แบบ มคอ. ๓ ฉบับปรับปรงุ ๒๕ ก.พ. ๕๙ แบบ มคอ. ๓ รายละเอียดของรายวชิ า รายละเอียดของรายวิชา หมายถึง ข้อมูลเก่ียวกับแนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชาเพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนสอดคล้องและเป็นไปตามที่วางแผนไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร ซึ่งแต่ละรายวิชาจะกาหนดไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และรายละเอียดของเน้ือหาความรู้ในรายวิชา แนวทางการปลูกฝังทักษะตา่ ง ๆ ตลอดจนคุณลกั ษณะอ่นื ๆ ทน่ี ิสติ จะได้รับการพัฒนาให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา มีการกาหนดรายละเอียดเก่ียวกับระยะเวลาท่ีใช้ในการเรียน วิธีการเรียน การสอน การวัดและประเมินผลในรา ยวิชาตลอดจนหนังสืออ้างอิงที่นิสิตจะสามารถค้นคว้าได้ นอกจากนี้ยังกาหนดยุทธศาสตร์ในการประเมินรายวิชาและกระบวนการปรบั ปรุง ประกอบดว้ ย ๖ หมวด ดังน้ีหมวดที่ ๑ ข้อมลู ของรายวิชาหมวดท่ี ๒ ผลการเรยี นรขู้ องรายวิชาหมวดที่ ๓ กาหนดการสอน และแผนการสอนหมวดที่ ๔ การวัดและประเมินผลหมวดท่ี ๕ ทรัพยากรประกอบการเรยี นการสอนหมวดที่ ๖ การประเมินและปรบั ปรุงการดาเนนิ การของรายวิชา
๑ มคอ. ๓ รายละเอียดของรายวิชาช่ือสถาบนั อุดมศกึ ษา มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขต/คณะ/ภาควชิ า คณะการแพทย์แผนไทยอภยั ภเู บศร หมวดท่ี ๑ ข้อมลู ของรายวชิ า๑. รหัสและช่ือรายวิชาภาษาไทย ๖๕๒๒๐๔ เวชศาสตร์ทั่วไปภาษาองั กฤษ 652204 (General Medicine)๒. จานวนหนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฎบิ ตั ิ-ศึกษาด้วยตนเอง)๔ หนว่ ยกิต (๒ – ๔ - ๖)๓. หลักสูตรและประเภทของรายวชิ าหลกั สูตร : การแพทย์แผนไทยประยุกตบ์ ัณฑิต สาขาวชิ าการแพทย์แผนไทยประยุกต์ หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔ประเภทของรายวิชา : หมวดวชิ าชีพเฉพาะ กลุม่ วชิ าพน้ื ฐานวิชาชีพ (ค.วิชาวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์หรือคลินิก)๔. คาอธิบายรายวิชา สาเหตกุ ลไกการเกิดโรค พยาธิสรรี วิทยา พยาธสิ ภาพ ลักษณะทางคลินิก หลกั การวนิ ิจฉัยโรค และแนวทางการรักษาเบื้องต้นของโรค ทางอายรุ ศาสตร์ สตู ินรีเวชศาสตร์ ศลั ยศาสตร์ ศลั ยศาสตรอ์ อร์โธปิดิกส์ กุมารเวชศาสตร์ ตจวทิ ยา จักษุ โสต ศอ นาสกิ ลารงิ ซ์วทิ ยาท่ีไมร่ ้ายแรง และหลักการบาบัดทางด้านเวชศาสตร์ฟ้นื ฟู Etiology, pathophysiology, pathology , clinical characteristics , principles of diagnosis andguidelines for initial treatment of the disease in medic obstetrics , gynecology, surgery, orthopedicsurgery, pediatrics, dermatology, ophthalmology, rhino-otolaryngology not serious and principles ofrehabilitation therapy.๕. วัตถปุ ระสงคข์ องรายวิชา ๑. นสิ ติ มีความเข้าใจผู้ปุวย และกลไกการเกิดโรคของผู้ปวุ ยในระบบต่างทางของร่างกาย ๒. นสิ ิตมีความรู้และทักษะด้านแพทย์แผนไทยประยุกตใ์ นการซกั ประวัติ ตรวจร่างกาย และวินิจฉัยโรคของผู้ปวุ ยจาลอง และผู้ปุวยจริงได้๖. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวชิ า นางสาวศุภวรรณ ชัยประกายวรรณ์๗. ภาคการศกึ ษา / ชน้ั ปีทเี่ รยี น ภาคการศึกษาท่ี ๑ / ช้ันปีท่ี ๓ / ปีการศึกษา ๒๕๖๐
๒ มคอ. ๓๘. รายวชิ าที่ต้องเรยี นมาก่อน (pre-requisite) หรอื รายวชิ าท่ีต้องเรียนพร้อมกนั (co-requisite) (ถ้ามี) -๙. สถานทีเ่ รียน - ห้องเรียนชั้น ๓ วทิ ยาลัยการแพทยแ์ ผนไทยอภัยภูเบศร - ศนู ยเ์ รยี นรู้ทางการแพทย์ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศร - อาคารผูป้ วุ ยใน โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภเู บศร๑๐. วันที่จัดทาหรือปรบั ปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลา่ สดุ ๒๓ มถิ ุนายน ๒๕๖๐
๓ มคอ. ๓หมวดที่ ๒ ผลการเรียนรู้ของรายวิชาสรปุ ผลการเรยี นรูข้ องรายวิชาจาก Curriculum Mapping ในแตล่ ะด้าน๑. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ผลการเรยี นรู้ของรายวิชา ๑.๑ แสดงออกซ่งึ พฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรมทีว่ ิญญูชนพงึ มี อาทิ มีวินยั ความรับผดิ ชอบ ความเมตตากรณุ า ความซ่ือสตั ย์สุจริต เสียสละ จิตสานกึ ต่อสังคม และตระหนักในคณุ ค่าของการอนุรกั ษแ์ ละเผยแพร่วัฒนธรรมอนั ดีงามของไทย (๑.๑) ๑.๒ แสดงออกซ่ึงพฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมวิชาชีพสาขาแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ (๑.๒) ๑.๓ สามารถวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ / ปัญหาทว่ั ไปและทางวิชาชพี ท่ีเกยี่ วข้องกบั คุณธรรม และสังเคราะหแ์ นวปฏิบัตทิ เี่ หมาะสม (๑.๓)๒. ความรู้ ผลการเรียนรขู้ องรายวิชา ๑. มีความร้ใู นศาสตร์ท่ีเป็นพ้ืนฐานทาให้เข้าใจตนเอง สงั คม ธรรมชาตแิ วดล้อมและความเป็นมนษุ ย์ท่ีสมบูรณ์อาทิ สงั คมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษา (๒.๑) ๒. มีความรู้ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์พื้นฐาน และศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยตามเกณฑ์มาตรฐานวชิ าชพี สาขาการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ (๒.๒) ๓. มคี วามสามารถในการตดิ ตามงานวจิ ัยและองค์ความรู้ใหม่ (๒.๓)๓. ทักษะทางปัญญา ผลการเรียนรู้ของรายวชิ า ๑. สามารถคน้ หา รวบรวม และประเมนิ ขอ้ มลู แนวคิด และหลกั ฐาน เพ่ือใชใ้ นการแกป้ ัญหา (๓.๑) ๒. สามารถประยุกต์ความรู้และประสบการณเ์ พื่อใชใ้ นการแก้ปญั หา และสังเคราะหแ์ นวทางหรือวธิ ีการเพอ่ืปรับปรุงแก้ไขป้ ัญหาท้งั เรอ่ื งท่ัวไปและด้านวชิ าการ/ วชิ าชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ (๓.๒)๔. ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ ผลการเรยี นรู้ของรายวิชา ๑. มมี นษุ ยสมั พันธ์ทด่ี ีกับผปู้ วุ ย ญาติ และผรู้ ่วมงานโดยตระหนกั ในคุณค่าและความรสู้ กึ ของความเปน็ มนุษย์(๔.๑) ๒. สามารถทางานกลุม่ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ท้ังในฐานะผนู้ าหรือสมาชิกของกลุม่ มคี วามคิดรเิ ริ่มในการวิเคราะห์ปญั หาและมีส่วนชว่ ยและเอือ้ ต่อการแกป้ ญั หาในกลุม่ (๔.๒) ๓. สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผ้นู าในการแก้ปัญหาในสถานการณท์ ่ีไมช่ ดั เจน (๔.๓) ๔. มีความรับผิดชอบในการเรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่อื งเพ่ือพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ (๔.๔)
๔ มคอ. ๓๕. ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการเรียนรูข้ องรายวิชา ๑. สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนคิ ทางสถติ หิ รือคณิตศาสตรท์ เี่ ก่ียวข้องได้อย่างเหมาะสมในการศกึ ษาค้นควา้ และเสนอแนะแนวทางในการแกป้ ญั หา (๕.๑) ๒. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลประมวลผลแปลความหมาย และการนาเสนอข้อมลูสารสนเทศ (๕.๒) ๓. สามารถส่ือสารได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพทงั้ ในการฟงั การพดู การเขยี นรวมทง้ั สามารถเลือกใชร้ ปู แบบของการนาเสนอที่เหมาะสมสาหรับกลมุ่ บคุ คลทแ่ี ตกตา่ งกันได้ (๕.๓)
๑. กาหนดการสอน และแผนการสอน หมวดท่ี ๓ กาหนดการสสปั ดาหท์ ่ี หัวข้อ/รายละเอยี ด จานวน*(ช่ัวโมง) วิธ - - กิจกรรมสัปดาหท์ ่ี ๑ ปฐมนิเทศรายวิชา -บรรย๑๐ ส.ค ๖๐ - แนะนารายวชิ าและคณะอาจารย์ ส่อื ทใ่ี ช้ - รายล ผู้สอน (มคอ. ๓ - ชแ้ี จงการประเมินผล และ test ๒ ๒ กิจกรรม - บรรย blue print สื่อทใี่ ช - แนะนาแหลง่ เรียนรู้ - Powe ๒ กิจกรรม - เปดิ โอกาสใหน้ ักศึกษาร่วมแสดง - แสดง - มอบห ความคดิ เหน็ (ใบงาน ส่อื ทใ่ี ชสัปดาห์ที่ ๑ สาเหตแุ ละกลไกการเกดิ โรค - วิดีทศั จานวน*(ช่วั โมง) วธิ๑๐ ส.ค ๖๐ ๑.๑ ทาความเขา้ ใจสาเหตุและกลไก ของการเกิดโรคในแบบต่างๆสปั ดาห์ที่ ๒ จรรยาบรรณทเ่ี กี่ยวข้องกับวิชาชีพ๑๑ ส.ค ๖๐ (ภาคทดลอง) - การจาลองสถานการณ์สมมุตทิ ่ี เกี่ยวขอ้ งกบั สทิ ธผิ ปู้ ุวย และ จรรยาบรรณของแพทย์สัปดาหท์ ่ี หัวข้อ/รายละเอียด
สอน และแผนการสอน ผลการเรยี นรู้ ผ้สู อน - อ.ศภุ วรรณ ชยั ประกายวรรณ์ ธกี ารสอน/สอ่ืมการเรียนการสอนยายแบบมีส่วนร่วมละเอียดของรายวชิ า๓)มการเรียนการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ นพ.วิชาญ เกดิ วชิ ยัยายแบบมีส่วนรว่ ม อ. ศุภวรรณ ชยั ประกายวรรณ์ช้ ๑.๑/๑.๒/๑.๓/๒.๑/๓.๑/ อ. นภาลัย มากโหนerPoint ๔.๒/๕.๓มการเรยี นการสอน ผ้สู อนงบทบาทสมมติ ผลการเรียนรู้**หมายงานนท่ี ๒)ช้ ศน์ ธีการสอน/สอ่ื
๑สปั ดาห์ที่ ๒ พยาธิสภาพ ๒ ๒ กิจกรรม๑๗ ส.ค ๖๐ ๒.๑.ทาความเข้าใจเร่ืองพยาธิ - อภิปร - มอบห สรรี วทิ ยา และลกั ษณะทางคลนิ ิกของ (ใบงาน กล่มุ โรคตา่ งๆ ส่อื ทใ่ี ช - Poweสัปดาห์ท่ี ๒ ทบทวนความเขา้ ใจเร่อื งพยาธสิ ภาพ๑๘ ส.ค ๖๐ (แบง่ กลุ่มทดลองซักประวัติ จากโจทย์ ๒ กจิ กรรม - อภิปร ปัญหา และผู้ปวุ ยจาลอง) - มอบห (ใบงานสปั ดาห์ท่ี ๓ กลมุ่ โรคทางอายุรศาสตร์ ๒ ส่อื ท่ีใช๒๔ ส.ค ๖๐ - ระบบหวั ใจและหลอดเลือด - บคุ คล - ระบบหายใจ ๒ กจิ กรรม - โรคตดิ เชือ้ ตา่ งๆ - บรรย ๓.๑ เรยี นรู้สาเหตุและกลไกการเกดิ โรค สื่อที่ใช้ ๓.๒ เรยี นร้พู ยาธิสภาพและลกั ษณะ - Powe ทางคลนิ ิกสัปดาหท์ ี่ หวั ข้อ/รายละเอียด จานวน*(ชั่วโมง) วธิ
มคอ. ๓มการเรยี นการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ นพ.กรณั ย์ พรหมมีรายกลุ่ม ๒.๑/๒.๒/๓.๑/๔.๒/๕.๓หมายงาน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ อ. ศภุ วรรณ ชัยประกายวรรณ์นที่ ๑) อ. นภาลัย มากโหนช้erPoint นพ.สราวุฒิ ธนสมบรู ณพ์ นั ธุ์มการเรยี นการสอน พญ.ชลาลยั คลา้ ยพิมพ์รายกล่มุหมายงานนท่ี ๒)ช้ล (นิสิต)มการเรียนการสอนยายแบบมสี ่วนรว่ มerPointธกี ารสอน/สอ่ื ผลการเรียนรู้** ผสู้ อน
๒ ๓.๓ เรียนร้วู ธิ ีการวนิ ิจฉยั และแนว ๒ กิจกรรม ทางการรักษาเบื้องตน้ - บรรยสปั ดาหท์ ่ี ๓ ทบทวนการซกั ประวัตแิ ละวินจิ ฉัยโรค -สาธิตแ๒๕ ส.ค ๖๐ ในกลุ่มหัวใจและหลอดเลือด (ภาค ทดลอง) ๒ กิจกรรม - บรรยสัปดาห์ที่ ๔ กล่มุ โรคทางอายุรศาสตร์ ๒๓๑ ส.ค ๖๐ - โรคทท่ี าใหก้ ารทางานของระบบไต สอื่ ทีใ่ ช้ - Powe ผดิ ปกติ ๔.๑ เรียนรสู้ าเหตุและกลไกการเกิด โรค ๔.๒ เรยี นรู้พยาธสิ ภาพและลกั ษณะ ทางคลินกิ ๔.๓ เรยี นรวู้ ธิ กี ารวนิ ิจฉัยและแนว ทางการรักษาเบื้องตน้สปั ดาห์ที่ หวั ข้อ/รายละเอียด จานวน*(ชวั่ โมง) วธิ
มคอ. ๓มการเรยี นการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศภุ วรรณ ชัยประกายวรรณ์ยายแบบมสี ่วนร่วม ๓.๒/๔.๒/๔.๓ อ. นภาลัย มากโหน อ. จรัญญา ยอดมานะและสาธติ ย้อนกลับมการเรียนการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ นพ.วรพจน์ เตรยี มตระการผลยายแบบมีส่วนร่วมerPointธกี ารสอน/สอ่ื ผลการเรียนรู้** ผสู้ อน
๓สัปดาห์ที่ ๔ อภปิ รายถงึ วธิ ีการซักประวตั ิ วิธีการ ๒ กิจกรรม ๒๒ - การฝกึ๑ ก.ย ๖๐ แยกโรค รวมถึงวิธีการวนิ ิจฉัยโรค สถานก จานวน*(ชวั่ โมง) สือ่ ทใี่ ช้ ตา่ งๆทีพ่ บได้บ่อยๆ (โรคหัวใจและ - บคุ คล - Powe หลอดเลือด) (ภาคทดลอง) กจิ กรรม - บรรย (แบ่งเปน็ 5 กลมุ่ ให้แตล่ ะกลุ่มไปคดิ - สาธติ สอ่ื ทใี่ ช้ วิธกี ารซักประวตั ิและวิธแี ยกโรคทพ่ี บ - Powe บอ่ ยเป็น mind mapping แลว้ มา วธิ นาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น)สัปดาหท์ ่ี ๕ กลุ่มโรคทางกมุ ารเวชศาสตร์๗ ก.ย ๖๐ - ระบบหวั ใจและหลอดเลือด - ระบบหายใจ - ระบบทางเดินอาหาร ตบั และน้าดี - ระบบทางเดินปัสสาวะ - ระบบประสาท - ระบบเลือดและไขกระดูก - ระบบขอ้ - โรคตดิ เชือ้ ๕.๑ เรียนรู้สาเหตุและกลไกการเกดิ โรค ๕.๒ เรียนรพู้ ยาธิสภาพ และลกั ษณะ ทางคลนิ ิกสัปดาห์ท่ี หวั ข้อ/รายละเอยี ด
มคอ. ๓ อ. ศุภวรรณ ชัยประกายวรรณ์ อ. นภาลยั มากโหนมการเรียนการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑/๔.๒/๕.๓ อ. จรญั ญา ยอดมานะ กปฏบิ ัตใิ นการณจ์ าลองล(อาจารย์)erPointมการเรยี นการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ นพ. อเนก พง่ึ ผลยายแบบมีสว่ นรว่ ม ๓.๒/๔.๒/๔.๓ และสาธิตย้อนกลบัerPointธีการสอน/สอ่ื ผลการเรยี นรู้** ผ้สู อน
๔ กลุ่มโรคทางกุมารเวชศาสตร์ (ต่อ) ๕.๓ เรียนรวู้ ธิ กี ารวินจิ ฉัยและแนว ทางการรักษาเบ้ืองตน้ ทบทวนการซกั ประวตั ิ และ ๒ กิจกรรม วินิจฉัยโรคในระบบทางเดินหายใจ - การฝกึ (ภาคทดลอง) ๒ สถานกสัปดาหท์ ่ี ๕ ทดสอบการซกั ประวตั ิและวินจิ ฉยั โรค จานวน*(ชัว่ โมง) - มอบห๘ ก.ย ๖๐ ในหวั ใจและหลอดเลอื ด (ภาค (ใบงาน ทดลอง) ป สอ่ื ทใ่ี ช้สัปดาห์ท่ี ๖ การซกั ประวัตแิ ละตรวจร่างกาย - บุคคล๑๓ ก.ย ๖๐ ผปู้ ่วยในชมุ ชน (ร่วมกบั นสิ ิตแพทย์) - Powe กจิ กรรมสัปดาห์ท่ี หวั ข้อ/รายละเอียด - การฝึก สถานก - มอบห (ใบงาน วธิ
มคอ. ๓มการเรียนการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศุภวรรณ ชัยประกายวรรณ์ กปฏบิ ัติใน ๓.๒/๔.๒/๔.๓ อ. นภาลยั มากโหนการณ์จาลอง อ. จรัญญา ยอดมานะหมายงานนที่ ๓)ล(นสิ ิต) ๑.๑/๑.๒/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศภุ วรรณ ชยั ประกายวรรณ์erPoint ๓.๒/๔.๑/๔.๒/๔.๓/๔.๔/ อ. นภาลยั มากโหนมการเรยี นการสอน ๕.๒/๕.๓ อ. จรญั ญา ยอดมานะ กปฏบิ ัติใน อ. ภูรชิ ญา อินทร์เนตรการณ์จริง ผลการเรยี นร*ู้ *หมายงาน ผูส้ อนนท่ี ๔) ธกี ารสอน/สอ่ื
๕ สอ่ื ทใ่ี ช้ - บคุ คลสปั ดาห์ที่ ๖ - วีดทิ ัศ๑๔ ก.ย ๖๐สปั ดาห์ที่ ๖ ทดสอบการซักประวัติและวินิจฉยั โรค ๒ กิจกรรม๑๕ ก.ย ๖๐ ในระบบทางเดินหายใจ(ภาคทดลอง) - การฝกึ สถานก - มอบห (ใบงานสัปดาหท์ ี่ ๗ การซักประวัตแิ ละตรวจรา่ งกาย ส่อื ที่ใช้๒๐ ก.ย ๖๐ ผูป้ ว่ ยในชุมชน (ร่วมกับนสิ ิตแพทย์) - บุคคล - Poweสปั ดาหท์ ี่ หวั ข้อ/รายละเอียด ๒ กจิ กรรม - การฝกึ สถานก - มอบห (ใบงาน สื่อท่ใี ช้ - บุคคล จานวน*(ชั่วโมง) วธิ
มคอ. ๓ล(ผูป้ วุ ย)ศน์วันไหว้ครูมการเรยี นการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศภุ วรรณ ชัยประกายวรรณ์ กปฏิบตั ิใน ๓.๒/๔.๒/๔.๓ อ. นภาลยั มากโหนการณ์จาลอง อ. จรญั ญา ยอดมานะหมายงานนท่ี ๕)ล(นิสติ ) ๑.๑/๑.๒/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศภุ วรรณ ชยั ประกายวรรณ์erPoint ๓.๒/๔.๑/๔.๒/๔.๓/๔.๔/ อ. นภาลยั มากโหนมการเรียนการสอน ๕.๒/๕.๓ อ. จรัญญา ยอดมานะ กปฏบิ ตั ิใน อ. ภรู ิชญา อนิ ทร์เนตรการณจ์ ริงหมายงานนท่ี ๖)ล(ผูป้ ุวย) ผลการเรยี นร้*ู * ผ้สู อนธีการสอน/สอ่ื
สปั ดาหท์ ี่ ๗ กลุ่มโรคทางศลั ยศาสตร์ ๖๒๑ ก.ย ๖๐ - โรคท่ที าใหเ้ ลอื ดออกในทางเดิน ๔ ๒ กิจกรรม อาหารปวดท้องอย่างเฉยี บพลัน - บรรย - โรคท่ีทาใหก้ ารทางานของลาไส้ ผิดปกตกิ ้อนในท้อง สอื่ ท่ใี ช้ - โรคที่ทาให้เลือดออกในทางเดิน - Powe อาหารปวดท้องอย่างเฉยี บพลัน - โรคท่ที าใหก้ ารทางานของลาไส้ ๒ กิจกรรม ผดิ ปกตกิ ้อนในท้อง จานวน*(ชั่วโมง) - บรรย - บาดแผล - สาธติ ๖.๑ เรยี นรสู้ าเหตแุ ละกลไกการเกิด สอ่ื ทใี่ ช้ โรค - Powe ๖.๒ เรียนรู้พยาธสิ ภาพและลักษณะ ทางคลินกิ วธิ ๖.๓ เรียนรู้วธิ กี ารวินิจฉยั และแนว ทางการรักษาเบ้ืองต้นสัปดาห์ที่ ๗ ทบทวนการซักประวัติ และ๒๒ ก.ย ๖๐ วนิ จิ ฉยั โรคระบบทางเดินอาหาร (ภาคทดลอง)สปั ดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด
มคอ. ๓ นพ.ศิริพงษ์ ปติ ิพรมการเรียนการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ยายแบบมีสว่ นรว่ มerPointมการเรียนการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศภุ วรรณ ชัยประกายวรรณ์ยายแบบมีสว่ นร่วม ๓.๒/๔.๒/๔.๓ อ. นภาลยั มากโหน อ. จรญั ญา ยอดมานะ และสาธิตย้อนกลบัerPoint ผลการเรียนร*ู้ * ผ้สู อนธีการสอน/สอ่ื
๗สปั ดาห์ท่ี ๘ การซกั ประวัติและตรวจร่างกาย ๒ กจิ กรรม๒๗ ก.ย ๖๐ ผู้ปว่ ยในชมุ ชน (ร่วมกับนิสติ แพทย์) - การฝกึ สถานกสัปดาห์ที่ ๘ กลมุ่ โรคทางอายุรศาสตร์ (ต่อ) ๒ - มอบห๒๘ ก.ย ๖๐ - ระบบประสาท (ใบงาน สอ่ื ทีใ่ ช้ ๘.๑ เรยี นรู้สาเหตุและกลไกการเกิด - บุคคล โรค - อุปกร ๘.๒ เรยี นรพู้ ยาธสิ ภาพและลักษณะ ทางคลินิก ๒ กิจกรรม ๘.๓ เรยี นรวู้ ธิ กี ารวนิ ิจฉยั และแนว - บรรย ทางการรักษาเบ้ืองต้น - สาธิต ส่อื ที่ใช้ - Poweทบทวนการซกั ประวัติ และวินิจฉยั โรคระบบประสาท (ภาคทดลอง)
มคอ. ๓มการเรียนการสอน ๑.๑/๑.๒/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศุภวรรณ ชัยประกายวรรณ์ กปฏบิ ัติใน ๓.๒/๔.๑/๔.๒/๔.๓/๔.๔/ อ. นภาลยั มากโหนการณจ์ รงิ ๕.๒/๕.๓ อ. จรัญญา ยอดมานะหมายงาน อ. ภูรชิ ญา อนิ ทรเ์ นตรนท่ี ๗)ล(ผปู้ ุวย) นพ. มกร ลมิ้ อุดมพรรณต์ รวจสัญญาณชพีมการเรียนการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ยายแบบมสี ว่ นร่วม ๓.๒/๔.๒/๔.๓ และสาธติ ย้อนกลับerPoint
๘สปั ดาหท์ ี่ ๘ ทดสอบการซกั ประวตั ิ และ ๒ กจิ กรรม - การฝกึ๒๙ ก.ย ๖๐ วินิจฉยั โรคระบบทางเดนิ อาหาร สถานก (ภาคทดลอง) สอื่ ที่ใช้สปั ดาห์ที่ ๙ ๒ - บุคคล๕ ต.ค ๖๐ - Powe สัปดาหท์ ี่ กลุม่ โรคทางออรโ์ ธปิดกิ ส์ -อปุ กรณ ๑๐ - โรคกระดกู หักและข้อเคล่ือน และ ๒ กจิ กรรม๑๒ ต.ค ๖๐ การบาดเจบ็ จากกีฬา - บรรย - โรค myofascial pain syndrome สื่อท่ใี ช้ - โรคข้ออกั เสบ ข้อเสื่อม เน้ืองอก - Powe ของกระดูก - โรคของคอ หวั ไหล่ แขน - โรคของหลงั สะโพก ขา เขา่ เท้า ๑๐.๑ เรยี นรู้สาเหตุและกลไกการเกดิ โรค ๑๐.๒ เรยี นร้พู ยาธิสภาพและลกั ษณะ ทางคลินิก
มคอ. ๓มการเรยี นการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศภุ วรรณ ชัยประกายวรรณ์ อ. นภาลยั มากโหนกปฏบิ ตั ใิ น ๓.๒/๔.๒/๔.๓ อ. จรญั ญา ยอดมานะการณจ์ าลองล(นสิ ิต) นพ.อนชุ า เอี่ยมสาอางerPointณต์ รวจสัญญาณชพี สอบกลางภาคมการเรียนการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ยายแบบมีสว่ นรว่ มerPoint
๙สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอยี ด จานวน*(ชวั่ โมง) วธิ กลุม่ โรคทางออร์โธปดิ กิ ส์ (ตอ่ ) วันคลา้ ยวันสวรรคต พร ๒ ๒ กิจกรรม ๑๐.๓ เรยี นร้วู ธิ กี ารวนิ ิจฉัยและแนว - บรรย ทางการรักษาเบ้ืองต้น - สาธติ ส่อื ทใ่ี ช้สัปดาหท์ ี่ - Powe๑๐๑๓ ต.ค ๖๐สัปดาหท์ ่ี กลุ่มโรคทางสูตนิ รีเวชศาสตร์๑๑ - โรคทท่ี าให้เกดิ ความผดิ ปกติของ๑๙ ต.ค ๖๐ ประจาเดือน ๑๑.๑ เรียนรูส้ าเหตแุ ละกลไกการเกดิ โรค กลุ่มโรคทางสูตนิ รีเวชศาสตร์ (ต่อ) ๑๑.๒ เรยี นรู้พยาธสิ ภาพและลกั ษณะ ทางคลนิ กิ ๑๑.๓ เรียนรวู้ ธิ ีการวินจิ ฉยั และแนว ทางการรักษาเบื้องต้น ทบทวนการตรวจร่างกายระบบสตู ินรี เวชศาสตร์สัปดาห์ท่ี หัวข้อ/รายละเอยี ด จานวน*(ชั่วโมง) วิธ
ธีการสอน/สอ่ื มคอ. ๓ ผูส้ อน ผลการเรียนร*ู้ *ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว รัชกาลท่ี ๙ นพ. โอฬารกิ มสุ ิกวงษ์มการเรียนการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ยายแบบมีสว่ นรว่ ม และสาธิตย้อนกลบัerPointธีการสอน/สอ่ื ผลการเรียนรู้** ผสู้ อน
๑๐ สัปดาหท์ ่ี ทดสอบการตรวจรา่ งกายและ ๒ กิจกรรม ๑๑ วนิ จิ ฉยั โรคระบบประสาท (ภาค - บรรย - สาธิต๒๐ ต.ค ๖๐ ทดลอง) สื่อท่ใี ช้ - บคุ คล สัปดาหท์ ่ี ๑๒ วนั ถวายพระเพลงิ พระ๒๖ ต.ค ๖๐ ๒ กจิ กรรม สัปดาห์ท่ี ทบทวนการซักประวัติ และ -การฝึก สถานก ๑๒ วนิ จิ ฉัยโรคระบบกลา้ มเน้อื กระดูก - มอบห๒๗ ต.ค ๖๐ และขอ้ (ภาคทดลอง) สื่อท่ีใช้ - บุคคลสัปดาห์ที่ กลุ่มโรคทางสตู นิ รเี วชศาสตร์ (ต่อ) -อุปกรณ ๑๓ - โรคเนื้องอกในระบบสบื พันธ์ุสตรี ๑๒.๑ เรียนรสู้ าเหตุและกลไกการเกดิ ๒ ๒ กิจกรรม๒ พ.ย ๖๐ โรค - บรรย ๑๒.๒ เรยี นรพู้ ยาธิสภาพและลกั ษณะ - สาธิตสปั ดาหท์ ่ี ทางคลินกิ ส่อื ทใี่ ช้ - Powe หัวข้อ/รายละเอียด จานวน*(ชว่ั โมง) วธิ
มคอ. ๓ อ. ศภุ วรรณ ชัยประกายวรรณ์ อ. นภาลัย มากโหนมการเรียนการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. จรญั ญา ยอดมานะยายแบบมีส่วนร่วม ๓.๒/๔.๒/๔.๓ และสาธิตยอ้ นกลับล(นสิ ติ )ะบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี ๙มการเรียนการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศภุ วรรณ ชยั ประกายวรรณ์ กปฏบิ ตั ใิ น ๓.๒/๔.๒/๔.๓ อ. นภาลัย มากโหนการณจ์ าลอง อ. จรญั ญา ยอดมานะหมายงานล(นิสิต) นพ. โอฬารกิ มุสิกวงษ์ณต์ รวจสญั ญาณชีพมการเรยี นการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ยายแบบมสี ่วนรว่ ม และสาธติ ยอ้ นกลบัerPointธกี ารสอน/สอ่ื ผลการเรียนร*ู้ * ผสู้ อน
สัปดาหท์ ่ี ๑๒.๓ เรียนรู้วธิ ีการวนิ จิ ฉัยและแนว ๑๑ กิจกรรม ๑๓ ทางการรักษาเบ้ืองตน้ ๒ - การฝกึ ทบทวนการตรวจรา่ งกายระบบสูตินรี สถานก๓ พ.ย ๖๐ เวชศาสตร์ (ตอ่ ) - อภปิ ร - มอบห การซักประวัติและตรวจร่างกายในตกึ ผู้ป่วยใน (ภาคทดลอง)สปั ดาห์ท่ี กล่มุ โรคทางอายรุ ศาสตร์ ส่อื ที่ใช้ - Powe๑๔ กลุม่ โรคระบบต่อมไร้ท่อ เลือดและไข -อปุ กรณ ๒ กจิ กรรม๙ พ.ย ๖๐ กระดูก - บรรย - สาธิต - เบาหวาน ส่ือท่ีใช้ - Powe - ไขมนั ในโลหติ สงู จานวน*(ชัว่ โมง) วธิ - โลหติ จาง ๑๒.๑ เรียนร้สู าเหตแุ ละกลไกการเกดิ โรคสัปดาหท์ ี่ หัวข้อ/รายละเอียด
มคอ. ๓มการเรยี นการสอน ๑.๑/๑.๒/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศภุ วรรณ ชัยประกายวรรณ์ กปฏบิ ตั ิใน ๓.๒/๔.๑/๔.๒/๔.๓/๔.๔/ อ. นภาลัย มากโหนการณ์จริง ๕.๒/๕.๓ อ. จรัญญา ยอดมานะรายกลุม่ อ. ภูรชิ ญา อนิ ทร์เนตรหมายงานerPoint นพ.ชาติชาย คลา้ ยสุบรรณณ์ตรวจสัญญาณชีพมการเรียนการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ยายแบบมีสว่ นรว่ ม และสาธติ ย้อนกลบัerPointธีการสอน/สอ่ื ผลการเรยี นร้*ู * ผสู้ อน
๑๒.๒ เรียนรพู้ ยาธสิ ภาพและลักษณะ ๑๒ กจิ กรรม ทางคลนิ ิก ๒ - บรรย ๑๒.๓ เรยี นรู้วธิ กี ารวนิ จิ ฉยั และแนว ๒ - สาธติ ทางการรักษาเบื้องตน้ สอื่ ท่ใี ช้ สัปดาห์ที่ ทดสอบการตรวจรา่ งกายและ - บุคคล ๑๔ วนิ จิ ฉยั โรคระบบกล้ามเน้อื กระดูก กิจกรรม๙ พ.ย ๖๐ และขอ้ (ภาคทดลอง) - การฝึก สถานก สัปดาห์ที่ การซกั ประวัตแิ ละตรวจร่างกายในตึก - อภปิ ร ๑๔ ผูป้ ่วยใน (ภาคทดลอง) นาเสนอ - มอบห๑๐ พ.ย ๖๐ สื่อทีใ่ ช้ - Powe -อปุ กรณสัปดาหท์ ่ี หวั ข้อ/รายละเอียด จานวน*(ช่วั โมง) วธิ
มคอ. ๓มการเรียนการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศุภวรรณ ชัยประกายวรรณ์ยายแบบมสี ว่ นรว่ ม ๓.๒/๔.๒/๔.๓ อ. นภาลัย มากโหน อ. จรัญญา ยอดมานะ และสาธติ ยอ้ นกลบัล(นิสิต) ๑.๑/๑.๒/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศภุ วรรณ ชัยประกายวรรณ์มการเรยี นการสอน ๓.๒/๔.๑/๔.๒/๔.๓/๔.๔/ อ. นภาลยั มากโหน กปฏบิ ัติใน ๕.๒/๕.๓ อ. จรัญญา ยอดมานะการณจ์ ริง อ. ภรู ชิ ญา อนิ ทร์เนตรรายกลุ่มและอหมายงานerPointณ์ตรวจสญั ญาณชพีธีการสอน/สอ่ื ผลการเรยี นร้*ู * ผู้สอน
สปั ดาห์ท่ี กลมุ่ โรคทางตจวทิ ยา ๑๓ กิจกรรม ๑๕ - โรคติดเช้อื ทีผ่ ิวหนัง ผิวหนงั อักเสบ ๒๒ - บรรย๑๖ พ.ย ๖๐ ๑๐.๑ เรยี นรู้สาเหตุและกลไกการเกดิ ๒ สอ่ื ทใ่ี ช้ โรค - Powe ๑๐.๒ เรยี นรู้พยาธิสภาพและลกั ษณะ ทางคลนิ ิก กิจกรรม ๑๐.๓ เรียนรวู้ ธิ ีการวินิจฉยั และแนว - บรรย ทางการรักษาเบื้องตน้ สือ่ ทใี่ ช้ สัปดาหท์ ่ี กลุม่ โรคทางจักษุ - Powe ๑๕ - ความผดิ ปกติของสายตา๑๗ พ.ย ๖๐ - โรคท่ที าใหเ้ กิดการอักเสบของตา ๑๑.๑ เรียนรู้สาเหตุและกลไกการเกดิ โรค ๑๑.๒ เรียนรพู้ ยาธสิ ภาพและลักษณะ ทางคลินิก กลมุ่ โรคทางจักษุ (ต่อ) ๑๑.๓ เรยี นรู้วธิ ีการวนิ ิจฉัยและแนว ทางการสปั ดาหท์ ี่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน*(ช่วั โมง) วธิ
มคอ. ๓ นพ.กรัณย์ พรหมมีมการเรียนการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ พญ.นภิ าภรณ์ มณรี ัตน์ยายแบบมีส่วนร่วมerPointมการเรยี นการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ยายแบบมสี ่วนร่วมerPointธกี ารสอน/สอ่ื ผลการเรยี นร*ู้ * ผู้สอน
๑๔ สปั ดาห์ที่ กลมุ่ โรคทางโสต ศอ นาสกิ ลารงิ ซ์ ๒ กิจกรรม ๑๖ วทิ ยาที่ไม่รา้ ยแรง - บรรย๒๓ พ.ย ๖๐ - โรคท่ีทาใหเ้ กิด otorrhea / สอื่ ท่ใี ช้ hearing loss/ otalgia / vertigo - Powe - โรคท่ที าใหเ้ กิด neck mass / sore throat & infection / hoarsness - โรคท่ีทาใหเ้ กิด nasal obstruction (rhinitis, sinusitis, tumor polyp) / epistaxis กลมุ่ โรคทางโสต ศอ นาสิก ลารงิ ซ์ วิทยาทไ่ี ม่รา้ ยแรง (ต่อ) ๑๒.๒ เรียนรู้พยาธิสภาพและลกั ษณะ ทางคลนิ กิ ๑๒.๓ เรียนร้วู ธิ ีการวนิ จิ ฉยั และแนว ทางการรักษาเบ้ืองต้นสปั ดาหท์ ี่ หัวข้อ/รายละเอยี ด จานวน*(ชวั่ โมง) วธิ
มคอ. ๓ นพ.ภราดร พฒั นะธนงัมการเรยี นการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ยายแบบมีสว่ นร่วมerPointธีการสอน/สอ่ื ผลการเรยี นร้*ู * ผู้สอน
๑๕ สัปดาหท์ ี่ การซักประวัตแิ ละตรวจร่างกายในตึก ๒ กจิ กรรม ๑๖ ผปู้ ว่ ยใน (ภาคทดลอง) - การฝึก สถานก๒๔ พ.ย ๖๐ - อภปิ ร นาเสนอ - มอบห สัปดาห์ท่ี หลักการบาบัดดา้ นเวชศาสตร์ฟ้ืนฟู ๒ สื่อทใ่ี ช้ ๑๗ ๑.๑ เรยี นรูว้ ธิ แี ละหลกั การในการ - Powe -อปุ กรณ๓๐ พ.ย ๖๐ บาบดั ด้านเวชศาสตรฟ์ ้ืนฟู ๒ กจิ กรรม ๑.๒ เรียนรู้กลุม่ โรคท่ีสามารถใช้ - บรรย หลกั การบาบดั ด้านเวชศาสตรฟ์ นื้ ฟูได้ - สาธติ สอื่ ท่ีใช้ - Powe ศึกษาการซักประวตั ิและตรวจ รา่ งกายในตึกผปู้ ว่ ยใน หอผู้ปว่ ย กายภาพบาบดั (ภาคทดลอง)สัปดาห์ท่ี หัวข้อ/รายละเอียด จานวน*(ช่ัวโมง) วธิ
มคอ. ๓มการเรยี นการสอน ๑.๑/๑.๒/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศุภวรรณ ชัยประกายวรรณ์ กปฏบิ ัตใิ น ๓.๒/๔.๑/๔.๒/๔.๓/๔.๔/ อ. นภาลัย มากโหนการณ์จริง ๕.๒/๕.๓ อ. จรญั ญา ยอดมานะรายกลมุ่ และ อ. ภูริชญา อนิ ทรเ์ นตรอหมายงานerPoint พญ.รัชฎา สหวรกลุ ศกั ด์ิณ์ตรวจสญั ญาณชีพ (ทีมนักกายภาพบาบัด)มการเรียนการสอน ๒.๑/๒.๒/๓.๑ยายแบบมีสว่ นรว่ ม และสาธิตย้อนกลับerPointธกี ารสอน/สอ่ื ผลการเรยี นร*ู้ * ผู้สอน
สัปดาห์ที่ ทบทวนทักษะการบาบดั ฟื้นฟูผูป้ ว่ ย ๑๖ กจิ กรรม ๑๗ อัมพฤกษ์ อมั พาต และผ้สู ูงอายุ (ภาค ๒ - อภปิ ร นาเสนอ๑ ธ.ค ๖๐ ทดลอง) - มอบห สอื่ ท่ใี ช้สปั ดาหท์ ี่ - Powe ๑๘ -อปุ กรณ๗ ธ.ค ๖๐๓. จานวนช่ัวโมงต่อสัปดาห์ทีอ่ าจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นสิ ติ
มคอ. ๓มการเรียนการสอน ๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ อ. ศุภวรรณ ชัยประกายวรรณ์รายกลุม่ และ ๓.๒/๔.๒/๔.๓ อ. นภาลัย มากโหนอ อ. จรญั ญา ยอดมานะหมายงานerPointณ์ตรวจสัญญาณชีพสอบปลายภาคตเป็นรายบคุ คล
๑๗ ชอ่ื อาจารยผ์ ูใ้ ห้คาปรกึ ษา สถานท่ีใหค้ าปรึกษา eอ. ศุภวรรณ ชยั ประกายวรรณ์ หอ้ งพักอาจารย์ ชนั้ ๒ e อ. นภาลัย มากโหน อาคารเรยี น ห้องพักอาจารย์ ชั้น ๒ อาคารเรยี น หมวดท่ี ๔ การวัด๑. การวัดผล ผลการเรียนรู้ ว ท่ีสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ วตั ถุประสงค์ ๑.๑/๑.๒/๑.๓/๒.๑/๒.๒/๓.๑/ - การสอบ ๔.๑/๔.๒/๔.๓ - การทดสอบทัก๑. นสิ ิตมคี วามเข้าใจผู้ปุวย - การทดสอบย่อยและกลไกการเกดิ โรคของ - แบบประเมินกาผู้ปวุ ยในระบบตา่ งทางของ - แบบประเมนิ การ่างกาย - การแสดงบทบา - การตรวจช้นิ งา - การสรุปความร๒. นิสติ มคี วามรแู้ ละทักษะ ๒.๑/๒.๒/๓.๑/๓.๒/๔.๑/๔.๒/ - การสอบด้านแพทย์แผนไทยประยุกต์ ๔.๓/๔.๔/๕.๒/๕.๓ - การทดสอบทักในการซักประวตั ิ ตรวจ - การทดสอบย่อยร่างกาย และวินิจฉยั โรคของ - แบบประเมนิ กาผปู้ วุ ยจาลอง และผปู้ วุ ยจรงิ - แบบประเมนิ กา
มคอ. ๓ วนั /เวลาที่ใหค้ าปรึกษา ทุกวันพฤหัสบดี เบอร์โทร/อเี มล์ โทร. ๐๘๖-๘๙๐-๐๗๖๗ เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น.e-mail: [email protected] ทุกวันพฤหสั บดี โทร. ๐๙๔-๙๕๙๔๙๒๑e-mail: [email protected] เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น.ดและประเมินผลวิธีการวัด สดั สว่ น ช่วงเวลา ตลอดเทอมกษะการปฏบิ ตั ิ ๑. ขอ้ สอบย - กลางภาค (MCQ) ๓๕ % ตลอดเทอมารลงชุมชน - ปลายภาค (MCQ) ๓๕ %ารฝกึ ปฏิบัตใิ นตึกผปู้ ุวยใน ๒. ทดสอบทักษะการปฏบิ ัติ ๓๕ %าทสมมติ ๓. ทดสอบยอ่ ย ๒๕ %าน ๔. แบบประเมนิ การลงชุมชน และรู้ แบบประเมนิ การฝึกปฏบิ ัติในตกึ ผูป้ ุวยใน ๒๕ %กษะการปฏบิ ัติ ๑. ขอ้ สอบย - กลางภาค (MCQ) ๓๕ %ารลงชุมชน - ปลายภาค (MCQ) ๓๕ %ารฝึกปฏบิ ัตใิ นตึกผู้ปวุ ยใน ๒. ทดสอบทักษะการปฏบิ ตั ิ ๓๕ % ๓. ทดสอบยอ่ ย ๒๕ %
๑๘ได้ - การตรวจช้นิ งาสรุปองคป์ ระกอบและสดั ส่วนการวดั ผล องคป์ ระกอบการวัดผลภาคทฤษฎีการสอบ- กลางภาค (MCQ)- ปลายภาค (MCQ)ทดสอบย่อย (quiz)ใบรายช่อื นบั จานวนการเขา้ ช้นั เรียน (ภาคทฤษฎี)ภาคปฏิบตั ิแบบประเมินการลงชุมชน และ แบบประเมนิ การฝึกปฏบิ ตั ิในตึกผปู้ ุวยในแบบบันทกึ ผปู้ วุ ยทดสอบทักษะการปฏิบัติ (ซักประวตั )ิใบรายชื่อนบั จานวนการเข้าห้องเรยี น (ภาคปฏิบตั ิ)๒. การประเมนิ ผล ระดบั ขั้น
มคอ. ๓าน ๔. แบบประเมนิ การลงชุมชน และ แบบประเมนิ การฝึกปฏิบตั ิในตึก ผปู้ ุวยใน ๒๕ % สดั สว่ นการวดั ผล ๓๕ % ๓๕ % ๒๕ % ๕% ๒๕ % ๓๐ % ๓๕ % ๑๐ % ช่วงคะแนน
๑๙ A B+ B C+ C D+ D F หมวดท่ี ๕ ทรัพยากรปร๑. ตาราและเอกสารหลกั - นายแพทย์ สุรเกียรติ อาชานุภาพ ตาราการตรวจรกั ษาโรคทวั่ ไป ๑ : แนวทาง พับล่ิชชง่ิ ๒๕๕๑ - นายแพทย์ สุรเกียรติ อาชานภุ าพ ตาราการตรวจรกั ษาโรคทั่วไป ๒ : ๓๕๐ โรค พับล่ิชช่งิ ๒๕๕๓๒. ตาราและเอกสารแนะนา - เพญ็ จนั ท์ สวุ รรณแสง โมไนยพงศ์. คู่มือตรวจผ้ปู วุ ยนอก.โครงการตาราภาควิช พิมพค์ รั้งที่ ๒. มหาวทิ ยาลัยขอนแก่นการพิมพ์ ๒๕๔๑ - สนั ต์ หัตถีรตั น์. ตาราซักประวตั ิและตรวจรา่ งกาย.พิมพ์คร้งั ที่ ๔. กรุงเทพฯ:ห - ออรโ์ ธปิดิกส์ ฉบับเรียบเรียงใหม่ ครง้ั ที่ ๓. กรุงเทพฯ:ภาควิชาออรโ์ ธปดิ กิ ส์ คณ หมวดที่ ๖ การประเมนิ และปรับ
มคอ. ๓ ๘๐ - ๑๐๐ ๗๕ - ๗๙ ๗๐ – ๗๔ ๖๕ – ๖๙ ๖๐ – ๖๔ ๕๕ – ๕๙ ๕๐ – ๕๔ ๐ – ๔๙ระกอบการเรียนการสอนงการตรวจรักษาโรคและการใชย้ า, พิมพ์ครง้ั ท่ี ๔ ฉบบั ปรับปรงุ กรุงเทพฯ:โฮลสิ ติก คกับการดแู ลรกั ษาและการปูองกัน, พิมพค์ ร้งั ที่ ๕ ฉบบั ปรบั ปรุง กรุงเทพฯ:โฮลสิ ติก ชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล,หมอชาวบา้ น, ๒๕๕๒.ณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี, ๒๒๕๐บปรงุ การดาเนนิ การของรายวชิ า
๒๐๑. ปัญหาท่ีพบจากรายวิชาครั้งทผี่ ่านมา-๒. ประเดน็ ทปี่ รับปรุงในครงั้ น้ี- ปรับรูปแบบการฝึกทักษะการตรวจร่างกาย และซักประวัติผู้ปุวย จากกเป็นการฝึกทักษะในตึกผู้ปุวยใน จานวน ๓ ครั้ง และการฝึกทักษะในชจานวน ๓ ครัง้- ปรบั รูปแบบการทบทวนทกั ษะการฟนื้ ฟูผปู้ วุ ยอมั พฤกษ์ อมั พาต เป็นการทกบั ผู้ปุวยจรงิ ที่ตกึ กายภาพบาบดั๓. การทวนสอบกระบวนการจัดการเรยี นรู้- การวพิ ากษข์ อ้ สอบภาคทฤษฎี- การวพิ ากษเ์ กรดอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบวชิ า วันท่ี ....... เดือน..................พ.ศ. ...........ลงช่อื …………………….…………………….. วันท่ี ....... เดือน..................พ.ศ. ........... (................................................ )ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรลงชื่อ …………………….…………………….. (................................................ )
มคอ. ๓การฝึกทักษะในตึกผู้ปุวยใน จานวน ๖ คร้ังชุมชน ร่วมกับวิชา การดูแลแพทย์องค์รวมทบทวนจากผู้ปุวยจาลอง และการฝึกปฏิบัติ
Search
Read the Text Version
- 1 - 47
Pages: