หลกั สตู รอาชีพระยะสนั้ การสานเปลจากเสน้ ปอ โดย นายสจุ ินต์ แช่มชื่น คร ู กศน.ตาบล ศรช.บา้ นเขตป่ ารอยต่อ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั สมบรู ณ์ สานกั งาน กศน. จงั หวดั สระแกว้
สารบญั หนา้ 1 ความเปน็ มาการสานเปลเส้นปอ ๒ ๒ หลกั การ ๓ 7 จุดหมาย 10 โครงสร้างหลกั สูตร 14 ใบความรู้ เรอ่ื งที่ 1 ชอ่ งทางการประกอบอาชพี การ สานเปลเสน้ ปอ 18 ใบความรู้ เรอ่ื งท่ี 2 ทักษะการประกอบอาชพี การ สานเปลเสน้ ปอ ใบความรู้ เรอื่ งท่ี 3 การบรหิ ารจดั การในการ ประกอบอาชีพ ใบความรู้ เรื่องท่ี 4 โครงการประกอบการสานเปล เสน้ ปอ
1 หลกั สตู รการสานเปลเสน้ ปอ จานวน 20 ชว่ั โมง กลมุ่ อาชีพพาณิชยกรรมและบรกิ าร ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอวงั นาเยน็ ความเป็นมา การจัดการศกึ ษาอาชพี ในปจี จุบนั มีความสาคญั มากเพราะจะเป็นการพฒั นาประชากรของประเทศ ให้มีความรู้ความสมารถละทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข็มแข็งให้แก่ เศรษฐกจิ ชุมชน ซ่งึ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์ 2555 ภายใตก้ รอบวลา 2 ปี ท่ีจะ พัฒนา 5 ศกั ยภาพของพน้ื ทใี่ น 5 กลุ่มอาชพี ใหม่ ให้สามารถแขง่ ขันไดใ้ น 5 ภูมภิ าคหลักของโลก \"ร้เู ขา รเู้ รา เทา่ ทนั เพ่ือแขง่ ขันไดใ้ นเวท่โี ลก\" ตลอดจนกาหนดภารกิจท่ีจะยกระดับการจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มศักยภาพและ ขดี ความสามารถ ให้ประชาชนได้มอี าชพี ทีส่ ามารถสร้างรายได้ ท่ีมน่ั คง โดยเน้นการบรู ณาการใหส้ อดคล้องกับ ศกั ยภาพด้านต่าง ๆ มุง่ พฒั นาคนไทยใหไ้ ด้รบั การศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชพี และการมีงานทาอยา่ งมีคุณภาพ ทว่ั ถงึ และเทา่ เทียมกัน ประชาชนมรี ายไดม้ นั่ คง ม่งั คัง่ และมีงานทาอยา่ งย่ังยนื มีความสามารถเชงิ การแข่งขนั ทง้ั ใน ระดับภูมิภาค อาเซยี นและระดบั สากล ซึ่งจะเปน็ การจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ในรูปแบบใหมท่ ส่ี รา้ งความมน่ั คง ใหแ้ ก่ประปาชนและประเทศชาติ สภาพสังคมในปัจจบุ ันมนุษยเ์ ราไดร้ ับผลระพบจากการเปลีย่ นแปลงในด้านต่าง ๆ เช่นดา้ นเศรษฐกจิ การเมอื ง สังคมและสง่ิ แวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรเพม่ิ ขึ้นเร่ือย ๆแตท่ รัพยากรมีนอ้ ยลง จงึ มีความ จาเป็นตอ้ งใช้ทรัพยากรที่มีอยอู่ ย่างจาก็ให้มีความคุ้มคาย่ิงขึน้ โดยฉพาะดนั กรดารงชีพและชวี ิตความเป็นอย่ขู องประาชน นอ จากจะมีกรประกออาชีพเพื่อนการ เล้ียงต้องและครอบครัวแล้วยังมีส่ิงท่ีถือว่าเป็นภาระหนักคืออาหารเพ่ือบริโภคปร ะจาวัน จึงจาเปน็ อย่างย่ิงทีม่ นษุ ย์เราจะตอ้ งสร้างข้นึ หรอื หามาทดแทนโดยวิธกี ารต่าง ๆ เพอ่ื การอยูร่ อด ตาบลตาหลังในมีพื้นท่ีส่วนใหญ่ทาการเกษตร เช่น การทานา ทาไร่และปลูกผัก หลังจากการเก็บเก่ียวผลผลิตทาง การเกษตร มีการ ประกอบอาชีพเสริม เพ่ิมรายได้ให้กับคนในชุมชนตาบลตาหลังในอาเภอวังน้าเย็น เป็นอีกตาบล ท่ี ประชาชนใช้วลวงหลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร โดยการรวมกลุ่มกันประกอบอาชีพเสริม ได้แก่ การสานแปล เส้นปอ ซ่ึงเป็นกรรมวิธีการผลิตจากภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นการนาเอาเส้นปอจาวัสดุเหลือใช้มาทาเป็นเปลจากเส้นปอ มีทด นิคการถักที่ต้องใช้ความอดทน และความละเอียดและ ผู้สานเปลสนปอสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชนได้เป็นอย่างดี ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุนและ ตอบสนองกับความต้องการของประชาชนกลุ่มป้าหมายในพื้นที่ตาบลตาหลงั ใน จึงได้จัด โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรพัฒนาอาชีพ วิชา การสานเปลเส้นปอ จานวน 20 ชั่วโมง ข้ึน เพื่อเป็นการให้ความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาอาชีพให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจในตาบลให้สามารถนาไปประกอบเป็นอาชีพ พัฒนา อาชีพ เพอื่ กอ่ ใหเ้ กิดรายไดก้ บั ตนเองและครอบครวั เปน็ การสร้างอาชีพให้เกดิ ความมน่ั คงต่อไป
2 หลักการ 1.เปน็ หลกั สตู รทน่ี นั้ การจัดการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทา ท่นี นการบรู ณาการเนื้อหาสาระภาค ทฤษฎีควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบัติจริงผู้เรียนสามารถนาความรู้และทักษะไปประกอบอา ชีพได้จริงอย่างมีคุณภาพและมี คณุ ธรรมจริยธรรม 2. เป็นหลกั สตู รท่นี ้นั การดาเนนิ งานร่มเครือข่าย สถานประกอบการ เพอ่ื ประโยชน์ในการประกอบ อาชพี และการศึกษาดูงาน 3.เป็นหลักสูตรที่ผู้เรียนสามารถนาผลการเรียนรู้ไปเทียบโอนข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในรายวชิ าเลอื กของสาระการประกอบอาชีพ 4.เป็นหลักสูตรท่ีน้ันการใช้ศักยภาพ 5 ด้านในการประกอบอาชีพ ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากรภูมิอากาศ ภูมิประ ทศและทาเลทตี่ ้ัง ศิลปวัฒนรรมประพณีและวถิ ีชีวติ และด้านทรพั ยากรมนุษย์ จุดหมาย เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณลกั ษณะดงั น้ี 1. มคี วามรู้และทักษะในการประกอบอาชพี สามารถสร้างรายได้ที่มนั่ คง มง่ั คง่ั 2. ตัดสินใจประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับศักยภาพของตนอง ชุมชน สังคม และส่ิงแวดล้อมอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม 3. มเี จตคตทิ ่ดี ใี นการประกอบอาชพี 4. มคี วามรู้ความขา้ ใจและฝึกทักษะการบรหิ ารจัดการในอาชีพได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 5. มโี ครงการประกอบอาชพี เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นาอาชีพของตนเอง กลุ่มเปา้ หมาย กล่มุ เป้าหมายคือประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายนอกระบบโรงเรยี น 1. ผู้ทไ่ี มม่ อี าชพี 2. ผู้มอี าชพี และตอ้ งการพฒั นาอาชพี ระยะเวลา 20 ช่ัวโมง ทฤษฎี 5 ชว่ั โมง ปฏิบตั ิ 15 ชว่ั โมง โครงสรา้ งหลักสูตร 1.ชอ่ งทางการประกอบอาชพี การการสานเปลเสน้ ปอ (จานวน 1 ช่วั โมง) 1.1 ความสาคัญของการประกอบอาชีพ 1.2 ความเป็นไปไดใ้ นการประกอบอาชพี การสานเปลเส้นปอ 1.3 แหลง่ เรียนรู้ 1.4 การตดั สินใจในการเลือกอาชีพ
3 2.ทักษะการประกอบอาชพี การสานเปลเส้นปอ (จานวน 15 ชวั่ โมง) 2.1 ข้นั เตรียมการประกอบอาชีพการสานเปลเส้นปอ 2.2 การทาแปรรูป จานวน 1 ชนิด 2.3 บรรจุภัณฑข์ นม 3.การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชพี การ (จานวน1 ชัว่ โมง) 3.1 การบรหิ ารจดั การสานเปลเสน้ ปอ 3.2 การจัดการตลาดในการขายเปลเส้นปอ 3.3 การจัดการความเส่ยี ง 3.4 การวางแผนการดาเนนิ งาน 4.โครงการประกอบอาชพี สานแปลเสน้ ปอ (จานวน 1 ช่ัวโมง) 4.1 ความสาคญั ของโครงการประกอบอาชีพสานเปลเส้นปอ 4.2 ประโยชนข์ องโครงการประกอบอาชพี การสานเปลเส้นปอ 4.3 องค์ประกอบในแตล่ ะองคป์ ระกอบของอาชีพสานเปลเส้นปอ 4.4 การเขียนโครงการสานเปลเส้นปอ 4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการ การสานเปลเส้นปอ การจดั กระบวนการเรียนรู้ - ศกึ ษาข้อมูลจากเอสาร/ภมู ิปญั ญา - การศกึ ษาดงู านจากแหลง่ เรยี นรู้ - แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ - ฝึกปฏิบตั ิจริง โครงสรา้ งหลกั สตู ร ที่ เรื่อง จดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ เนอ้ื หา การจัดกระบวนการ จานวนชัว่ โมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ 1 1.ช่องทางการ 1.1 อธบิ ายความสาคัญใน 1.1ความสาคญั ใน 1.1 ความสาคญั ใน 1 - ประกอบอาชีพ การ การประกอบอาชพี การประกอบอาชพี การประกอบอาชพี สานแปลเสน้ ปอ การสานแปลเส้นปอ การสานเปลจากเส้น การสานเปลจากเส้น ได้ ปอ ปอ 1.2 อธิบายความสาคัญใน 1.2ความเป็นไปได้ 1.2 ความเป็นไปได้ การประกอบอาชพี ในการ ประกอบ ในการ ประกอบ การสานแปลจากเส้น อาชีพการสาน อาชีพการสานเปล ปอ ได้แก่ การ เปลจากเส้นปอ จากเส้นปอ
4 ท่ี เรอื่ ง จดุ ประสงค์ การเรียนรู้ เน้อื หา การจดั กระบวนการ จานวนช่วั โมง เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ วางแผนและการ 1.2.2การวางแผน 1.2.1การวางแผน บริหารจัดการหา และการบริหาร และบรหิ ารจดั การ แหลง่ เงนิ ทุนความ จดั การ 1.2.2 แหล่งเงนิ ทุน ตอ้ งการของตลาด 1.2.3 ความตอ้ งการ และการจดั หา และการจัดหาวสั ดุ ของตลาด เงินทนุ อุปกรณ์ได้ 1.2.4ชอ่ งทางการ 1.2.3 ความต้องการ จัดจาหน่าย ของตลาด 1.3ศกึ ษาหาความรู้ จากแหล่ง เรยี นรู้ และเครือข่ายท่ี เก่ียวขอ้ งเครือข่าย กลมุ่ ตะกร้าจาก ซองกาแฟ 1.4การตดั สินใจ เลอื กอาชพี 1.4.1 ความตอ้ งการ ของตลาด 1.4.2 สถาน ประกอบการ เครือข่ายกลมุ่ และ องค์กรตัวอยา่ งท่ี ประสบความสาเรจ็ 2 2. ทกั ษะการ 2.1อธิบายความร้เู บ้ีองต้น 2.1ความรเู้ บ้ีองตน้ วิทยากรอธบิ ายให้ 1 14 ประกอบอาชีพการ เก่ียวกบั การสานเปลจาก เก่ียวกับ การสาน ความรู้เบอี้ งตน้ สานเปลตากเสน้ ปอ เสน้ ปอได้ เปลเสน้ ปอ เก่ยี วกับการสานเปล 2.2สามารถเตรียมวสั ดุใน 2.2การเตรยี มวสั ดุ เสน้ ปอและฝึก การสานเปลจากเสน้ ปอได้ ในการสานเปลจาก ปฎบิ ตั ใิ นการเตรียม 2.3 สามารถออกแบบเปล เสน้ ปอ วสั ดุในการสานเปล จากเส้นปอได้ 2.3การออกแบบ 2.4เขา้ ใจข้นั ตอนการสาน เปล เปลจากเส้นปอได้
5 ท่ี เร่อื ง จดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการ จานวนช่วั โมง เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ 2.5 สามารถนาเสน้ ปอมา ประยุกต์เปน็ ช้นิ งานอน่ื ๆ ได้ เชน่ พรมเช็ด 3 3. การบรหิ าร 3.1สามารถบริหารจดั การ 3.1 บริหารจัดการ วิทยากรให้ความรู้ 2 จัดการในการ อาชพี การสานเปลจากเสน้ อาชีพ การสานเปล เกี่ยวกับ การบรหิ าร ประกอบอาชีพสาน ปอได้ จากเส้นปอ จดั การ การ เปลจากเสน้ ปอ 3.2จดั การการตลาดการ 3.1.1การดูแลรกั ษา แกป้ ญั หาและการ ประชาสัมพนั ธ์และ คณุ ภาพ ของการ จัดการความเสีย่ งใน สง่ เสรมิ การขายและ สานเปลจากเสน้ ปอ อาชพี การสานเปล บรกิ ารได้ 3.1.2การลดต้นทุน จากเส้นปอและให้ 3.3สามรถจดั การความ ในการ ผลติ การสาน ผเู้ รียนนาเสนอผล เสยี่ งในการประกอบ เปลจากเสน้ ปอ การฝึก ปฏบิ ตั ิ เพ่ือ อาชพี การสานเปลจากเส้น 3.1.3 การเพิม่ มูลคา่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปอได้ สินคา้ การออกแบบ กับกลุ่มและวิทยากร การประยุกต์ใช้ ใหค้ าแนะนา 3.2จดั การการตลาด ข้อเสนอแนะ การประชาสมั พันธ์ และการ สง่ เสรมิ การขายและบรกิ าร 3.3จดั การความ เสย่ี ง 3.3.1วิเคราะห์ ศกั ยภาพในการ ประกอบอาชีพการ การสานเปลจากเส้น ปอ 4 4.โครงการ 4.1การเขยี นโครงการแต่ 4.1การเขยี น 4.1จดั ใหผ้ ู้เรียนฝกึ 1 1 ประกอบอาชีพการ ละองค์ประกอบให้ โครงการประกอบ ปฏบิ ัตกิ ารเขียน สรรเปลเสน้ ปอ เหมาะสมและถูกต้อง อาชีพเพอื่ นาไปสู่กา โครงการประกอบ 4.2ตรวจสอบความเป็นไป ราปฏบิ ัตจิ ริง อาชพี ได้ของโครงการประเมนิ
6 ที่ เรื่อง จดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ เนือ้ หา การจดั กระบวนการ จานวนชั่วโมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ โครงการ/ปรบั ปรุง 4.2การตรวจสอบ 4.2กาหนดผูเ้ รยี น โครงการได้ ความเปน็ ไปได้ของ เขียนโครงการอาชพี โครงการ การ ของตนเองและ ประเมนิ โครงการ/ ตรวจสอบความ ปรับปรงุ โครงการ เปน็ ไปได้ของ โครงการ และการ ประเมนิ ความ เหมาะสมและ สอดคล้องของ โครงการอาชีพ 5 15 ส่อื การเรียนรู้ 1.ศึกษาเอกสาร/ใบความรู้ 2.ศกึ ษาจากแหล่งเรยี นรใู้ นชุมชน/วิทยากร/ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ การวดั และประเมินผล 1.การประเมนิ ความรภู้ าคทฤษฎรี ะหว่างเรยี นและจบหลกั สูตร 2.การประเมินผลงานการปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งเรยี นความสาเร็จของการปฏิบตั แิ ละจบหลักสูตร การจบหลักสตู ร 1.มีเวลาเรียน ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2.มีผลการประเมนิ ตลอดหลกั สูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3.มผี ลงานการประเมนิ ทดสอบทม่ี คี ณุ ภาพตามหลกั เกณฑก์ ารสานเปล อย่างน้อย 5 ชนิด เอกสารหลักฐานการศึกษา ประกาศนียบตั รการศกึ ษา ออกโดยศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ การเทียบโอน ผู้เรียนท่ีจบหลักสูตรน้ีสามารถนาไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพรายวิชาเลอื กทสี่ ถานศึกษาได้จัดทาขนึ้ ในระดบั ใดระดบั หนง่ึ
7 ใบความรู้ เรือ่ งท่ี 1 ช่องทางการประกอบอาชีพการสานเปลเส้นปอ 1. ความสาคัญในการประกอบอาชีพ การประกอบอาชพี หมายถงึ การทามาหากนิ ที่เกิดจากกจิ กรรมหรอื บริการใด ๆ ท่กี ่อให้เกิดผลผลิตและรายได้ ซ่ึง เป็นงานประจาท่สี จุ ริต ไม่ผิดศีลธรรม ลักษณะอาชพี แบ่งออกเป็น 1. อาชีพอสิ ระ มลี กั ษณะเป็นเจา้ ของกจิ การ บรหิ ารจดั การด้วยตนเอง อาจเป็นกิจการขนาดเลก็ หรือเป็น อุตสาหกรรมในครัว เรือน อาชีพอสิ ระแยกย่อยออกไปเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี - อาชพี อสิ ระด้านการผลติ การแปรรปู ผลผลติ เป็นสนิ คา้ นาไปจาหนา่ ยในท้องตลาดเปน็ การขายปลกี และขาย ส่ง เชน่ อาหารไทย เบเกอรี่ ผักผลไม้ ผลิตภัณฑ์เปลนอน - อาชพี อิสระด้านการใหบ้ ริการ เปน็ อาชีพที่นิยมกันแพรห่ ลาย เน่อื งจากมีความเส่ียงน้อย การลงทุนต่า เชน่ บริการทาความสะอาด ทานายโชคชะตา บริการซกั รีดเส้ือผ้า ชา่ งซ่อมอนื่ ๆ 2. อาชพี รับจ้าง เปน็ การทางานที่มเี จ้านายมอบหมาย ได้รับคา่ ตอบแทนเป็นเงนิ เชน่ งานก่อสร้าง พนักงานใน บรษิ ทั หา้ งร้าน และโรงงาน 3. อาชพี งานฝีมือ เป็นอาชีพทป่ี ฏิบัติงานโดยใช้ประสบการณแ์ ละความชานาญเฉพาะด้าน เช่น งานศลิ ปะ งาน หัตถกรรม งานประติมากรรม 4. อาชีพขา้ ราชการหรือเจา้ หน้าท่ีของรฐั รวมท้งั พนักงานรัฐวสิ าหกิจ เป็นอาชีพทใี่ ห้บริการแกป่ ระชาชน ประโยชนข์ องอาชีพ มีหลายด้าน ดงั น้ี 1. ดา้ นตนเอง เป็นคนทรี่ ู้คุณค่าของเงิน ใชจ้ ่ายเงนิ อยา่ งประหยดั วางแผนการใชจ้ ่ายเงนิ การเกบ็ ออมเงนิ เพือ่ ความม่ันคงของชีวติ 2. ดา้ นครอบครัว การมีอาชีพจะสรา้ งคุณค่าให้กับตนเองและสมาชิกในครอบครัว เปน็ ตัวอย่างแก่คนในครอบครัว และบุคคลอ่ืน ๆ 3. ดา้ นชมุ ชน เปน็ การสรา้ งรายได้ใหช้ ุมชน ทาใหเ้ ศรษฐกิจชมุ ชนดขี ้ึน ทาใหช้ มุ ชนเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ 4. ดา้ นประเทศชาติ เมื่อประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ รฐั สามารถเก็บภาษจี ากประชาชนได้ สามารถนารายไดจ้ าก การเก็บภาษีไปพัฒนาประเทศในด้านตา่ ง ๆ ได้ 2. ความเปน็ ไปได้ในการประกอบอาชพี อาชีพมีหลายประเภท มีลกั ษณะแตกต่างกัน การเลือกอาชีพต้องพิจารณาจากปจั จัยต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 การวเิ คราะหต์ นเอง 1. ความสนใจ สารวจความถนดั ความสนใจ ตลอดจนประสบการณต์ า่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเองมากท่สี ุด เพ่ือเปน็ แนวทางการเลอื กอาชพี ท่เี หมาะสม 2. วสิ ยั ทศั น์การเป็นคนที่มีความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ และมองการณ์ไกล จะไดเ้ ปรียบในเชิงธุรกจิ มากกวา่ คนอืน่
8 3. ความรู้และทกั ษะในการประกอบอาชีพ หากไม่มคี วามรเู้ พยี งพอ ต้องศึกษาขวนขวายหาความรูเ้ พ่ิมเติม อาจจะ ฝึกอบรมจากสถาบันทใี่ ห้ความรดู้ ้านอาชีพ หรือทางานเปน็ ลูกจ้างคนอ่ืน ๆ หรอื ทดลองปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเองเพ่ือให้มีความรู้ ความ ชานาญ และมปี ระสบการณ์ในการประกอบอาชีพนนั้ ๆ 2.2 การวเิ คราะหต์ ลาด 1. การตลาด เปน็ ปัจจัยทสี่ าคัญมากท่สี ุดปจั จัยหนง่ึ เพราะหากสินค้าและบริการที่ผลติ ข้ึนไมเ่ ปน็ ท่นี ิยมและไม่ สามารถสร้างความพอใจให้แก่ผบู้ ริโภคได้ ก็ถือว่ากระบวนการท้งั ระบบไมป่ ระสบผลสาเรจ็ ดังนน้ั การวางแผนการตลาด ซง่ึ ปัจจบุ ันมกี ารแขง่ ขนั สงู จึงควรได้รับความสนใจในการพัฒนา รวมทั้งต้องรู้และเข้าใจในเทคนิคการผลิต การบรรจุและการ หีบห่อ ตลอดจนการประชาสมั พันธ์ เพ่ือใหส้ นิ ค้าและบริการของเราเปน็ ท่ีนยิ มของลกู ค้ากลมุ่ เป้าหมาย ต่อไป 2. การจัดการ เป็นเรอื่ งของเทคนิคและวธิ ีการ จงึ ตอ้ งรจู้ ักการวางแผนการทางานในเรื่องของตัวบคุ คลที่จะร่วมคิด ร่วมทาและรว่ มทนุ ตลอดจนเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้และกระบวนการทางาน 3. การเลอื กกลุ่มเป้าหมาย เราอาจแบ่งกล่มุ ลกู คา้ โดยแบง่ ตามอายุ ความชอบ เพศ ระดับ การศกึ ษา การเลือก ซอ้ื สนิ คา้ ราคา และรสชาติ เปน็ ตน้ 4. การวิเคราะหล์ ูกค้า 1) เราตอ้ งรู้ความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย 2) รวู้ ตั ถุประสงค์ในการบรโิ ภคสินคา้ 3) รู้ วธิ กี ารตดั สนิ ใจซื้อของลกู ค้า 2.3 การลงทุน/แหลง่ เงนิ ทุน 1. ทรพั ยากรในท้องถน่ิ การสารวจทรัพยากรท่ีมีในท้องถน่ิ ว่าสามารถนามาใช้ในการผลิตสินคา้ ซึ่งจะชว่ ย ประหยดั ตน้ ทุน ค่าใชจ้ ่าย และเป็นการสรา้ งงานให้คนในท้องถ่ิน 2. ทุน เป็นส่ิงท่ีจาเปน็ ปัจจัยพื้นฐานของการประกอบอาชีพใหม่ โดยจะต้องวางแผนและแนวทางการดาเนิน ธรุ กิจไว้ล่วงหนา้ เพ่ือท่ีจะทราบวา่ ตอ้ งใช้เงินทุนประมาณเท่าไร บางอาชีพใช้เงนิ ทุนน้อยปัญหาย่อมมนี ้อย แต่ถ้าเปน็ อาชีพที่ ต้องใชเ้ งินทุนมากจะต้องพิจารณาวา่ มที นุ เพียงพอหรือไม่ซึง่ อาจ เปน็ ปญั หาใหญ่ ถ้าไม่พอจะหาแหลง่ เงินทุนจากที่ใด อาจจะ ไดจ้ ากเงินเก็บออม หรือการกู้ยืมจากธนาคาร หรอื สถาบันการเงนิ อืน่ ๆ อย่างไรกต็ าม ในระยะแรกไม่ควรลงทุนจนหมดเงิน เกบ็ ออมหรือลงทนุ มากเกนิ ไป 3. การประกอบอาชพี จะใชท้ ุนเร่มิ ตน้ เทา่ ไหร่ 3. แหลง่ เรยี นรู้การประกอบอาชพี แหล่งเรียนรู้ หมายถงึ แหลง่ ขอ้ มลู ขา่ วสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ทีส่ นับสนุนส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนใฝเ่ รียน ใฝ่ รู้ แสวงหาความรู้และเรียนร้ดู ้วยตนเองตามอัธยาศยั อยา่ งกว้างขวางและต่อเน่ือง เพ่ือเสริม สรา้ งใหผ้ ูเ้ รียนเกิดกระบวนการ เรียนรู้ และเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้ สาหรับแหลง่ เรียนรู้การประกอบอาชีพกาแฟโบราณ มวี ัตถุประสงคเ์ พอื่ ใหผ้ เู้ รียนไดศ้ ึกษารปู แบบและวธิ ีการขายจาก สถานทจ่ี ริง ไดเ้ ห็นรูปแบบการดาเนนิ กิจกรรมรา้ นกาแฟโบราณ ทม่ี ขี ายในท้องตลาด นอกจากนีก้ ารได้ศึกษาจากผู้ประกอบอาชีพไข่เค็ม ที่ประสบความสาเรจ็ จะทาใหผ้ เู้ รยี นได้รบั การถ่ายทอด ประสบการณ์ อันจะสง่ ผลให้เกิดแนวคิด และแรงบันดาลใจในการสร้างอาชีพ
9 4. ทศิ ทางพัฒนาการประกอบอาชพี กอ่ นการกาหนดทศิ ทางพัฒนาการประกอบอาชพี ใด ๆ กต็ าม ควรพิจารณาอย่างรอบคอบ ซึ่งมีข้อ แนะนาดงั น้ี ประการแรก ควรเลือกอาชีพท่ีชอบหรือคิดว่าถนัด สารวจตัวเองว่าสนใจ อาชีพอะไร ชอบหรือถนัดด้านไหน มี ความสามารถอะไรบ้าง ที่สาคัญคือต้อง การหรืออยากจะประกอบอาชีพอะไร จึงจะเหมาะสมกับตัวเองและครอบครัว กล่าวคอื พิจารณาลกั ษณะงานอาชีพ และพจิ ารณาตัวเอง พร้อมทง้ั บุคคลในครอบครัวประกอบกนั ไปดว้ ย ประการทส่ี อง จะตอ้ งพฒั นาความสามารถของตัวเอง คือ ตอ้ งศกึ ษารายละเอยี ดของอาชีพทจี่ ะเลือกไปประกอบ ถ้า ความรู้ความเขา้ ใจยังมีนอ้ ย มไี มเ่ พียงพอก็ต้องทาการศึกษา ฝกึ อบรม ฝึกปฏบิ ัตเิ พ่มิ เตมิ จากบุคคล หรือหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ให้มี พ้ืนฐานความรู้ความเข้าใจในการเร่ิมประกอบอาชีพท่ีถูกต้อง เพื่อจะได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงของผู้มีประสบการณ์มา กอ่ น จกั ไดเ้ พิ่มโอกาสความสาเร็จสมหวงั ในการไปประกอบอาชพี นนั้ ๆ ประการท่ีสาม พิจารณาองค์ประกอบอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง เช่น ทาเลท่ีต้ังของอาชีพท่ีจะทาไม่ว่าจะเป็นการผลิต การ จาหน่าย หรือการให้บริการก็ตาม สภาพ แวดล้อมผู้ร่วมงาน พ้ืนฐานในการเริ่มทาธุรกิจ เงินทุน โดยเฉพาะเงินทุนต้อง พิจารณาวา่ มีเพยี งพอหรือไมถ่ า้ ไม่พอจะหาแหล่งเงนิ ทุนจากที่ใด
10 ใบความรู้ เรื่องที่ 2 ทกั ษะการประกอบอาชีพการสานเปลเส้นปอ การสานเปลจากเส้นปอ ผูป้ ระกอบการจะทาให้ได้ผลดีต้องขึ้นอยทู่ ่ีการฝึกฝน และการเรียนรู้วธิ ีการทา รู้จักดัดแปลง ตกแต่งรูปแบบชนดิ ตา่ ง ๆ ใหส้ ะดุดตาสะดดุ ใจต่อผู้พบเห็นทาใหเ้ กิดความอยากรับประทาน เม่ือรับ ประทานแล้วจะต้องติดใจ ในรสชาตแิ ละกล่นิ ของอาหาร ประวัติเปลเสน้ ปอหรือเปลญวน วิธกี ารผอ่ นคลายในอากาศเกิดขน้ึ กับชนเผา่ อเมริกาใต้ ไม่ทราบ แตค่ นทมี่ คี วามคิดสรา้ งสรรคเ์ ช่นน้ไี ด้นาส่งิ ต่าง ๆ เข้า มาในชีวติ ของคนสมยั ใหมท่ ีไ่ ด้รบั การพจิ ารณาว่าค้นุ เคยกนั มาหลายร้อยปี ดงั นั้นพวกเขาจงึ คดิ อะไรบางอย่างเชน่ บาสเก็ต บอลสมัยใหม่และลูกบอล เผ่ามายาเรยี กกฬี านีว้ า่ \"pok-ta-pok\" ซง่ึ เกย่ี วขอ้ งกบั การเคลื่อนไหวของร่างกายจักรวาลในอวกาศ ลกู บอลทาจากวัสดยุ างพาราและของเหลวทส่ี กดั ไดจ้ ากพชื ยางเปน็ เวลาคร่งึ ช่วั โมง! ของเหลวถกู กวนและหลังจากนนั้ ประมาณสิบห้านาทีเมื่อมันปรากฏตัวทีส่ อดคล้องกนั หนาลูกถูกป้ันข้นึ มาจากมันCanoes and scuba, snowshoe และ moccasins, thermoses, เค้ียวหมากฝร่ัง, ขา้ วโพดคัว่ เค็มและช็อคโกแลต, เส้ือผา้ เขม็ และลายพราง ... ชนเผา่ อเมริกาใต้ แสดงใหโ้ ลกเหน็ วา่ จะดืม่ กาแฟอยา่ งไร, ปลกู มะเขือเทศ, พรกิ ไทย, ยาสบู , ถวั่ ลิสง, ขา้ วโพด ดอกทานตะวันดอกวานิลลาและ ผลติ ภัณฑเ์ ซรามกิ ทม่ี ชี ่อื เสียงระดับโลกการทอผ้าและเคร่ืองประดับมีมลู ค่าสงู พอสมควร และนไ่ี มใ่ ช่รายการทั้งหมดของ สงิ่ ประดิษฐ์ของพวกเขาเปลญวนเป็นอกี หนง่ึ สิง่ ประดิษฐท์ ี่มีประโยชน์ของชาวอินเดียซงึ่ ปรากฏขึ้นเกือบพนั ปีมาแล้ว พวกเขา สร้างสถานท่นี อนท่ไี ม่เหมือนใครด้วยความช่วยเหลอื ของเปลือกไม้ท่เี รยี กว่า hamak ซ่งึ ต่อมาได้กลายเปน็ พื้นฐานสาหรบั เปล ญวนช่ือทนั สมยั ชาวอนิ เดียเช่ือว่าเตยี งทยี่ อดเย่ียมนเ้ี หมาะสาหรบั การต่อสู้กับความเปียกชน้ื ในเวลากลางคืนและยงั มคี นทีน่ า่ ราคาญอีกทั้งยังสะดวกต่อการขนส่ง เม่ือเวลาผ่านไปอุปกรณ์ที่ไมร่ จู้ กั แพร่กระจายในอเมรกิ ากลางและอเมริกาใต้และหยัง่ ราก ในชวี ิตของชนเผ่ากลายเปน็ องคป์ ระกอบสาคญั ของชีวิต ชาวโบราณของอเมริกาเกือบจะใชช้ ีวติ อยใู่ นเปลญวนดังนั้นรายการ ของวสั ดจุ ึงถูกเตมิ เตม็ อย่างรวดเร็วเพยี งพอ: มเี ปลญวนท่ที อด้วยความช่วยเหลอื ของเชอื กฝา้ ยทแี่ ขง็ แกร่งและสถานท่ีนอน หลับทที่ าจากผ้าแขง็ นอกเหนือจากชนเผ่าอเมรกิ าใตแ้ ล้วผู้ย้ายถิน่ ดงั้ เดิมจากโลกเก่าและลูกเรืออนมุ ตั ิเปลญวน: เปลญวนไม่ไดใ้ ช้พืน้ ที่มากและ อนุญาตให้คณุ นอนหลบั สบายในระหวา่ งการเดินป่า เปน็ ผลใหเ้ ตยี งมหัศจรรยเ์ กิดขึน้ ในประเทศยุโรปเปน็ ของทร่ี ะลึกแปลก ใหม่และองคป์ ระกอบตกแต่งท่ีใช้ในการนอนหลับระยะสั้น โคลัมบัสเดนิ ทางกลับยุโรปจาก \"โลกใหม่\" จบั เปลญวนสกั สองสาม ชิ้นกับเขา วันน้เี ปลญวนไมไ่ ด้เป็นเพียงองค์ประกอบของการตกแต่ง แต่ยงั เปน็ หนงึ่ ในคณุ สมบัติท่จี าเปน็ ของฤดูร้อน เตยี งวิเศษเหลา่ นี้ เกอื บทกุ ที่ทัง้ ในสวนและในเตา ไม่ได้มีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกันเพยี งอยา่ งเดียวของสถานท่ีพกั ผ่อนท่ีถูกระงับสามารถท่ีจะผ่อน คลายกลา้ มเน้ือด้านหลังเอวไหลแ่ ละคอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรอื่ งนีเ้ ป็นที่รูจ้ ักกันโดยชาวเมอื งในฤดรู อ้ นซ่ึงสามารถนอนลงได้ หนึง่ นาทเี พ่ือฟ้ืนฟสู มดลุ ของพลงั
11 เป็นไปได้ทจี่ ะซื้อสงิ่ ประดษิ ฐข์ องมายาโบราณในซปุ เปอรม์ ารเ์ กต็ อาคารเกือบทุกแห่ง แต่ก็เป็นที่น่าพอใจมากที่จะได้พักผ่อน ในเปลญวนท่ีทาด้วยมือของคุณเอง! นอกจากน้กี ารผลิตใช้เวลาไม่นานและไม่ตอ้ งการทักษะเฉพาะ สิ่งเดียวที่คุณต้องการคือ: เวลาว่างสองสามชั่วโมงวสั ดุท่ีจาเป็น ความร้นู ้อยท่ีสุดในการตัดเยบ็ และเป็นผลให้คณุ สามารถใชเ้ วลายามเยน็ สบายน่งั อ่านหนงั สือเล่มโปรดในเปลญวน “ เตยี ง” ดังกลา่ วสามารถทาท่ีบ้านไดด้ ้วยความช่วยเหลือจากการทอแบบดั้งเดิมผา้ ไม้เพม่ิ แถบหรือการตกแต่งท่สี ดใสเป็น พิเศษและคณุ ยงั สามารถเลือกสแี ละวสั ดทุ ี่คณุ ชอบ ดังน้ันน่คี ือคาแนะนาทีละข้นั ตอนเกีย่ วกับวธิ ีการทาเปลญวนทส่ี มบรู ณ์ แบบของคณุ ซ่งึ จะโปรดคณุ มากกวา่ หน่งึ ฤดูร้อน
12 ใบความรู้ การสานเปลเส้นปอ วสั ด/ุ อปุ กรณ์ 1.เศษผา้ หรือ/เชอื กเส้นปอสานเปล 2.หูเปล 3.ไม้ถัดเปล/ไม้ระแนง
13 วธิ กี ารและขนั ตอนการสานเปลเส้นปอ 1.นาเศษวัสดุเสน้ ปอทเี่ หลือใช้ทีเ่ ปน็ เส้นๆ มาแยกเป็นสๆี 2.นาเศษวัสดุเสน้ ปอมาแยกม้วนไวเ้ ปน็ แต่ละสๆี ตามความหนาของเส้นปอ 3.เตรยี มเศษไม้ที่ใช้ยาวประมาณ 1 เมตร มาตีตะปู โดยมีความกว้างของตะปู 2 ดอกหา่ งกัน 30 ฟตุ 4.นาวัสดผุ า้ ท่เี ตรียมไว้สาหรับทาหเู ปลมาพันกับตะปูท้ังหมด 7 รอบ 5.นาเศษวสั ดุมาสานเป็นบวงไขว้กันลกั ษณะคลา้ ยเปียใหม้ ีความยาว 10 นิว้ จงึ นาปลายทั้ง 2 ข้าง ผูกเขา้ กันให้เป็นหว่ ง วงรี จึงได้หเู ปลจานวน 14 หู โดยทาตอนท่ี 5 อีก 1 รอบ จงึ จะสน้ ปอได้หูเปล 2 ข้าง 6.นาหเู ปลทีเ่ ตรียมไวท้ าตามข้ันตอนท่ี 5 มาสานขน้ึ ตน้ ดว้ ยเศษวสั ดุเท่ีเตรียมไว้ในขัน้ ตอนท่ี 2 โดยเก็บหูไว้ 2 อันจะเหลือ หู 12 อัน เรม่ิ ถักหูแรกโดยข้ึนตน้ สอดเส้นปอลักษณะเงื่อนพิรอด ถกั ต่อไปเล่ือยๆจนครบ 12 หู (ครบ 1 แถว) 7.นาเศษวสั ดุเสน้ ปออกี 1 สีทเ่ี ตรียมไว้โดยผกู กบั หแู รก แถวที่ 1 แล้วนามาถักเป็นเง่ือนพริ อดกับแถวท่ี 1 ถกั ไปเรื่อย ๆ จนครบ 12 ชอ่ งจะได้แถวที่ 2 8.ทาตามวธิ ีตามข้ันตอนที่ 6 และขัน้ ตอนที่ 7 สลบั สีกนั ไปมาทงั้ สอองสเี รื่อย ๆ จนครบ 14 แถว 9.นาหูท่เี หลืออีกข้างมาผูกกบั ตน้ เสาเพอ่ื ทาการตอ่ เปลท่ีถักเสรจ็ แลว้ 14 แถว นาปลายวัสดเุ สน้ ปอจากแถว ท่ี 14 แถว นาปลายวัสดเุ ศษเส้นปอจากแถวท่ี 14 มาถักต่อหูทเี่ ตรียมไวโ้ ดยถักสลบั ฟนั ปลากันไปมาเหมือนถกั เปลตาม ขน้ั ตอนที่ 5 และขนั้ ตอนท่ี 7 จนไปสดุ แถว (แถวท่ี 15) 10.นาปลายผา้ ทีถ่ กั เสร็จแถวที่ 15 แต่ละข้างใหส้ อดบวงดา้ นขา้ งไปจนสดุ หเู ปลอีกดา้ น เพอื่ ใชป้ รับความลึกชื้นของเปล นอนดงั กลา่ ว (จึงไดเ้ ปลอีก 1 อนั )
14 ใบความรู้ เรอ่ื งที่ 3 การบริหารจัดการในการประกอบอาชพี 1. การเลอื กทาเลทตี่ งั รา้ น 1.1 ความสาคญั ของการเลอื กที่ตงั การตัดสินใจเลือกทาเลที่ต้ังเป็นการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์เนื่องจากมีผลกระทบต่อธุรกิจในระยะยาวโดยเฉพาะต่อ ความได้เปรยี บในเชิงแข่งขนั ทางธุรกิจและจะมผี ลต่อความสาเร็จของธุรกิจ ซงึ่ ผปู้ ระกอบการต้องพิจารณาถึงกลยทุ ธ์ทตี่ ั้งของ ธุรกิจที่มคี วามสาคัญตอ่ การดาเนนิ งาน 2 กลยุทธ์สาคญั ได้แก่ 1. กลยุทธ์ทต่ี งั ตามพืนท่ี เปน็ แนวทางในการกาหนดให้ ท่ตี ง้ั แต่ละแห่งรับผดิ ชอบพน้ื ทแ่ี ตล่ ะสว่ นโดยต้องผลิตสินค้า และบรกิ ารทกุ อย่างสาหรบั พนื้ ทน่ี ้นั ๆ ซง่ึ ธุรกิจท่เี ลือกใชก้ ลยทุ ธท์ ่ีต้ังตามพน้ื ที่มกั เปน็ ธรุ กจิ คา้ ปลีก หรือบรกิ าร 2. กลยุทธ์ท่ีตังตามผลิตภัณฑ์ เป็นแนวทางในการกาหนดให้ท่ีตั้งหนึ่งแห่งทาการผลิตสินค้าเพียงหน่ึงอย่าง โดยยึด หลักของความสาคญั ของวัตถดุ บิ ทม่ี ใี นพ้ืนที่ 1.2 หลกั เกณฑ์ในการเลอื กทาเลทตี่ งั การตัดสินใจเลือกทาเลที่ต้ังเป็นกระบวนการที่มีความสลับซับซ้อนมากข้ึน เม่ือโลกก้าวเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ อีกท้ั ง ธรุ กิจขนาดยอ่ มจานวนมากได้มีการเติบโตขนึ้ และได้พัฒนาไปอย่างรวดเรว็ ดงั นน้ั ผปู้ ระกอบการควรพจิ ารณาถึงความจาเป็น ท่ีมีลักษณะเฉพาะเจาะจงสาหรับกิจการควบคู่กนั ไปในแตล่ ะสถานการณ์ ดังน้ี 1. ความพึงพอใจส่วนบุคคล โดยท่ีผู้ประกอบการส่วนหนึ่งมักจะพิจารณาตั้งกิจการของตนเองในชุมชนที่ตนอาศัย อยู่เป็นทาเลในการประกอบการ อย่างไรก็ตามในแง่ของการดาเนินธุรกิจไม่ได้หมายความว่าจะมีเพียงพื้นท่ีซ่ึงตนเองมีความ เคยชินเท่าน้ันท่ีเหมาะสมต่อการตั้งกิจการ เพราะผปู้ ระกอบการธรุ กจิ สามารถใชป้ ระโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ จากสิ่งเหล่านี้ได้ ไม่ ว่าจะเป็นในด้านภาพลักษณ์ส่วนตัว การได้รับความเช่ือถือ หรือการยอมรับจากสังคม และอาศัยประโยชน์จากความคุ้นเคย ความสามารถในการอา้ งองิ กบั บุคคลตา่ ง ๆ ภายในชมุ ชนที่เกีย่ วขอ้ งกับกจิ การของตนมากขนึ้ 2. ความไดเ้ ปรยี บดา้ นต้นทนุ โดยเฉพาะคา่ แรงหรือคา่ วตั ถดุ ิบในพน้ื ท่ี ทม่ี ีต้นทนุ ในการดาเนนิ ธุรกจิ ตา่ ซ่งึ สง่ิ เหลา่ น้ี สะทอ้ นถึงค่าใช้จา่ ยในการลงทุนในช่วงเริม่ ต้นของกจิ การ ที่จะช่วยลดตน้ ทุนการผลติ ให้ต่าลง 3. ความสามารถในการจัดการทรัพยากร เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานทั้งในระยะส้ันและ ระยะยาว เนื่องจากทักษะ ประสบการณ์ของแรงงานจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับผลิตผลและคุณภาพในกระบวนการผลิต ของผลิตภัณฑ์ ความยั่งยืนของแรงงานในท้องถิ่นมีผลกระทบต่ออัตราค่าจ้าง ซ่ึงถือเป็นต้นทุนท่ีสาคัญ ซ่ึงผู้ประกอบการ จะตอ้ งคานงึ ถงึ อยู่เสมอ อกี ทั้งแหล่งทตี่ ง้ั ต้องมีความใกล้ชิดกับวตั ถดุ บิ และความสามารถในการขนสง่ ทีธ่ ุรกิจต้องมกี ารบริหาร จดั การอย่างมปี ระสิทธิภาพ 4. การเข้าถึงลูกค้า ธุรกิจขนาดย่อมยุคปัจจุบันต้องให้ความสาคัญผันแปรแหล่งท่ีต้ังของธุรกิจไปตามประเภทของ กิจการ เช่น ธุรกิจค้าปลีกและบริการ ต้องมีรายละเอียดของสถานที่แสดงสินค้า บริการและรูปแบบ ดังนั้น การเลือกทาเล ท่ีตั้งต้องใกลช้ ิดกบั ลูกคา้ และอานวยความสะดวกต่อการเข้ามาตดิ ต่อ และถือเป็นปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ ความสาเรจ็ ของกิจการ
15 ดงั น้นั ในข้นั ตอนแรกของเกณฑ์การเลือกทาเลท่ีตง้ั ผปู้ ระกอบการตอ้ งตัดสนิ ใจก่อนวา่ จะเลือกดาเนนิ ธุรกจิ ในชุมชน หมายถึง จังหวัดหรืออาเภอ แล้วจึงทาการตัดสินใจขั้นสุดท้าย คือ การเลือกบริเวณที่ต้ังจากหลาย ๆ พื้นที่ภายในชุมชน ซึ่ง เปน็ การระบถุ ึงตาแหน่งของทตี่ งั้ อยา่ งละเอียด 2. การจัดและตกแตง่ หน้าร้าน ส่วนใหญร่ ้านขายสินค้ามกั จะมผี ู้ขาย ซ่งึ เป็นเจ้าของกิจการเอง หรือบางรา้ นอาจมีการจ้างพนกั งานขายของโดยเฉพาะเพ่ือทาหนา้ ที่ เอาใจใสค่ อยแนะนาใหค้ าอธิบายตา่ ง ๆ แก่ลูกค้า หากเป็นรา้ นขนาดใหญม่ สี ินค้าหลายชนิดย่อมทาใหต้ ้องมีพนักงานขายจานวนมาก การจัดตกแต่งร้านค้า มีความสาคัญต้องคานงึ ถึงสิง่ ต่อไปนี 1. แสงสว่างภายในร้าน ควรจัดร้านให้มีความสวา่ งท่ัวทง้ั ร้านจากแสงไฟฟ้าทรี่ ้านได้ติดเอาไว้ แสงสวา่ งธรรมชาตมิ กั ไม่เพียงพอและ แสงแดดมักทาความเสียหายให้แก่สนิ ค้า การใช้แสงไฟฟ้าแม้จะมคี ่าใชจ้ า่ ยสงู แตก่ ็จูงใจลกู ค้าให้เข้ามาซ้ือสินค้าได้มากกว่าร้านทด่ี ูมืดสลวั มุม หอ้ งมืดๆ ก่อนตดั สนิ ใจเรอื่ งแสงสว่างควรรู้ว่าค่าไฟฟ้าจะเป็นสักเท่าใด และใช้ไฟฟา้ กดี่ วงถึงจะค้มุ คา่ กบั การขายสนิ คา้ ด้วย 2. การตกแต่งสีภายนอกและภายในร้าน นอกจากการทาสีรา้ นค้าให้สดใสสว่าง สวยงามแล้ว สีของหบี ห่อและตวั สินค้าก็ สามารถนามาตกแตง่ ให้รา้ นคา้ ดูดีขึ้นจะต้องให้ผคู้ นเหน็ สนิ คา้ ชัดเจนและสวยงาม 3. การจัดหมวดหม่ขู องขนม ขนมทีม่ ลี ักษณะใกลเ้ คียงกนั หรือของท่ีใชร้ ับประทานร่วมกันจะต้องจัดวางไวด้ ้วยกัน 4. การติดปา้ ยราคาสนิ คา้ การติดป้ายบอกราคาใหช้ ัดเจนพอทีล่ ูกคา้ จะอา่ นได้ เปน็ การให้ความสะดวกกบั ลกู ค้าในการตัดสินใจ การจดั วางสินค้า มีความสาคัญต่อการจูงใจลกู ค้าให้เลือกซ้ือสินค้า เพอื่ ให้สะดวกและเกิดความพึงพอใจควรคานึงถึงสิ่งต่อไปน้ี 1. ความพงึ พอใจของลูกค้า 2. จัดสนิ คา้ ไว้ในบริเวณทเี่ ราจะขาย 3. จัดสนิ ค้าไวใ้ นระดบั สายตาให้มากทสี่ ดุ 4. จดั สินค้าดา้ นหนา้ บนช้ันให้เต็มอยู่เสมอ 5. ชน้ั ปรบั ระดบั ได้ตามขนาดของสนิ คา้ จะเปน็ การดี 6. การใช้กลอ่ งหนนุ สินคา้ ใหด้ งู ดงามแม้จะมีสนิ ค้าไม่มากนกั 7. ความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย 8. สินค้ามาก่อนต้องขายก่อน เราต้องขายสินคา้ เกา่ ก่อนสินค้าใหม่เสมอพยายามวางสินคา้ มาก่อนไว้แถวหน้าเสมอ ควรทาสินคา้ ทมี่ ากอ่ นใหด้ ูสดใสสะอาดเหมือนสนิ คา้ ใหม่ 3. การคดิ ราคาต้นทนุ และการวิเคราะห์จดุ คมุ้ ทุน 3.1 การคิดราคาตน้ ทนุ 1. ราคาวัตถดุ บิ ทัง้ หมด 2. 35 - 50 % ของราคาวตั ถุดบิ เปน็ ค่าแรงและเช้อื เพลิง (แลว้ แตค่ วามยากงา่ ย และขั้นตอนในการทา) 3. 10% ของราคาวัตถดุ ิบรวมกับค่าแรงและเชอื้ เพลิง เปน็ คา่ เสียหายอน่ื ๆ (ของเหลือ ของท้งิ ) นา 1 + 2 + 3 เท่ากบั ตน้ ทุนสุทธิ การคิดกาไร การคิดกาไรตามหลักการทาธรุ กิจ สว่ นใหญ่ควรบวกกาไรท่ี 30 - 40 % จากราคาตน้ ทุนสุทธิ 3.2 การวิเคราะหจ์ ดุ คมุ้ ทนุ
16 ในการประกอบธรุ กิจ จะตอ้ งคานงึ ถึงระยะเวลาในการคนื ทนุ โดยสามารถคานวณได้จาก ระยะเวลาคนื ทนุ = เงินลงทุน หาร กาไรสทุ ธิตอ่ เดอื น = 5,000 / 1,000 = 5 เดอื นจงึ จะคืนทนุ 4. การขาย การขาย คือ กระบวนการทั้งทางตรงและทางอ้อมของการจูงใจให้ผซู้ อื้ สินค้า หรือบริการยินยอมกระทาสงิ่ ใดส่ิง หนึง่ ซงึ่ จะทาให้เกิดประโยชน์ทางด้านการคา้ แกผ่ ู้ขาย เมื่อผูผ้ ลิตสนิ คา้ ไปสู่ผ้บู รโิ ภค มีสง่ิ ทคี่ วรพิจารณา ดงั นี้ 1. การหาตลาด ควรคานึงถึงความต้องการของตลาดว่า มีมากน้อยเพียงใด โดยใช้วิธีสังเกต สอบถามกับคน รู้จัก เพ่ือนบ้าน และผู้ซื้อ กระแสการบริโภคของลูกค้านิยมวุ้นรสชาติแบบไหน รูปแบบของวุ้นให้มีลักษณะโดดเด่นอย่างไร ตอ้ งการซอ้ื เปน็ ของขวัญของฝากหรือรับประทานในครอบครวั ตลาดควรเปน็ ตลาดทีม่ ีการซ้ือขายอย่างต่อเนื่อง เช่น ตลาด นดั ตลาดคลองถม เป็นตน้ ท้งั นีเ้ พื่อจะได้ตรงตามความต้องการของตลาด 2. วธิ ีการจาหนา่ ย เมื่อผผู้ ลิตลงทนุ ผลติ สินค้าข้ึนมา ก็เพ่ือนาสนิ ค้าออกสู่ตลาด ถ้าผู้ผลิตสามารถเลือกช่องทาง ลทู่ างจาหน่ายสินค้าได้อย่างถูกต้อง สินคา้ ก็จะเข้าถึงลูกค้าได้ง่าย ซ่งึ อาจเปน็ การจาหน่ายจากผูผ้ ลิตถึงลูกค้าโดยตรงดว้ ยการ จัดหาสถานท่ีสาหรับจาหน่ายสินค้า ท่ีเป็นหลักแหล่ง มีการจัดวางสินค้าที่สามารถนาเสนอสินค้าให้ดูสวยงามหรือเป็นผู้ผลิต ให้พ่อคา้ คนกลางมารับซอ้ื ไปขายใหก้ ับผูบ้ ริโภคอีกตอ่ หน่งึ เพอ่ื จาหนา่ ยสินค้าได้อยา่ งทว่ั ถงึ 3. การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ถือเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้ผู้ซ้ือหรือลูกค้ารู้จัก เกิดความต้องการท่ีจะซ้ือ เป็น วิธีการโน้มน้าวผ้ซู ื้อท่ีสาคัญ การโฆษณาประชาสัมพันธ์มีหลายวิธี เช่น ใช้วิธีบอกปากต่อปาก การจัดกิจกรรมประชาสัมพนั ธ์ สินค้า การออกร้านตามงานเทศกาลต่าง ๆ ของอาเภอหรือจังหวัด การประชาสัมพันธ์ผ่านอินเตอร์เน็ต โดยส่ิงท่ีเป็นการ ช่วยประชาสัมพันธ์อยา่ งหน่ึง กค็ อื คุณภาพสินค้า เม่อื ผ้ซู ้ือหรอื ลูกค้าได้ซื้อสินค้าไปรบั ประทาน มีรสชาติดี มคี ณุ ภาพ ราคา ย่อมเยา จะเปน็ การช่วยประชาสมั พนั ธไ์ ปเอง 5. การสง่ เสริมการขาย วัตถปุ ระสงคส์ าคัญในการจัดทาการสง่ เสริมการขายนน้ั ก็เพื่อ เปน็ การกระตุ้นยอดขายของกจิ การ และ การแนะนา สินค้าสู่ลูกค้า ทั้งน้ียังสืบเนื่องกับ ความพึงพอใจท่ีดีของลูกค้า ในการบริโภคหรืออุปโภคสินค้า เพื่อการสร้างเครือข่ายความ เป็นไปได้ ในการเลอื กบรโิ ภคหรอื อุปโภคสนิ คา้ น้ัน ๆ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ประกอบกบั การแนะนาสนิ ค้าโดยอาศยั ช่องทางแบบปาก ตอ่ ปากหรอื เพ่ือนส่เู พ่ือนตอ่ ไป สรปุ \"การสง่ เสริมการขายคือการสนบั สนุนการสร้างราคาสินคา้ เฉพาะเจาะจง/การสรา้ งมูลค่าตราสนิ ค้า กลยุทธ์ส่งเสริมการขายท่ีนิยมนามาใช้ในการทาตลาดในปัจจุบันมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ ผู้ประกอบการ ซึ่งผู้ประกอบการสามารถเลือกนามาใช้ให้เหมาะกับสินค้า เช่น การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ลูกค้าโดยตรง เพ่ือ ต้องการให้ลูกค้าซื้อสินค้ามากข้ึน ผู้ประกอบการก็อาจเลือกใช้วิธีการให้ชิมสินค้า การแจกของตัวอย่าง การให้คูปอง ฯลฯ แต่หากต้องการส่งเสริมการขายโดยมุ่งไปท่ีตัวแทนจาหน่ายท่ีเป็นคนกลาง เพื่อให้บุคคลเหล่าน้ีกระจายสินค้าไปยังลูกค้าได้
17 มากขน้ึ กส็ ามารถนาวธิ ีการสง่ เสริมการขายในลกั ษณะให้สว่ นลดสินคา้ การแถมสนิ ค้า การกาหนดเปา้ ในการซอื้ สินคา้ การให้ ของขวญั พเิ ศษ มาใช้เป็นแรงจูงใจ การใช้คูปอง (Coupon) เป็นเคร่ืองมือในการส่งเสริมการขายที่นิยมใช้แพร่หลายวิธีหนึ่ง เพราะวิธีน้ีลูกค้าที่ได้รับจะ ถือว่าเป็นการให้ส่วนลดอย่างหน่ึง วิธีนี้จะทาให้เกิดแรงจูงใจในการซ้ือสินค้ามากขึ้น เพราะได้ราคาถูก โดยอาจทาให้ลูกค้าท่ี เคยซอื้ สนิ ค้าอยู่แลว้ มีความต้องการสนิ ค้าเพิ่ม หรืออาจไดล้ กู ค้าใหม่ ๆ เข้ามาเพราะมองว่าเป็นราคาพิเศษได้ การใช้แสตมป์การค้า การส่งเสริมการขายวิธีน้ี จะกระตุ้นให้ลูกค้าเกิดการซื้อซ้าได้ โดยลูกค้าอาจเกิดความต้องการ สะสมแสตมป์ไว้แลกของที่ต้องการ ทาให้ผู้ประกอบการสามารถขายของได้มากข้ึน และอาจมีลูกค้าประจากลุ่มหน่ึง โดย ผูป้ ระกอบการสามารถกาหนดเงอื่ นไขสินค้าที่ลูกคา้ สามารถแลกซื้อได้ตามความเหมาะสม การลดราคาสินค้า การส่งเสริมการขายด้วยการลดราคาสินค้า เพื่อจูงใจให้ลูกค้ามาซ้ือสินค้าในช่วงเวลานั้น ซ่ึง ผูป้ ระกอบการสามารถนาอาหารไทยทต่ี ้องการมาจดั รายการพิเศษตามชว่ งเวลา หรือวนั ใหล้ ูกคา้ ไดเ้ ลือกซือ้ ได้ อย่างไรก็ตามก่อนท่ีผู้ประกอบการจะเลือกใช้กลยุทธ์ส่งเสริมการขายวิธีใด ต้องศึกษาปัจจัยแวดล้อมหลายประการ เช่น ลักษณะของตลาด กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อายุ อาชพี สถานะภาพของกลุม่ ลูกค้า ลักษณะของผลติ ภัณฑ์ เพราะผลิตภัณฑ์ แต่ละประเภทจะมีลักษณะเฉพาะที่ไม่เหมือนกัน รวมทัง้ วงจรชวี ิตของผลติ ภัณฑ์ ราคาจาหน่าย และสิง่ สาคญั คืองบประมาณ เพราะการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การขายในแตล่ ะครัง้ ผูป้ ระกอบการต้องมีเงินทนุ พอสมควร ซง่ึ ผูป้ ระกอบการตอ้ งพิจารณาอย่าง ละเอียดถ่ีถว้ นเพ่ือให้เกิดประโยชน์สงู สุด 6. การทาบัญชรี า้ นค้าอย่างง่าย การบัญชี คอื การจดบนั ทกึ รายการคา้ ตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวกับการรบั -จา่ ยเงนิ และสงิ่ ท่ีมีค่าเป็นเงนิ ไวใ้ นสมุดบัญชีอย่าง สม่าเสมอ เป็นระเบียบถูกต้องตามหลักการ และสามารถแสดงผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของกิจการในระยะเวลา หนงึ่ ได้ การบันทกึ รายการและตัวเลข ในรายรับ – รายจ่ายของรา้ นค้า ถอื เป็นส่วนหนึง่ ท่ีทาใหผ้ ปู้ ระกอบการคา้ สามารถ ทราบสภาพการค้าของตนเอง ว่าผลการประกอบการนั้นได้กาไรหรือขาดทุน และสามารถนารายการที่บันทึกมาพิจารณาได้ ว่ามจี ดุ บกพรอ่ งในส่วนใด และเปน็ ข้อมูลในการตัดสินใจว่าควรจะปรบั ปรงุ ใหด้ ีขึน้ อย่างไร ประโยชนข์ องการทาบัญชีรา้ นคา้ อยา่ งง่าย 1. ทาใหเ้ จ้าของกิจการสามารถควบคุมและดูแลรักษาทรพั ยากรของกจิ การที่มอี ยู่ไม่ใหเ้ กดิ การสญู หายได้ 2. ทาให้ผเู้ ปน็ เจา้ ของกจิ การสามารถท่ีจะไดร้ บั ข้อมลู ทเี่ พียงพอเพื่อนามาใช้ในการบริหารงานให้มปี ระสิทธภิ าพ มากยิ่งขน้ึ 3. ทาใหเ้ จ้าของกิจการไดท้ ราบถึงผลการดาเนินงาน ฐานะการเงนิ และการเปล่ยี นแปลงฐานะการเงินของ กิจการได้เป็นระยะ ๆ 4. การทาบญั ชเี ปน็ การรวบรวมสถิติอยา่ งหนงึ่ ท่ชี ว่ ยในการบริหารงาน และใหข้ ้อมลู อันเป็นประโยชน์ในการวาง แผนการดาเนนิ งาน และควบคมุ กจิ การใหป้ ระสบผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย 5. ทาให้บคุ คลภายนอก เช่น เจ้าหน้ี ผ้ลู งทุน เปน็ ต้น มีขอ้ มลู ทางการเงนิ เพือ่ นาไปใชใ้ นการตัดสินใจได้
18 ใบความรู้ เรือ่ งที่ 4 โครงการประกอบการสานเปลเสน้ ปอ โครงการอาชีพ เป็นแผนงานหรือเค้าโครงของกิจกรรม งานอาชีพ โดยมีการกาหนดรายละเอียดที่ต้องปฏิบัติอย่างมี ระบบ มคี วามต่อเน่อื งอย่างชดั เจนไว้ลว่ งหน้าวา่ จะทาอะไร อย่างไร เม่อื ใด ทใ่ี ด และโดยใคร รวมท้ัง การพจิ ารณาการใชท้ รัพยากร ในการดาเนนิ งานอาชพี ความคาดหวังทจี่ ะได้ผลตอบแทนอยา่ งคุ้มค่า การดาเนินงานอาชีพให้ประสบความสาเร็จ การเขียนโครงการอาชีพ จึงเป็นส่วนงานท่ีสาคัญเพราะการเขียนโครงการ อาชีพ จะช่วยให้การดาเนินงานอาชีพ สามารถดาเนินงานได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ มีประสิทธิภาพโดยใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ อยา่ งจากดั ใหค้ มุ้ คา่ สามารถควบคุม กากับ และตรวจสอบขัน้ ตอนการดาเนินงาน ผลการดาเนินงานอาชพี ได้ ทาใหเ้ กดิ ความมั่นใจ ในการบริหารงาน ช่วยให้ความผิดพลาดในการทางานน้อยลง อีกทั้งยังช่วยลดการทางานที่ซ้าซ้อน และช่วยควบคุม สภาพแวดล้อมในการทางาน เพื่อให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดข้ึน ภายในระยะเวลาที่กาหนดและภายใน ทรพั ยากร ทม่ี ีอยู่ นอกจากประโยชนข์ องโครงการอาชีพ ทม่ี ีผลตอ่ การบริหารจดั การงานอาชีพด้งกล่าวแลว้ โครงการอาชพี ยังมีประโยชน์ ต่อการนาโครงการไปเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงาน สถานบันการเงินที่ส่งเสริมการดาเนินงานอาชีพอีกด้วย ดังนั้น การเขียนโครงการอาชีพจึงต้องมีวิธี การเขียนโครงการท่ีดีจะ ต้องบรรยายสภาพและความจาเป็น ของสถานการณ์ที่ทา ให้เกิดโครงการอาชีพ มีการกาหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ระบุรายการกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ในการดาเนินงานอาชีพ เพ่ือท่ีจะให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ มีแนวทางและวิธีการประเมินผล เพื่อให้รู้ถึงความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การอาชพี ดงั นนั การจดั ทาโครงการอาชพี จึงมคี วามจาเปน็ ที่ ผเู้ รียนตามหลกั สตู รการจดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา ต้องศึกษาเรียนรแู้ ละฝึกปฏบิ ัติในการเขียนโครงการอาชีพให้ดี เหมาะสม และถูกต้อง ความสาคัญของโครงการอาชีพ โครงการอาชีพ (PROJECT) หมายถึง แผนงานทจ่ี ัดทาขึ้นอยา่ งเปน็ ระบบ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมย่อย ๆ หลาย กจิ กรรม ท่ีต้องใช้ทรัพยากรในการดาเนินงานโดยคาดหวงั ผลงานทค่ี มุ้ ค่า มีประโยชน์ แสดงถงึ ความสามารถทางความคดิ ริเร่ิม และสรา้ งสรรค์ในศาสตร์ของตน มีขั้นตอนในการดาเนนิ งาน หรอื จุดมุ่งหมายในการดาเนินงานอย่างชัดเจน และสามารถ นาเสนอผลงานได้อย่างมีระบบ (วรี วธุ มาฆะศิรานนท์, 2542 : 26 – 27 ) โดยมหี ลกั สาคญั คอื - เปน็ งานทเ่ี ปดิ โอกาสให้สมาชิกในทีมงานทุกคน ไดร้ ่วมกันศึกษาค้นควา้ และลงมือปฏบิ ัติดว้ ยตนเอง โดยอาศยั ความรู้ ความสามารถทไ่ี ดศ้ กึ ษามาเปน็ องคป์ ระกอบในการดาเนินงานภายในระยะเวลาที่กาหนด - งานท่ตี ้องใช้ความสามารถ ( Competence ) และภูมิปัญญา ( Knowledge / Wisdom ) รวมถงึ ทกั ษะ ( Skills ) จากหลายๆ คน มารวมกัน เพื่อให้เกิดการพัฒนาหรอื แก้ไขปัญหาที่เกิดข้นึ รวมถึงสถานการณ์ทไี่ ม่ได้ คาดคิดไว้ก่อน - งานทม่ี ีความซับซ้อนและเกี่ยวขอ้ งกับบุคคลหลายๆ ฝ่าย ประกอบดว้ ยกจิ กรรมหลายๆ กิจกรรมมาประสานกนั - เป็นงานท่มี วี ัตถปุ ระสงค์และขอบเขตของงานอยา่ งชัดเจน ท้งั นี้ต้องมีกาหนดวนั ทเ่ี รมิ่ ตน้ และวนั ทส่ี น้ิ สดุ
19 - เป็นงานหรือกิจกรรมทที่ าขึ้น เพอ่ื หวงั ผลประโยชน์ตอบแทนท้ังทางตรงและทางอ้อม ทงั้ นี้ผ้เู รียนเป็นผู้วาง แผนการดาเนินงานต้ังแต่การศึกษาค้นคว้า การออกแบบ การประดิษฐ์ การทดลอง การเก็บข้อมูล ตลอดจนการ แปลผล สรุปผล และเสนอผลงานด้วยตนเองภายใตก้ ารดูแล และให้คาปรึกษาของผูส้ อน หรือ ผูเ้ ชีย่ วชาญใน เร่อื งนน้ั โครงการอาชีพด้านธรุ กจิ หรือบรกิ าร ( Entrepreneurship Project) เปน็ โครงการทเ่ี ก่ยี วกบั การฝึกและสร้าง ประสบการณ์เพื่อเตรยี มความพร้อมในการเปน็ ผู้ประกอบการณใ์ นอนาคต โครงการประเภทนีเ้ หมาะสาหรับผู้เรียนท่ีมีความคดิ สรา้ งสรรค์ในการหาข้อมลู หรือชอ่ งทางในการดาเนนิ ธุรกิจมีบุคลกิ ภาพและความรู้ความสามารถ ชอบงานบรหิ าร ขยนั อดทนต่อ ปัญหาตา่ ง ๆ ความหมายของโครงการ พจนานกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคาโครงการวา่ หมายถึง \"แผนหรอื เคา้ โครงการ ตามทกี่ ะกาหนดไว\"้ โครงการเปน็ สว่ นประกอบสว่ นหน่งึ ในการวางแผนพฒั นาซ่ึงชว่ ยให้เห็นภาพ และทิศทางการพัฒนา ขอบเขตของการทสี่ ามารถติดตามและประเมินผลได้ โครงการเกิดจากลกั ษณะความพยายามที่จะจัดกจิ กรรม หรือดาเนนิ การใหบ้ รรจุวตั ถุประสงค์ เพื่อบรรเทาหรือลดหรือ ขจดั ปัญหา และความต้องการท้งั ในสภาวการณป์ จั จบุ ันและอนาคต โครงการโดยท่ัวไป สามารถแยกได้หลายประเภท เช่น โครงการเพ่ือสนองความต้องการ โครงการพัฒนาท่วั ๆไป โครงการตามนโยบายเรง่ ด่วน เปน็ ต้น องค์ประกอบของโครงการอาชพี การวางแผนการปฏิบัติงาน และประมาณการโครงการ จะต้องจดั ทา เค้าโครงของโครงการ อยา่ งรัดกุมและใหส้ ามารถ ปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ มอี งค์ประกอบดังนี้ 1. ชื่อโครงการ ควรเป็นข้อความท่ีกะทัดรัด ชัดเจน ส่ือความหมายตรงกนั 2. ผูจ้ ัดทาโครงการ รายชอ่ื ผเู้ รยี นหรอื กลุ่มผเู้ รยี นที่ทาโครงการน้รี ่วมกัน และชอื่ ครูที่ปรึกษา 3. หลักการและเหตผุ ล แสดงถึงความจาเป็นหรือเหตผุ ลที่เลือกทาโครงการนี้ โดยควรจะกลา่ วถงึ ประเด็น ต่อไปนี้ 3.1 สถาพทเี่ ปน็ จริง ปัญหา เหตกุ ารณ์ 3.2 ส่ิงทีค่ วรจะเปน็ สภาพทต่ี ้องการ ความม่งุ หวัง 3.3 สาเหตุที่ทาให้ไมเ่ ปน็ ไปตามความมุ่งหวงั 3.4 ถา้ เป็นปญั หา ปัญหาน้มี ีความรุนแรงเพยี งใด ถา้ ปล่อยไวจ้ ะเกดิ ผลเสยี อย่างใด 3.5 มีวธิ ีแก้ไขอะไร ควรจะมีหลายๆ วธิ ี ทาไมจึงเลือกวธิ นี ี้ 3.6 ถา้ แก้ไข หรือดาเนินการแลว้ จะสง่ ผลดอี ย่างไร 3.7 ประโยชนท์ ่ไี ด้จะคมุ้ คา่ เพียงใด ฯลฯ 4. วัตถุประสงค์ ควรเปน็ จดุ มุ่งหมายท่ีสามารถวัดได้อย่างเปน็ รปู ธรรม หรอื กลา่ วถงึ สงิ่ ที่ตอ้ งการใหเ้ กดิ ขนึ้ หลงั จาก ทาโครงการนแ้ี ล้ว โดยไม่จากัดวิธที า 5. เปา้ หมาย ควรระบุเป้าหมายให้ชัดเจนว่าจะเกิดอะไรขึ้น กบั ใคร จานวนเท่าไรและคุณภาพของส่ิงน้นั จะเป็น อยา่ งไร
20 6. แนวความคดิ ในการออกแบบโครงการ เขียนในลักษณะแผนภาพประกอบคาบรรยายหรอื บอกหลักการ / ทฤษฎที ี่ใชใ้ นการทาโครงการ หรือท่เี กีย่ วข้องโดยย่อ ควรมเี อกสารอา้ งอิง 7. แหลง่ ความรู้ อาจจะเปน็ เอกสาร ตารา บคุ คล หรอื สถานทท่ี ผี่ ู้เรียนจะสามารถศึกษาหาความรู้เพื่อใหก้ ารปฏบิ ตั ิ โครงการนัน้ บรรลจุ ุดมงุ่ หมาย 8. งบประมาณและทรพั ยากร ควรระบุรายช่ือวัสดุอุปกรณ์ท่สี าคัญ แหล่งท่จี ะหาได้ ราคาจาหน่ายในปจั จบุ ัน และ รวมงบประมาณค่าใช้จา่ ยทั้งหมดให้ดูดว้ ย 9. วิธดี าเนนิ งาน ควรจะมีลาดับข้ันตอนที่ถูกต้อง เหมาะสม สมเหตุสมผล เปน็ ไปตามกระบวนการของการทางาน นนั้ ๆ กจิ กรรมตามวิธีดาเนนิ การจะต้องสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ และแตล่ ะขนั้ ตอนของการดาเนินงานใหร้ ะบุ วัน เดือน ปี ทจี่ ะทางานในแต่ละขัน้ ตอนด้วย 10. การตดิ ตามและประเมินผล ใหผ้ ้เู รียนเขียนวา่ จะประเมินผลอย่างไร ท่จี ะให้ครูท่ปี รึกษาทราบความก้าวหนา้ ของงาน เพ่ือการปรับปรงุ แก้ไข 11. ระยะเวลาและสถานที่ดาเนนิ การ 12. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั ใหร้ ะบผุ ลท่ีจะเกดิ ข้นึ เมือ่ เสรจ็ สิน้ โครงการ เปน็ ทั้งผลที่ได้รับโดยตรงและผลพลอยได้ หรือ ผลกระทบจากโครงการที่เป็นผลในด้านดี ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั นี้จะต้องสอดคล้องกับจดุ ประสงค์และเป้าหมาย 13. การประมาณการโครงการ ( Project Estimating )เปน็ การกาหนดรายละเอียดสาคัญสาหรบั การใช้ ทรพั ยากรอย่างมีประสทิ ธภิ าพและสอดคล้องกบั การวางแผนดาเนินงานของโครงการ เช่น ประมาณการด้านกาลังคน ดา้ น ระยะเวลา ดา้ นเคร่อื งมือ วัสดุ – อปุ กรณ์ และเงินงบประมาณตลอดโครงการ การประมาณการโครงการ สามารถใชเ้ ป็นข้อมูล สาหรบั การเตรียมหาเงนิ ทนุ ในการดาเนินการโครงการได้ ซึ่งแหล่งเงินทุนของการทาโครงการโดยทั่วไปไดม้ าจาก 2 แหล่ง คือ แหล่งเงินทุนภายใน เช่น จากกลุ่มผู้ทาโครงการ จากสถานศึกษา และแหล่งเงินทุนภายนอก เช่น สถานประกอบการ และ บคุ คลท่ีสนใจ หรอื ได้ประโยชนจ์ ากการทาโครงการน้นั โดยผู้วางแผนโครงการควรต้องคานึงถงึ หลกั สาคัญ 4 ประการ ไดแ้ ก่ 13.1 ความประหยัด ( Economy ) : การเสนองบประมาณโครงการจะต้องเป็นไปโดยมคี วามประหยัด กลา่ วคือ ใช้ทุนหรือทรัพยากรทุกชนดิ ตามสมควร แตผ่ ลของการดาเนนิ โครงการเป็นไปด้วยดี และมคี ุณภาพ 13.2 ความมปี ระสิทธิภาพ (Efficiency) : โครงการทุกโครงการจะตอ้ งมคี ุณคา่ เป็นท่ียอมรับและทกุ คนมี ความพงึ พอใจในผลงานท่ีเกิดข้ึน 13.3 ความมปี ระสิทธิผล (Effectiveness) : โครงการทุกโครงการจะต้องดาเนินงานเปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ และเปา้ หมายที่กาหนดไว้ 13.4 ความยตุ ิธรรม (Equity) : การจัดสรรทรพั ยากรทกุ ชนดิ หรอื การใชจ้ ่ายทรัพยากรจะต้องเปน็ ไปตาม เกณฑ์ทไ่ี ด้กาหนดไวท้ ัง้ นีเ้ พ่ือให้ทุกฝา่ ยปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างต่อเนอื่ ง คลอ่ งตัว และมีประสทิ ธิภาพสงู สุด 14. เสนอโครงการเพ่อื ขออนุมตั ิ เมือ่ วางแผนและเขยี นเค้าโครงของโครงการ ซึง่ แสดงถึงความพร้อมในการดาเนินโครงการแล้ว ผเู้ รียนต้องรว่ มกนั นา ข้อมลู หรือรายละเอียดที่ไดศ้ ึกษามา พร้อมแผนการดาเนนิ งานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา / คณะกรรมการโครงการ เพอื่ พจิ ารณาขออนมุ ัติดาเนินงานโครงการ 15. วธิ ีการนาเสนอโครงการ
21 15.1 ควรนาเสนออย่างเปน็ ขั้นเป็นตอน เปน็ ลาดบั ไมว่ กวน 15.2 ควรเรม่ิ ตน้ โดยกลา่ วสรปุ ภาพรวมของทั้งโครงการ วา่ เก่ียวกบั เร่ืองอะไร ใช้งบประมาณและเวลา 15.3 อย่างไร และท่สี าคัญประโยชนท์ จ่ี ะได้รับจากโครงการนนั้ มอี ะไรบ้าง 15.4 ส่อื ประกอบในการนาเสนอจะต้องชดั เจนและชวนให้ติดตาม ในระหวา่ งการนาเสนอ ควรใชค้ าพูดทผ่ี ู้ฟงั สามารถจะเขา้ ใจได้งา่ ยๆ พดู ชดั ถ้อยชัดคา กิริยาท่าทางประกอบท่ี เหมาะสม 15.5 ควรสรุปในตอนท้ายการนาเสนออีกคร้งั ว่าโครงการนมี้ ีทางเลือกดาเนินการแบบใด ความคุม้ ค่าอยู่ท่ีไหน ทรพั ยากรตา่ ง ๆ ท่จี าเปน็ ต้องใชจ้ ะมอี ะไรและประโยชนท์ ่ีจะไดร้ บั เป็นอย่างไร ในการเขียนโครงการ ควรจะมขี น้ั ตอนในการเขียนอย่างน้อยประกอบไปด้วย 1. ชอ่ื โครงการ 2. หลกั การและเหตุผล 3. วัตถุประสงค์ 4. เปา้ หมาย 5. วิธีดาเนินการ 6. ระยะเวลาดาเนินการ 7. งบประมาณ 8. ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ 9. หนว่ ยงานทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ 10. การประเมนิ ผล 11. ผลประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ ลกั ษณะของโครงการท่ดี ี 1. มรี ายละเอียด วตั ถปุ ระสงค์ และเป้าหมายท่ชี ัดเจน สามารถดาเนินงานได้ หรือมีความเปน็ ไปได้ 2. รายละเอียดของโครงการต้องเกยี่ วเน่ืองสมั พนั ธก์ ัน กล่าวคือ วตั ถุประสงคต์ ้องสอดคลอ้ งกับปัญหาหรือหลักการ และ เหตุผล วิธีการดาเนินงานต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป็นต้น สามารถตอบคาถามได้ว่าทาอะไร ทาเพื่ออะไร ทาท่ีไหน ทาเมื่อไร ทาอย่างไร ทาเท่าไหร่ ใครรับผดิ ชอบ และทากบั ใคร ใครเปน็ ผู้ท่ีไดร้ บั ประโยชน์ 3. รายละเอยี ดของโครงการสามารถเขา้ ใจได้ง่าย และสามารถดาเนนิ การตามโครงการได้ 4. โครงการต้องกาหนดขึน้ จากข้อมูลท่ีมีความเปน็ จรงิ และ เปน็ ข้อมูลท่ีได้รบั การวิเคราะหอ์ ยา่ งรอบคอบแล้ว 5. มรี ะยะเวลาในการดาเนินงาน กลา่ วคือ จะตอ้ งระบุถงึ วนั เวลาที่เร่มิ ต้น และ วนั เวลาแล้วเสร็จทแี่ น่ชดั 6. เปน็ โครงการทป่ี ฏบิ ัตไิ ด้และสามารถติดตามและประเมินผลได้ การวางแผนและการเขียนโครงการ
22 ความหมายของการวางแผน มผี ู้ให้คาจากัดความของการวางแผนไว้หลายลักษณะ เช่น การวางแผน คอื การมองอนาคต การเลง็ เหน็ จุดหมายท่ีตอ้ งการ การคาดปญั หาเหลา่ น้ันไวล้ ่วงหน้าไว้อยา่ งถูกต้อง ตลอดจนการหาทางแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เหลา่ นัน้ การวางแผน เปน็ การใช้ความคิดมองจินตนาการตระเตรียมวธิ กี ารต่าง ๆ เพื่อคดั เลือกทางทด่ี ที ีส่ ดุ ทางหน่ึง กาหนด เปา้ หมายและวางหมายกาหนดการกระทานั้น เพื่อให้สาเรจ็ ลลุ ว่ งไปตามจดุ ประสงค์ที่ตั้งไว้ การวางแผน เปน็ กจิ กรรมอยา่ งหนง่ึ ทเี่ กี่ยวกบั การกาหนดส่งิ ท่ีจะกระทาในอนาคต การประเมินผลของสง่ิ ทก่ี าหนดว่าจะ กระทาและกาหนดวธิ ีการทจ่ี ะนาไปใช้ในการปฏบิ ัติ ถา้ จะกล่าวโดยสรุป การวางแผนกค็ อื การคิดการหรือกะการไวล้ ว่ งหนา้ วา่ จะทาอะไร ทาไม ทาท่ีไหน เมื่อไร อยา่ งไร และใครทา การวางแผนจึงเปน็ เรือ่ งที่เกีย่ วกบั อนาคต การตดั สนิ ใจและการปฏบิ ัติ ความสาคญั ของการวางแผน ถา้ จะเปรียบเทียบระบบการศึกษากับคน การวางแผนกเ็ ปรียบเสมอื นสมองของคน ซึ่งถ้ามองในลักษณะนแี้ ล้ว การ วางแผนก็มีความสาคัญไม่นอ้ ยทเี ดยี ว เพราะถ้าสมองไม่ทางานสว่ นอื่น ๆของร่างกาย เช่น แขน ขา ก็จะทาอะไรไม่ได้ หรือถ้า คนทางานไม่ใช้สมอง คือทางานแบบไม่มหี ัวคิดลองนึกภาพดูก็แลว้ กันวา่ จะเป็นอย่างไร คนทกุ คนต้องใช้สมองจึงจะทางานได้ ระบบการศึกษาหรอื การจัดการศึกษาเช่นเดียวกัน ต้องมีการวางแผน คือ อย่างน้อยต้องมีความคิด การเตรียมการว่าจะจดั การศึกษาเพื่ออะไร เพื่อใคร อย่างไร ประโยชนข์ องการวางแผน 1. การวางแผนเป็นเคร่ืองช่วยใหม้ กี ารตดั สนิ ใจอย่างมีหลักเกณฑ์ เพราะไดม้ ีการศึกษาสภาพเดมิ ในปัจจบุ นั แล้ว กาหนดสภาพใหม่ในอนาคต ซงึ่ ได้แก่การต้ังวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมาย แลว้ หาลู่ทางที่จะทาให้สาเรจ็ ตามท่มี ุ่งหวงั นัก วางแผนมหี น้าท่จี ดั ทารายละเอียดของงานจดั ลาดับความสาคญั พร้อมทงั้ ข้อเสนอแนะที่ควรจะเป็นต่าง ๆ เพื่อให้ผู้มีหน้าท่ี ตดั สินใจพิจารณา 2. การวางแผนเปน็ ศูนยก์ ลางประสานงานเช่น ในการจัดการศึกษาเราสามารถใชก้ ารวางแผนเพอื่ ประสานงาน การศกึ ษาทุกระดับและทกุ สาขาใหส้ อดคลอ้ งกนั ได้ 3. การวางแผนทาใหก้ ารปฏบิ ัติงานต่าง ๆเป็นไปโดยประหยัดมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล เพราะการวางแผน เปน็ การคดิ และคาดการณ์ไวล้ ่วงหน้าและเสนอทางเลือกท่ีจะก่อให้เกิดผลทด่ี ที ส่ี ุด 4. การวางแผนเปน็ เครอ่ื งมือในการควบคมุ งานของนกั บรหิ ารเพอ่ื ติดตามตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของฝา่ ยต่าง ๆให้ เปน็ ไปตามนโยบายและเปา้ หมายท่ตี ้องการ ประเภทของแผน แบง่ ตามระยะเวลา แบง่ ออกเปน็ 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. แผนพฒั นาระยะยาว (10 - 20 ป)ี กาหนดเค้าโครงกวา้ งๆ ว่าประเทศชาติของเราจะมีทิศทางพฒั นาไปอย่างไร ถา้ จะดึงเอารัฐธรรมนญู และ/หรือแผนการศกึ ษาแห่งชาติมาเป็นแผนประเภทน้กี ็พอไปได้ แต่ความจริงแผนพัฒนาระยะยาวของ เราไม่มี 2. แผนพฒั นาระยะกลาง (4 - 6 ปี) แบง่ ชว่ งของการพัฒนาออกเปน็ 4 ปี หรอื 5 ปี หรือ 6 ปี โดยคาดคะเนวา่ ในชว่ ง 4 - 6 ปี น้ี จะทาอะไรกันบ้าง จะมโี ครงการพฒั นาอะไร จะงบประมาณใช้ทรัพยากรมากน้อยเพียงไร แผนดังกล่าวได้แก่
23 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตินั่นเองในสว่ นของการศึกษาก็มีแผนพฒั นาการศึกษาแหง่ ชาติ(ไมใ่ ชแ่ ผนการศึกษา แหง่ ชาต)ิ ในเรื่องของการเกษตรกม็ แี ผนพัฒนาเกษตร เปน็ ต้น 3. แผนพัฒนาประจาปี (1 ปี) ความจรงิ ในการจัดทาแผนพัฒนาระยะกลาง เช่น แผนพัฒนาการศึกษาไดม้ ีกาหนด รายละเอียดไว้เป็นรายปอี ยู่แลว้ แตเ่ นอื่ งจากการจัดทาแผนพัฒนาระยะกลางไดจ้ ัดทาไวล้ ่วงหน้า ข้อมูลหรือความต้องการท่ี เขียนไว้อาจไม่สอดคล้องกับสภาพท่ีแท้จริงในปัจจุบัน จึงต้องจัดทาแผนพัฒนาประจาปีข้ึน นอกจากน้ัน วิธีการ งบประมาณของเราไม่ใช้แผนพัฒนาระยะกลางขอต้ังงบประมาณประจาปี เพราะมรี ายละเอยี ดน้อยไป แต่จะต้องใช้ แผนพฒั นาประจาปี เป็นแผนขอเงนิ 4. แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี (1 ปี) ในการขอตง้ั งบประมาณตามแผนพัฒนาประจาปีในขอ้ 3 ปกติมักไม่ได้ตามที่ กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆขอไป สานักงบประมาณหรือคณะกรรมาธกิ ารของรฐั สภามกั จะตัดยอดเงนิ งบประมาณที่สว่ น ราชการต่าง ๆขอไปตามความเหมาะสมและจาเปน็ และสภาวการณ์การเงินงบประมาณของประเทศท่ีจะพึงมภี ายหลังทสี ว่ น ราชการต่าง ๆ ไดร้ ับงบประมาณจรงิ ๆแลว้ จาเปน็ ท่ีจะต้องปรบั แผนพัฒนาประจาปที จี่ ัดทาขน้ึ เพ่ือขอเงนิ ใหส้ อดคล้องกับเงินท่ี ไดร้ ับอนุมัติ ซึ่งเรียกวา่ แผนปฏิบัติการประจาปีข้ึน แผนที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนั้นเปน็ แผนท่ใี ช้ในหนว่ ยงานราชการทั่วไป สาหรับแผนท่ใี ช้ในวงการธรุ กิจ เรยี กว่า แผน ธรุ กจิ หรือ Business Plan ซึ่งเป็นแผนการดาเนนิ งานของธุรกจิ หรือโครงการหน่ึงๆ ทจ่ี ัดทาขน้ึ เพ่อื เปน็ แนวทางในการดาเนิน ธุรกจิ ทัง้ ในระยะสั้น 1–3 ปี และในระยะยาว 3–5 ปี อันประกอบไปดว้ ยการวเิ คราะห์ถงึ ผลกระทบตอ่ ธรุ กิจทัง้ ทางดา้ น มห ภาค (Macro Analysis) และจุลภาค (Micro Analysis) การวเิ คราะห์ธรุ กิจของโครงการในแง่มมุ ต่าง ๆ ท้ังทางด้านการตลาด ทางด้านการดาเนินงาน ทมี ผู้บรหิ าร และทางดา้ นการเงิน เพ่ือเปน็ การประเมนิ ความเป็นไปได้ของโครงการ และเปน็ กรอบใน การดาเนินธรุ กจิ แนวทางการพัฒนาธุรกิจในอนาคต การเขียนแผนธรุ กจิ เปน็ ส่ิงสาคญั อย่างหนงึ่ และเปน็ มาตรฐานในการทาธุรกจิ สมัยใหม่ แม้กระทั่งการขอกู้เงินหรือ การขอสนิ เชอ่ื จากธนาคารเพื่อนาเงนิ มาลงทุน การขอเงนิ จาก Venture Capital หรือการใช้เงินลงทุนของตนเองก็ดี เน่ืองจากจะทาให้เจ้าของกิจการ ผู้ร่วมธุรกิจ หรือธนาคารไดเ้ หน็ ภาพรวมของโครงการ รวมถึงการประเมนิ ความเป็นไปได้ ของโครงการต่าง ๆ วา่ มีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด จะให้ผลคุ้มทุนเม่ือใด มีความสามารถในการชาระหน้ีหรือไม่ ก่อนท่ีจะเร่ิมต้นลงทุนในโครงการน้ัน ๆ จริง โดยแผนธุรกิจนอกจากจะเป็นการประเมินความเปน็ ไปได้ของโครงการแล้ว ยงั เป็นแผนงานและแผนควบคมุ การดาเนินงานของธรุ กจิ น้ัน ๆ ไดอ้ ีกทางหนึ่ง ลกั ษณะของแผนธรุ กจิ ทด่ี ี ต้องประกอบดว้ ยส่วนสาคญั ดงั น้ี 1. บทสรุปผบู้ รหิ าร (Executive Summary) เพื่อใหผ้ ู้บรหิ ารหรือผู้พจิ ารณาแผน ได้ทราบภาพรวมทงั้ หมดของ โครงการ และผลตอบแทนที่ไดร้ ับจากการลงทุน 2. โครงสรา้ งอุตสาหกรรมของบริษทั (Industry Analysis) บอกถึงภาพรวมของอุตสาหกรรมของโครงการ วสิ ยั ทศั น์ ภารกิจ และวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 3. การวเิ คราะหต์ ลาด (Marketing Analysis) เป็นการวเิ คราะหถ์ ึงปัจจัยภายนอก ปจั จัยภายใน สภาพการแข่งขันใน ตลาด การกาหนดตลาดเป้าหมาย การวางตาแหน่งผลติ ภณั ฑ์ พฤติกรรมผูบ้ รโิ ภค และการประมาณการยอดขายสนิ ค้าและ บริการ
24 4. แผนการตลาด (Marketing Plan) การกาหนดกลยุทธท์ างการตลาด ทงั้ ทางดา้ นสนิ ค้าและบริการ ราคา ช่องทางการ จดั จาหนา่ ย การสื่อสารทางการตลาด การบรหิ ารการขาย และการรบั ประกันสนิ ค้าและบรกิ าร 5. แผนการพฒั นาในอนาคต (Improvement Plan) แผนงานการพัฒนาสนิ คา้ และบริการของบริษัทในอนาคต 6. แผนการปฏบิ ัติงาน (Operation Plan) กลยทุ ธ์การดาเนินงาน สถานทต่ี ้งั แผนการดาเนนิ งาน 7. โครงสรา้ งองคก์ ร (Organization Plan) แผนผงั องค์กร ทีมงานหลักในการบริหาร และหนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบ ของหน่วยงานต่าง ๆ 8. ความสามารถในการทากาไรของธรุ กิจ (Business Profit) นโยบายทางการเงิน สมมติฐานการเงิน งบกาไร ขาดทนุ งบดุล งบกระแสเงินสด เงินลงทนุ และผลตอบแทน อตั ราสว่ นทางการเงิน การวิเคราะห์ความออ่ นไหวของผลการ ดาเนินงาน การวเิ คราะห์จุดคุ้มทนุ นอกจากนีส้ ถานประกอบการหรือผู้ทาธรุ กิจจะต้องจัดทาแผนธรุ กิจแล้ว ยังจะตอ้ งมีแผนอื่น ๆ ประกอบการ ดาเนินงานธรุ กิจของตนเองอีกด้วย เพือ่ สร้างความมัน่ ใจให้กบั ตนเอง และแหล่งเงินทนุ แผนเหลา่ นนั้ ได้แก่ 1. แผนการดาเนินงาน (Gantt Chart) แผนภาพระยะเวลาของการดาเนนิ งานในชว่ งเวลาต่าง ๆ (Time Frame) 2. แผนการควบคุม (Controlling Plan) แผนควบคุมการดาเนินการเพ่ือให้เป็นไปตามแผนงานท่ีวางไว้ 3. แผนฉุกเฉิน (Emergency Plan) แผนสารองหากการดาเนินงานไมเ่ ปน็ ไปตามแผนท่ีได้วางไว้ หรอื แผนการแก้ไข ปัญหาท่ีอาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั สมบรู ณ์ สานกั งาน กศน. จงั หวดั สระแกว้
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: