม หรือหมดสติ

70 CKD การแบง่ ระยะของCKD พยากรณโ์ รคไตเรื้อรงั ตามความสมั พนั ธ์ของ GFR และระดบั อัลบมู ินใน ปสั สาวะ

71 พยากรณโ์ รคไตเรื้อรงั ตามความสมั พนั ธ์ของ GFR และระดบั อัลบมู ินในปสั สาวะ ที่มา:คาแนะนาสาหรับการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคไตเรอ้ื รังกอ่ นการบาบดั ทดแทนไต พ.ศ.2558

72 สมุนไพรกับผูป้ ่วยโรคไต สมุนไพรทีม่ ีโพแทสเซยี ม รปู ภาพ อลั ฟัลฟา Alfalfa ผกั ชี (ใบ) Coriander (leaf) อีฟน่งื พริมโรส )Evening Primrose( มะระ ผล), ใบ( Bitter Melon (fruit, leaf) ขมิน้ เหง้า)) Turmeric (rhizome) ดอกคาฝอย ดอก)) Safflower (flower)

73 ลกู ยอ Noni โสมอเมริกัน American Ginseng ใบบัวบก Gotu Kola แดนดิไลออน) ราก, ใบ( Dandelion (root, leaf) กระเทยี ม ใบ)) Garlic (leaf) ตะไคร้ Lemongrass มะละกอ) ใบ, ผล( Papaya (leaf, fruit) ชโิ ครรี) ใบ) Chicory (leaf)

สมนุ ไพรท่มี ฟี อสฟอรัส 74 เมล็ดแฟลกซ์ หรือเมลด็ ลนิ นิ รปู ภาพ Flaxseed (seed) มิลค์ ทสิ เซลิ Milk Thistle ต้นหอม (ใบ) Onion (leaf) โพสเลน Purslane เมล็ดทานตะวัน Sunflower (seed) ดอกบวั Water Lotus

สมุนไพรทค่ี วรหลีกเลยี่ งในผปู้ ว่ ยโรค 75 ไต รปู ภาพ ปกั ค้ี) สมุนไพรจีนโบราณ(Astragalus บาร์เบอร์รี่ Barberry เหลอื งชัชวาลย์) เล็บวฬิ าร์( Cat's Claw ข้ึนฉ่าย Apium Graveolens ต้นหญ้าหนวดแมว Java Tea Leaf หญ้าหางม้า Horsetail

76 รากชะเอมเทศ Licorice Root รากออรกี อนเกรฟ Oregon Grape Root เพนนีรอยลั Pennyroyal รากพารส์ ลยี ์ Parsley Root โยฮมิ บี Yohimbe

77 ไตอักเสบเฉยี บพลนั (Nephrotic Syndrome) โรคไตเนฟโฟรติกเกิดจากมีความผิดปกติของหน่วยไต (Glomerulus) ทท่ี าหนา้ ทก่ี รองปัสสาวะทาใหร้ า่ งกายสูญเสียโปรตีนออก ทางปัสสาวะ จึงมีระดับโปรตีนในเลือดต่า บวม และภาวะไขมันในเลือด สูง โดยสารอาหารท่ีเก่ียวข้อง และสาคัญกับโรคไตเนฟโฟรติก ได้แก่ โปรตนี ไขมนั และโซเดยี ม 1. โปรตนี ผู้ป่วยโรคไตเนฟโฟรติกจะมีการสูญเสียของโปรตีนทาง ปสั สาวะ ดังน้นั จะต้องได้รับโปรตนี ทเ่ี พียงพอ และควรเลือกแหล่งโปรตีน ที่มีคุณภาพสูง (High Biological Value) เพราะมีกรดอะมิโนที่จาเป็น ครบทุกชนิด และร่างกายสามารถนาไปใช้ได้ดีทาให้ของเสียเกิดข้ึนน้อย เพ่ือชะลอการเส่ือมของไต และทดแทนการสูญเสียของโปรตีน แต่หาก ได้รับโปรตนี มากเกนิ ไปจะทาให้เพ่ิมการสญู เสยี โปรตีน และทางานของไต ควรบรโิ ภคอาหารทม่ี โี ปรตีนคุณภาพสงู เป็นโปรตีนท่ีพบได้ในอาหารประเภทเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เช่น ไข่ นม เน้ือสัตว์ ปลา ไก่ เนื้อวัว หมู ควรหลีกเล่ียง เน้ือสัตว์ที่ติดมัน เคร่ืองในสัตว์ และสัตว์ทะเลบางชนิด ได้แก่ กุ้ง ปู ปลาหมึก เพราะมี

