200 เ ร่ื อ ง ส่ ว น ตั ว ท่านอาจารย์พุทธทาสกล่าวเสมอว่า “การทำงานคือการปฏิบัติธรรม” ท่านต้องการชี้ให้เห็นว่าโลกกับธรรม หรือ โลกียะกับโลกุตตระไม่ได้แยกจากกัน การทำงานในที่น้ีไม่ได้หมายถึงการทำมาหากินเท่านั้น แต่รวมถึงการทำงานเพื่อ สังคมด้วย ในเม่ือเรายังฝึกดูจิตขณะทำมาหากินได้ เหตุใดในระหว่างทำงานเพื่อ ชว่ ยเหลือผอู้ ืน่ เราจะดจู ิตตวั เองไมไ่ ด้ การทำงานกับการปฏิบัติธรรมแยกจากกันไม่ได้ฉันใด การช่วยเหลือตน กับการช่วยเหลือผู้อ่ืนก็ไม่อาจแยกจากกันได้ฉันน้ัน ดังมีพุทธพจน์ว่า “บุคคลเม่ือ รกั ษาผอู้ นื่ กช็ อื่ วา่ รกั ษาตน” ความขอ้ นเี้ ปน็ ขอ้ เตอื นใจอยา่ งดสี ำหรบั ผทู้ มี่ งุ่ ทำสมาธิ ภาวนาจนละเลยการชว่ ยเหลอื สงั คม แต่สำหรบั ผทู้ ่ที ำงานเพื่อสังคมมาก พึงระลึก ถงึ พทุ ธพจนอ์ ีกตอนหนึง่ ทีม่ าคูก่ ันวา่ “บคุ คลเมือ่ รกั ษาตน ชื่อวา่ รักษาผูอ้ ่ืน” การรักษาตนโดยสารัตถะก็คือการรักษาจิตมิให้กิเลสหรืออกุศลครอบงำ หาไม่แล้วไม่ว่าจะทำอะไร ก็อาจกลายเป็นการสนองกิเลสมากกว่าอย่างอ่ืน ในทาง ตรงข้ามหากรักษาใจให้เป็นกุศล มีความต่ืนรู้อยู่เสมอ เปี่ยมด้วยเมตตากรุณา ก็ สามารถแผร่ ศั มอี นั สงบเยน็ ใหผ้ อู้ น่ื หายจากความรมุ่ รอ้ น และกลบั มามสี ตไิ ดง้ า่ ยขน้ึ
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 201 การทำงานเพอ่ื สังคมนั้น จกั ต้องเป็นไปอย่างมีสตริ ้ตู ัวอยเู่ สมอ จึงจะเกดิประโยชน์อย่างแท้จริง แม้กระน้ันหากทำมากไป ไม่รู้จักพักบ้าง กายและใจก็จะอ่อนล้า จิตจะหยาบกระด้างจนไม่อาจสัมผัสความสุขที่ประณีตได้ ทำให้โหยหาความสุขแบบหยาบๆ คือกามสุข ราคะครอบงำ และอาจถึงข้ันเสพติดกามสุขจนถอนตัวถอนใจได้ลำบาก ถึงตอนน้ันก็อาจพลัดสู่ทางท่ีต่ำได้ ในทางตรงข้ามหากได้ทำสมาธภิ าวนาสมำ่ เสมอ แมป้ ญั ญาจะยงั ไมเ่ กดิ แตก่ ไ็ ดร้ บั ความสขุ ประณตี ซงึ่ เปน็เครื่องหล่อเล้ียงใจให้สดช่ืน ทำให้ไม่โหยหากามสุข จึงสามารถรักษาใจให้เบิกบานแจ่มใสไดเ้ สมอ และสามารถทำกจิ เพอ่ื สว่ นรวม ด้วยเจตนาทบี่ รสิ ทุ ธไิ์ ด้ต่อเนื่อง สำหรับคนที่หนักไปในการทำงานเพ่ือสังคมอย่างข้าพเจ้า จึงจำเป็นต้องหม่ันทำสมาธิภาวนาอยู่เสมอ แน่ละบางคร้ังก็ย่อหย่อน การติติงจากผู้อื่นจึงเป็นสิง่ สำคัญ เมือ่ ๒-๓ ปีกอ่ น มฆี ราวาสผูห้ นึ่งซึง่ มีบทบาทอยา่ งแข็งขนั ในการเผยแผ่พุทธศาสนาให้คนในเมือง ไดพ้ ูดผ่านมาถึงหขู า้ พเจา้ ว่าข้าพเจา้ ไมค่ อ่ ยปฏิบตั ธิ รรมตอนท่ีได้ยินครั้งแรก รู้สึกไม่พอใจ อดนึกตอบโต้ในใจไม่ได้ว่า แล้วคุณล่ะปฏิบัติธรรมมามากแคไ่ หน ปฏบิ ตั ธิ รรมในความเขา้ ใจของคณุ หมายถงึ การหลกี เรน้ หลบั ตาเท่าน้ันหรือ ว่าแล้วก็นึกไปถึงหลายคนท่ีพูดตำหนิข้าพเจ้าอย่างนี้แต่แล้วกลับแพ้ภัยตนเองพทุ ธศาสนากบั คณุ คา่ ตอ่ ชวี ติ
202 เ ร่ื อ ง ส่ ว น ตั ว แตเ่ มอื่ ตง้ั สตไิ ด้ กห็ นั มาดตู วั เอง เหน็ ใจทก่ี ระเพอ่ื ม เหน็ “ตวั ก”ู ทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ ก็รู้สึกว่าดีแล้วท่ีเขาพูดเช่นน้ัน นอกจากจะได้เห็นอัตตาของตัวเองที่ยึดแน่นแล้ว ยังเป็นการกระตุ้นเตือนให้ตนหันมาทำสมาธิภาวนาให้มากข้ึน เขาจะพูดถูกหรือผิด ไมส่ ำคัญเทา่ กบั ความจรงิ ทีว่ า่ การปฏบิ ตั ิธรรมนน้ั เป็นสิ่งทมี่ ีคณุ คา่ อยา่ งยง่ิ ไม่ควร ปล่อยปละละเลย ไม่ว่าพระหรือฆราวาส แม้จะบวชมากว่า ๒๐ พรรษา ก็ยังต้อง ใส่ใจในเรือ่ งนีอ้ ยู่ เม่ือทบทวนชีวิตท่ีผ่านมา รู้สึกว่าตนได้เดินทางมาไกลพอสมควร วันที่ รสู้ กึ อาวรณใ์ นชวี ติ ฆราวาส (เพราะไมไ่ ดเ้ ลน่ ฟตุ บอล) หรอื รสู้ กึ วา่ ชวี ติ ขาดอะไรไปบาง อยา่ งเมอ่ื ไดม้ าบวชพระนนั้ ไดผ้ า่ นไปนานแลว้ มาถงึ วนั นร้ี สู้ กึ วา่ ตนมโี ชคอยา่ งมาก ท่ีได้ครองเพศบรรพชิตมากว่าครึ่งชีวิต หาไม่แล้วจะต้องทุกข์มากกว่านี้อย่าง แน่นอน แม้ทุกวันน้ีก็ยังมีสุขระคนทุกข์เยี่ยงปุถุชน เพราะยังไม่ถึงมรรคผล แต่ก็ ได้รับความสุขจากชีวิตน้ีอย่างที่น้อยคนจะได้รับ อย่างไรก็ตามจะพึงพอใจเพียงเท่า น้ีหาได้ไม่ ในเมื่อจุดหมายปลายทางยังอยู่อีกไกล ก็จำต้องก้าวเดินต่อไปไม่หยุด ต้องประคองตัวประคองใจไปให้ถึงจุดหมาย แต่หากมีเหตุให้มิอาจบรรลุถึง ก็ต้อง ไปให้ไกลทส่ี ดุ เท่าทจ่ี ะทำได้ บทความน้ี ตีพิมพค์ ร้งั แรกที่น่ี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203