78 ปริมาณคลอเลสเตอรอลสูง อาจทาให้กระตุ้นการสร้างไขมันที่ตับเพ่ิมขึ้น ควรรับประทานโปรตีนที่มีคุณภาพสูงอย่างน้อย 50 % ของปริมาณ โปรตนี ท้งั หมด ตามคาแนะนาของแพทย์ หรือ นกั โภชนาการ 2. ไขมัน ภาวะไขมนั ในเลือดสูงเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคไตเนฟโฟร ติก ท่ีมีการสูญเสียโปรตีนทางปัสสาวะ จึงทาให้กระตุ้นการสร้างไขมันที่ ตับมากผิดปกติ ดังน้ันการควบคุมอาหารที่มีไขมันสูงจะช่วยเพ่ือป้องกัน ปัจจยั เสีย่ งตอ่ ภาวะหลอดเลือดแดงแข็งได้ โดยแนะนาให้บริโภคไขมันไม่ อ่ิมตัว เช่น น้ามันถั่วเหลือง น้ามันราข้าว น้ามันงา น้ามันมะกอก น้ามันทานตะวัน และน้ามันคาโนลา แต่เมื่อหายจากโรคไตเนฟโฟรติก ภาวะไขมันในเลือดสูงจะหายด้วย ควรหลีกเลี่ยงอาหารทม่ี ีไขมนั อาหารทม่ี ีกรดไขมันอม่ิ ตวั สงู เปน็ ไขมันที่พบในสัตวแ์ ละผลติ ภัณฑ์จากสัตว์ เชน่ เนอ้ื สัตว์ติดมนั เคร่อื งในสัตว์ พบในผลติ ภัณฑ์จากพืช เช่น กะทิ น้ามัน ปาล์ม และน้ามนั มะพร้าว อาหารที่มีไขมันทรานส์สูง เนยขาว มาการีน ผลิตภัณฑ์แปรรูปต่างๆ เช่น คกุ ก้ี เคก้ โดนัท

79 อาหารทีท่ าใหไ้ ตรกลเี ซอไรดใ์ นเลือดสงู อาหารประเภทแป้ง น้าตาล ขนม หวาน ผลไม้รสหวานจัด เครอื่ งด่มื ท่มี ีรสหวาน และเคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ อาหารท่ีมีคลอเลสเตอรอลสูง กุ้ง หอย ปลาหมึก ตับ ไข่แดง ไข่ปลา และ เครอื่ งในสตั ว์ 3. โซเดียม : หากรา่ งกายมกี ารสูญเสยี โปรตีนทางปัสสาวะส่งผล ให้ไตมีการดูดกลับของน้าและเกลือแร่มาสะสมในร่างกายทา ให้เกิดอาการบวม ควรหลีกเลี่ยงอาหารท่ีมีโซเดียม : โซเดียมพบน้อยในอาหารธรรมชาติแต่จะ พบมากในเครือ่ งปรงุ อาหารแปรรปู และอาหารหมกั ดอง เครื่องปรุง เกลือ ซอสปรุงรส ผงชูรส น้าปลา ผงปรุงรสกะปิ ซอสมะเขือเทศ ซอสพรกิ นา้ จ้ิม เครอื่ งแกงต่างๆ อาหารแปรรูป บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ปลากระป๋อง ไส้กรอก ลูกช้ิน ขนมกรุบ กรอบ ขนมปงั กุ้งแหง้ อาหารหมักดอง ผักและผลไม้ดอง แหนม กุนเชียง ไข่เค็ม ปลาร้า น้าบูดู เต้าเจย้ี วหากรับประทาอาหารที่มีโซเดียมสงู มากๆจะทาใหเ้ กดิ การคง่ั ของนา้ ใน ร่างกาย ส่งผลใหเ้ กิดอาหารบวม ความดนั โลหิตสงู และหวั ใจล้มเหลว ข้อแนะนาในการลดโซเดยี ม

80  หลกี เลีย่ งการปรงุ อาหารเพม่ิ  หลีกเลี่ยงอาหารแปรรปู และอาหารหมักดอง  ประกอบอาหารแยกกบั สมาชกิ ในบา้ น  อ่านฉลากโภชนาการเพอื่ เปรียบเทียบปริมาณโซเดียมในอาหาร  เมือ่ ทานอาหารนอกบา้ น ควรตักทานเฉพาะส่วนที่เป็นเนื้อ ไม่ราด น้าแกง

81 กระดูกพรนุ ข้อควรปฏบิ ตั ิเพ่ือปอ้ งกนั กระดกู หักเนอื่ งจากกระดูกพรุน (Fracture liaison service : FLS) ดังน้ี - ควรรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมให้เหมาะสม คือ ผู้ท่ีมี อายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 50 ปี ควรได้รับแคลเซียม 800 มิลลิกรัมต่อวัน ผูท้ มี่ อี ายุ 51 ปขี ้ึนไป ควรได้รบั แคลเซียม 1000 มลิ ลกิ รมั ตอ่ วัน - รับแสงแดดอย่างเพียงพอ เพ่ือให้ผิวหนังสร้างวิตามินดี จะ ช่วยให้ลาไส้ดดู ซมึ แคลเซยี มได้ ตัวอย่างอาหารทีม่ ีแคลเซยี ม อ้างอิงจาก รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.บุษบา จินดาวิจักษณ์ ภาควิชา เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เรื่องแคลเซียมกับโรค กระดกู พรุน ตอนท่ี2 ชนิดอาหาร ปรมิ าณทบ่ี ริโภค ปริมาณแคลเซียม (มิลลกิ รัม) นมสดยเู อชที 200 ซีซี (1กลอ่ ง) 240 นมสดเสรมิ แคลเซียม 200 ซีซี (1กล่อง) 280 นมถ่วั เหลือง 250 ซซี ี (1กล่อง) 64 นมเปรีย้ ว 160 ซซี ี (1ขวด) 160

โยเกริรต์ 150 กรัม (1ถว้ ย) 82 กะปิ 2 ช้อนโต๊ะ 280 136.64 กุ้งแหง้ ตัวเลก็ 1 ชอ้ นโต๊ะ 138.30 153.42 ปลาสลดิ ตม้ 2 ช้อนโตะ๊ 186.75 205.56 ปลาฉิง้ ฉ้าง ทอด 2 ชอ้ นโตะ๊ 225.76 243.63 ไขไ่ ก่ ตม้ 1 ฟอง 258.75 319.26 ไข่เป็ด ต้ม 1 ฟอง 411.86 450.06 เตา้ หขู้ าว ออ่ น ตม้ 3 ช้อนโตะ๊ 198.20 390.70 เตา้ หูข้ าว แขง็ ตม้ 3 ชอ้ นโตะ๊ 243.62 ผกั คะนา้ ผัด 5 ชอ้ นโตะ๊ ผกั กาดเขียว ตม้ 5 ชอ้ นโตะ๊ ผกั กวางต้งุ ต้ม 5 ชอ้ นโต๊ะ ใบยอ ต้ม ½ ทัพพี ใบชะพลู 70 กรัม มะเขือพวง 2 ชอ้ นโต๊ะ อ้างองิ จาก : โปรแกรมINMUCAL-N

83 ธาลสั ซีเมีย (Thalassemia) ธาลัสซีเมีย (Thalassemia) เป็นโรคโลหิตจางที่มีสาเหตุ จากความผิดปกติทางพันธุกรรมระดับยีน ทาให้การสร้างฮีโมโกบิล (Hemoglobin; Hb) ซ่ึงเป็นโปรตีนท่ีเป็นส่วนประกอบสาคัญของเม็ด เลอื ดแดงผิดปกติ สง่ ผลใหเ้ ม็ดเลอื ดแดงมีอายุสั้น แตกง่าย ถูกทาลายง่าย จัดเป็นโรคโลหิตจางทางพันธุกรรมท่ีพบบ่อยท่ีสุดในโลก Vichinsky EP. Changing patterns of thalassemia worldwide. Annals of the New York Academy of Sciences. 2005;1054:18-24. อาหารทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผู้ปว่ ยโรคธาลัสซีเมีย คืออาหารท่ี มีโปรตีน และกรดโฟลิก (Folic acid) สูง เพื่อช่วยในการสร้างเม็ดเลือด แดง ปรมิ าณโฟเลทในอาหาร อาหาร ปรมิ าณโฟเลท (ไมโครกรมั ตอ่ 35 กรมั หรอื ½ สว่ น) ตาลึง 42.70 ใบกยุ๋ ช่าย 50.75

ผักกาดหอม 84 36.75 ค่นื ชา่ ย 39.90 ดอกกะหล่า 32.90 มะเขอื เทศ 8.61 ถวั่ เขยี ว 53.55 ถว่ั แดง 49.70 ถ่ัวเหลือง 62.65 อ้างองิ จาก : ผศ.ภญ.ดร.กุลวรา เมฆสวรรค์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เรื่อง โภชนาการผปู้ ่วยธาลัสซเี มยี

85 อาหารที่ควรหลกี เลยี่ งสาหรบั ผ้ปู ่วยโรคธาลัสซเี มยี คอื อาหารทีม่ ธี าตุ เหลก็ สูง : ผลติ ภัณฑจ์ ากสัตว์ทมี่ ปี รมิ าณธาตเุ หล็กสงู เนอื้ สัตว์ ปริมาณธาตุ สตั ว์น้า ปรมิ าณธาตุ เหล็ก (มลิ ลิกรัม เหล็ก (มิลลิกรัม ตอ่ 40 กรมั ตอ่ 40 กรมั หรอื หรอื 1 ส่วน) 1 สว่ น) ปอดหมู 47.6 กุ้งฝอยสด 28.0 เลือดหมู 25.9 หอยโขม 25.2 หมหู ยอง 17.8 หอยแมลงภู่ 15.6 ตบั หมู 10.5 หอยแครง 6.4 นอ่ งไก่ 7.8 ปลาดกุ 8.1 บา้ น เน้อื ววั 7.5 ปลาช่อน 5.8 เคม็ ทอด กบแห้ง 3.8 ปลาตะเพียน 5.6

86 ผลติ ภัณฑ์จากธญั พืชและเหด็ ทม่ี ปี รมิ าณธาตเุ หลก็ สงู ธญั พชื และ ปรมิ าณธาตุ ผักและเห็ด ปรมิ าณธาตุเหลก็ เหล็ก (มลิ ลิกรัมต่อ ของว่าง (มลิ ลิกรมั ตอ่ 100 กรมั ) 100 กรมั ) ดาร์กช็อก 17.0 ผักกดู 36.3 โกแลต ถั่วดา 16.5 ใบแมงลัก 17.2 เต้าเจย้ี ว 15.2 ใบกระเพาแดง 15.1 เมลด็ 15.0 ยอดมะกอก 9.9 ฟกั ทอง ถวั่ ลิสง 13.8 ดอกโสน 8.2 งาขาว 13.0 ใบชะพลู 7.6 ถว่ั แดง 10.5 ต้นหอม 7.3 ลูกเดอื ย 10.0 มะเขอื พวง 7.1

งาดา 9.9 เหด็ หหู นู 87 6.1 จมกู ขา้ ว 6.8 ยอดออ่ น 5.8 สาลี ขี้เหล็ก ข้าวโอ๊ต 6.5 ผกั กระเฉด 5.3 อ้างองิ จาก : ผศ. ดร. ภญ. ปิยนชุ โรจนส์ ง่า ภาควิชาเภสัช เคมี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เรือ่ ง บทความเผยแพร่ความรู้ สปู่ ระชาชน ธาลัสซีเมยี (Thalassemia)...กนิ อยา่ งไรให้เหมาะสม หมายเหตุ : ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารร่วมกับ อาหารที่มีวิตามินสูง เช่น ส้ม มะเขือเทศ เพราะ วิตามินซีจะช่วยในการ ดูดซึมธาตุเหล็ก และควรรับประทานร่วมกับอาหารท่ีลดการดูดซึกธาตุ เหล็ก เชน่ ชา และนมถั่วเหลือง

88 ความดนั โลหิตสูง ค่าในการวนิ ิจฉัยความดันโลหติ สงู ตารางการจาแนกโรคความดันโลหิตสูงตามความรุนแรงในผู้ใหญ่อายุ18 ปี ข้ึนไป Category SBP DBP (มม. (มม. ปรอท) ปรอท) Optimal < 120 และ < 80 Normal 120-129 และ/หรือ 80/84 High normal 130-139 และ/หรอื 85-89 Grade 1 hypertension 140-159 และ/หรอื 90-99 (mild) Grade 2 hypertension 160-179 และ/หรือ 100-109 (moderate) Grate 3 hypertension >180 และ/หรือ >110 (severe) Isolated systolic >140 และ < 90 hypertension (ISH) หมายเหตุ:SBP = systolic blood pressure; DBP = diastolic blood pressure. เมื่อความรุนแรงของ SBP และ DBP อยู่ต่างระดับกัน ให้ ถือ ระดับท่ีรุนแรงกว่าเป็นเกณฑ์ สาหรับ ISH ก็แบ่งระดับ ความรุนแรง เหมอื นกันโดยใชแ้ ต่SBP ทมี่ า:แนวทางการรกั ษาโรคความดนั โลหติ สูง ในเวชปฏบิ ัตทิ ว่ั ไป พ.ศ.2558

89 Classification of Blood Cholesterol Levels

90 Source: American Association Of Clinical Endocrinologists Medical Guideline for Clinical Practice, 2012 ่คาท่ีใช้ในการติดตาม

91 DASH diet DASH Diet (Dietary Approaches to Stop Hypertension Diet) โดยชื่อ DASH Diet หมายถึง แนวทางโภชนาการ เพือ่ หยุดความดันโลหิตสูง หลักการ : ลดการบริโภคอาหารทม่ี ีเกลือโซเดียม ไขมันอ่ิมตัว ไขมันรวมและคอเรสเตอรอลลง และเพ่ิมการรับประทานใยอาหาร โปรตีน แคลเซียม แร่ธาตตุ า่ งๆอย่าง โปแตสเซยี มและแมกนีเซียม รวมถึง ปริมาณสารไนเตรททม่ี ีผลการศกึ ษาถึงการลดความดนั โลหิตสงู ได้ สดั สว่ นการรับประทานอาหารตามหลกั DASH ใน 1 วนั : ชนดิ อาหาร สดั ส่วน ธัญพชื ชนดิ ต่างๆ โดยเนน้ เปน็ ธัญพชื 7-8 ส่วนบริโภค (หรอื ประมาณ ไม่ขดั สี 7-8 ทัพพี) ผกั และผลไม้ อย่างละ 4-5 สว่ นบรโิ ภค (หรอื ประมาณ 4-5 ทพั พี และผลไม้ เน้ือสัตว์ไขมันต่าอยา่ งเนอ้ื ปลา 3-4 ส่วน) ลดการรับประทานสัตวเ์ นอื้ แดง การ 2-3 ส่วนบรโิ ภค (หรือประมาณ ตดั สว่ นไขมนั หรอื หนงั ของเนื้อสตั ว์ 4-6 ชอ้ นกินขา้ ว) และเลือกรับประทานเนอ้ื สตั ว์ไขมนั

92 ต่า นา้ มันหรือไขมัน 2-3 สว่ นบรโิ ภค (หรือไม่เกิน 6 ช้อนชา) ถั่วชนดิ ตา่ งๆ เช่น อลั มอนด์ ถวั่ 4-5 ส่วนบรโิ ภค(หรือประมาณ 4- เลนทลิ 5 ฝ่ามอื )ต่อสปั ดาห์ ของหวานชนดิ ตา่ งๆ ไมเ่ กนิ 5 สว่ นบริโภคตอ่ สปั ดาห*์ แนะนาใหร้ ับประทานนานๆคร้ัง แนะนาใหใ้ ช้เครือ่ งเทศหรอื สมุนไพร ตา่ งๆในการเสริมรสชาตอิ าหาร และ ลดการใชเ้ กลอื หรอื เครอ่ื งปรุงทม่ี ี โซเดียมสูงในการปรุงแตง่ อาหาร -Mayo Clinic Staff. DASH diet: Healthy eating to lower your blood pressure [online document]. http://www.mayoclinic.org/healthy-lifestyle/nutrition-and- healthy-eating/in-depth/dash-diet/art-20048456. October 3, 2017. -Siervo, M., Lara, J., Chowdhury, S., Ashor, A., Oggioni, C., & Mathers, J. (2015). Effects of the Dietary Approach to Stop Hypertension (DASH) diet on cardiovascular risk factors: A systematic review and meta-analysis. British Journal of Nutrition, 113(1), 1-15. doi:10.1017/S0007114514003341. (นพิ าวรรณ, มปป)

93 ที่มา : national cholesterol Education Program Adult Treatment Panel III, 2001

TLC ย่อมาจาก Therapeutic Lifestyle Change Diet เป็นวิธีการดูแลทางโภชนบาบัดทางการแพทยใ์ นการ ดูแลผปู้ ว่ ยทีม่ ภี าวะไขมนั ในเลอื ดผดิ ปกตไิ ดเ้ ป็นอยา่ งดี 94 TLC diet

95 อาหารคีโตเจนคิ (Ketogenic diets) อาหารคีโตเจนิค (Ketogenic diets) เป็นวิธีการบริโภคอาหารรูปแบบ หนึง่ ทีม่ ีทาให้รา่ งกายเกิดการผลิตสารคีโตน (ketone) หลกั การสาคญั คือ เนน้ บริโภคอาหารทีม่ ีส่วนประกอบของไขมันและโปรตีนในปริมาณสูง แต่ มีปริมาณคาร์โบไฮเดรตต่า(low-carbohydrate diet, LC) รูปแบบ อาหารดังกล่าวมีผลต่อการลดน้าหนัก เป็นวิธีท่ีลดน้าหนักได้อย่างมี ประสิทธิภาพโดยเฉพาะในระยะสั้นและช่วยการควบคุมระดับน้าตาลใน โรคเบาหวาน อาการที่พบได้ในคนท่ีบริโภคอาหารคีโตเจนิค คือ การมีไข้ เม่อื ยลา้ ซง่ึ มักเกิดในสปั ดาหแ์ รก นอกจากน้ียังอาจจะพบอาการเวียนหัว อ่อนเพลยี ท้องผกู และนอนไมห่ ลับ ดงั น้นั คนท่ีบริโภคอาหารลักษณะ LC ควรได้รับการตรวจเลือดเป็นระยะ ๆ และปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหาร หรือการออกกาลงั กายอยา่ งเหมาะสม อาหารคีโตเจนิค กับระดับน้าตาลในเลือด งานวิจัยระยะ อาหารคีโตเจนิค สามารถช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด ลดระดับอินซูลิน ดงั นั้นอาหารคโี ตเจนคิ อาจใชไ้ ดก้ ับผ้เู ปน็ เบาหวานชนดิ ท่ี 2 และคนทั่วไป ท่ีต้องการลดน้าหนัก และต้องไม่มีโรคประจาตัวท่ีต้องระวัง เช่น โรคตับ โรคผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ีต้องรับอินซูลิน (รวมถึงเด็กและวัยรุ่นที่เป็น เบาหวานชนิดที่ 1) อาจมีโอกาสเกดิ ปัญหาระดับน้าตาลตา่ ได้มากขึ้น ดว้ ย รูปแบบการกินอาหารแบบน้ีเป็นการเพ่ิมคีโต เน่ืองจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มี

96 ความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะความเป็นกรดจากสารคีโตนในเลือดมาก (Ketoacidosis) รวมถึงมีความเสย่ี งตอ่ การเกดิ ภาวะนา้ ตาลต่ามากเกนิ ไป

97 ศัพท์ทางการแพทย์ A Atrial Fibrillation (AF) โรคหัวใจเตน้ ผดิ จงั หวะ ไมส่ ม่าเสมอ Asthma โรคหอบหืด Ante natal care (ANC) การดแู ลกอ่ นคลอด(การฝากครรภ)์ Allergy โรคภูมแิ พ,้ แพ้ Acute Gastroenteritis (AGE) ลาไส้อกั เสบฉับพลัน Acidosis ภาวะเลือดเปน็ กรด Acute Renal Failure (ARF) ไตวายฉับพลัน Atherosclerotic heart disease โรคหลอดเลอื ดแดงหวั ใจแข็ง B Burns แผลไหม้ Blunt chest ได้รับการกระแทกทหี่ นา้ อก Blood pressure (BP) ความดนั โลหติ Benign Prostatic Hyperplasia (BPH) โรคตอ่ มลกู หมากโต Basal ganglia ปมประสาท ที่มหี นา้ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการสง่ั การการ เคลอ่ื นไหวของรา่ งกาย การเรียนรู้ การตดั สินใจและกิจเกย่ี วกบั อารมณ์ ความรสู้ กึ C C-Spine injury การบาดเจบ็ ที่กระดกู ตน้ คอ

98 Crushing การบดทับ Concussion สมองกระทบกระเทอื น Coma ภาวะหมดสติ ไม่รู้สกึ ตัว Complication โรคแทรกซ้อน Cesarian Section (C/S) การผา่ คลอด Chief Complaint (CC)ประวตั ิสาคญั ท่ีมาโรงพยาบาล Computed Tomography (CT) การตรวจเอก็ ซ์เรยค์ อมพิวเตอร์ Cerebrovascular Accident (CVA) โรคทางหลอดเลอื ดสมอง Constipation ท้องผูก Coronary Care Unit (CCU) หออภบิ าลผปู้ ว่ ยหนกั เฉพาะ โรคหัวใจColonic polyp ติง่ เนอื้ ทลี่ าไสใ้ หญ่ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) การลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ งชนิดตอ่ เนื่องด้วยตนเอง CTF (Capture the fracture) เป็นโครงการดูและผ้ปู ว่ ยโรค กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนโดยทมี สหวิชาชีพ ปัจจุบนั ใช้คาวา่ FLS (Fracture Liaison service) D Dyslipidemia (DLD) โรคไขมนั ในเลือดสงู Diagnosis (Dx) การวนิ จิ ฉยั โรค Dyspnea หอบเหนือ่ ย

99 Discharge ผปู้ ่วยออกจากโรงพยาบาลแล้ว E Emergency room (E.R) ห้องฉกุ เฉนิ F Fracture การแตกหกั ของกระดกู Fracture Femur กระดกู ต้นขาหกั Follow up (F/U) นัดตรวจตดิ ตามอาการ Family history (FH) ประวตั กิ ารเจ็บป่วยของคนในครอบครวั G General Appearance (GA) ลักษณะภายนอกทว่ั ไป Global aphasia เป็นความผิดปกตขิ องภาษาพูด เกดิ จากพยาธิ สภาพทส่ี มอง ผปู้ ว่ ยจะพดู ไม่คล่อง ไม่ชัดและมีปญั หาเร่อื งความเขา้ ใจ H Head injury การได้รับบาดเจ็บทีศ่ ีรษะ Hemodialysis ห้องล้างไต HT (Hypertension) ความดนั โลหติ สงู I

100 In patient Department (IPD) แผนกรกั ษาผู้ปว่ ยใน Infection การตดิ เชอื้ Intake/Outtake (I/O) ปรมิ าณนา้ เข้าออกในแต่ละวันIntensive care unit (I.C.U) หออภบิ าลผปู้ ว่ ยหนกั รวม Ischemic stroke โรคหลอดเลือดสมองตีบหรอื อดุ ตัน Intracerebal hemorrhage โรคหลอดเลอื ดสมองแตกจากการฉกี ขาดของหลอดเลือดในสมอง J Jaundice ดซี ่าน K L Labour room (L.R) ห้องคลอด LN (Lupus Nephritis) โรคไตทีเ่ ป็นผลกระทบจากโรค SLE M Medication (MED) อายุรกรรม Morbid obesity ภาวะอว้ นอยา่ งรนุ แรง N Nervous System (N/S) สญั ญาณชพี ทางระบบประสาท Not applicable (N/A) ไม่มีข้อมูล Nephrotic syndrome (NS) ไตอักเสบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook