อยากเปน็ “ครูอาชวี ะ” 3. มาตรฐานวชิ าชีพ ยกเลกิ นิยามคำวา “มาตรฐานความรแู ละประสบการณวชิ าชีพ” “มาตรฐานการ ปฏิบตั ิงาน” และ “มาตรฐานการปฏิบตั ติ น” ในขอ 4 แหงขอ บงั คับคุรสุ ภา วาดวย มาตรฐานวิชาชพี พ.ศ. 2556 และใหใชค วามตอไปนี้แทน “มาตรฐานความรแู ละประสบการณว ชิ าชพี หมายความวา ขอกำหนดเก่ียวกับความรู และประสบการณใ นการจัดการเรยี นรู หรือการจัดการศึกษา ซึง่ ผูประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา รวมทั้งผตู อ งการประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตองมเี พียงพอท่สี ามารถนำไปใชในการประกอบ วชิ าชพี ได” “มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน หมายความวา ขอ กำหนดเกย่ี วกบั คณุ ลกั ษณะ หรอื การ แสดงพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิงานและการพฒั นางาน ซ่ึงผูป ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา รวมทั้งผู ตองการประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตอ งปฏบิ ัตติ าม เพอ่ื ใหเกิดผลตามวัตถปุ ระสงค และ เปาหมายการเรยี นรหู รือการจัดการศกึ ษา รวมทั้งตองฝกฝนพัฒนาตนเองใหมีทกั ษะ หรอื ความ ชำนาญสงู ข้นึ อยางตอเนอื่ ง” “มาตรฐานการปฏิบัติตน หมายความวา จรรยาบรรณของวิชาชีพทก่ี ำหนดขนึ้ เปน แบบแผนในการประพฤติปฏิบตั ิตน ซงึ่ ผูป ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา รวมทง้ั ผตู อ งการ ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองยึดถอื ปฏบิ ตั ติ าม เพ่ือรกั ษาและสงเสรมิ เกียรตคิ ุณ ชื่อเสียง และฐานะของผูประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ใหเปนที่เชื่อถือ ศรทั ธา แกผ ูรับบรกิ ารและ สังคม อันจะนำมาซง่ึ เกียรติและศักด์ิศรีแหงวชิ าชีพ” 1
อยากเปน็ “ครอู าชวี ะ” ยกเลิกความในขอ 6 แหงขอ บงั คับครุ ุสภา วาดว ยมาตรฐานวิชาชพี พ.ศ. 2556 และ ใหใ ชข อความตอไปน้ีแทน “ขอ 6 ผูประกอบวิชาชีพครู ตอ งมคี ุณวฒุ ไิ มต่ำกวาปรญิ ญาตรที างการศึกษาหรือ เทยี บเทา หรือมีคณุ วุฒอิ ่ืนทีค่ รุ ุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรแู ละประสบการณวิชาชพี ที่มา : https://www.nonstopnu.com/2019/07/22/ethics_of_teaching_profession/ 2
มาตรฐานวชิ าชพี ประกอบดวย 3 มาตรฐาน ดังนี้ อยากเปน็ “ครอู าชวี ะ” 1) มาตรฐานความรูและประสบการณวชิ าชีพ 1. มาตรฐานความรู รู + งาน + ตน 2. มาตรฐานประสบการณวิชาชพี 2) มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน 1. การปฏิบัติหนาท่ีครู 2. การจัดการเรยี นรู 3. ความสัมพนั ธก ับผูปกครองและชมุ ชน 3) มาตรฐานการปฏบิ ตั ติ น (ของเดิม 5 จรรยาบรรณ) 1. จรรยาบรรณตอตนเอง 2. จรรยาบรรณตอ วิชาชพี 3. จรรยาบรรณตอ ผูรบั บริการ 4. จรรยาบรรณตอผูร ว มประกอบวชิ าชพี 5. จรรยาบรรณตอ สังคม 3
อยากเป็น “ครอู าชวี ะ” 1) มาตรฐานความรูแ ละประสบการณวชิ าชีพ ก) มาตรฐานความรู (ของเดิมเปน 11 มาตรฐานความรหู รอื วชิ า) 1. การเปล่ียนแปลงบรบิ ทของโลก สังคม และแนวคิดของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. จิตวิทยาพฒั นาการ จิตวทิ ยาการศึกษา และจิตวิทยาใหคำปรกึ ษาในการวเิ คราะหและพัฒนา ผูเรยี นตามศกั ยภาพ 3. เนื้อหาวิชาทส่ี อน หลักสตู ร ศาสตรก ารสอน และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในการจดั การเรียนรู 4. การวดั ประเมินผลการเรยี นรู และการวิจยั เพอ่ื แกไขปญ หาและพัฒนาผูเรยี น 5. การใชภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร และการใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทลั เพื่อการศึกษา 6. การออกแบบและการดำเนนิ การเก่ียวกับงานประกนั คุณภาพการศึกษา เปลี่ยน + จิต + สอน + วัด + ไทย +กัน (อยากรู ตอ งลองเปลี่ยนใจไปสอนท่วี ัดไทยกัน) ข) มาตรฐานประสบการณวชิ าชีพ ตอ งผานการสอนในสถานศึกษาไมน อยกวา 1 ป และผา นเกณฑก ารประเมนิ ตามหลกั วธิ ีการ ดงั น้ี 1. การฝก ปฏิบัตริ ะหวา งเรียน 2. การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษาในสาขาวิชาเฉพาะ ระหวาง + ในขา (จะไปสอนแลว กางเกงในอยูตรงไหน?) 2) มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน 3 ดาน 15 ขอ ก) การปฏบิ ัติหนาท่คี รู (5) 1. มุงมั่นพฒั นาผเู รียน ดวยจติ วิญญาณความเปน ครู 2. ประพฤตติ นเปนแบบอยา งทีด่ ี มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีความเปนพลเมืองที่เขม แข็ง 3. สง เสรมิ การเรียนรู เอาใจใส และยอมรบั ความแตกตางของผเู รยี นแตล ะบคุ คล 4. สรางแรงบันดาลใจผูเรียนใหเปน ผูใฝเรียนรู และผูส รางนวัตกรรม 5. พฒั นาตนเองใหม คี วามรอบรู ทนั สมัย และทนั ตอการเปล่ียนแปลง มุง + ดี + เสรมิ + แรง + ตน (หนา ทีค่ รูเสรมิ แรงใหตนเองกอน) 4
อยากเปน็ “ครูอาชีวะ” ข) การจดั การเรียนรู (6) 1. พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู สือ่ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู 2. บูรณาการความรแู ละศาสตรก ารสอนในการวางแผนและจดั การเรยี นรทู ี่สามารถพฒั นาผเู รยี น ใหม ีปญ ญารูคดิ และมีความเปน นวัตกร 3. ดูแล ชว ยเหลือ และพัฒนาผเู รียนเปนรายบุคคลตามศกั ยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนา คุณภาพผูเรยี นไดอยางเปนระบบ 4. จัดกจิ กรรมและสรา งบรรยากาศการเรยี นรูใหผเู รียนมคี วามสุขในการเรียน โดยตระหนกั ถึงสขุ ภาวะของผเู รียน 5. วิจัย สรางนวตั กรรม และประยุกตใ ชเ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใหเ กิดประโยชนต อการเรียนรูข องผูเรียน 6. ปฏบิ ัตงิ านรวมกบั ผอู น่ื อยา งสรางสรรคแ ละมีสว นรวมในกิจกรรมการพฒั นาวชิ าชพี พฒั + บรู + ดู + จัด + จัย + งาน ค) ความสัมพันธก ับผูปกครองและชุมชน (4) 1. รวมมอื กบั ผปู กครองในการพฒั นาและแกป ญหาผเู รยี นใหมคี ุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค 2. สรางเครอื ขายความรว มมอื กบั ผูปกครองและชุมชน เพอื่ สนับสนนุ การเรียนรทู ม่ี คี ุณภาพของ ผเู รียน 3. ศึกษา เขาถงึ บรบิ ทของชุมชน และสามารถอยรู วมกันบนพ้ืนฐานความแตกตา งทางวัฒนธรรม 4. สง เสริม อนรุ กั ษว ัฒนธรรม และภมู ิปญญาทอ งถ่นิ รวม + ขา ย + เขา + รกั ษ 3) มาตรฐานการปฏบิ ตั ิตน (จรรยาบรรณวิชาชพี ครู 5 ดาน) Code of Ethics of Teaching Profession ตน + ชีพ + รบั + รวม + คม 1. จรรยาบรรณตอตนเอง 2. จรรยาบรรณตอวชิ าชีพ 3. จรรยาบรรณตอผูรับบริการ 4. จรรยาบรรณตอผูรวมประกอบวิชาชพี 5. จรรยาบรรณตอ สังคม 5
อยากเปน็ “ครูอาชีวะ” อาศัยอำนาจตามความในขอ 6 และขอ 10 แหง ขอบงั คบั ครุ ุสภา วา ดว ยมาตรฐานวชิ าชีพ พ.ศ.2556 ซง่ึ แกไ ขเพิ่มเติมโดยขอ บงั คับคุรุสภา วา ดวยมาตรฐานวชิ าชพี (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุมครั้งที่ 8/2562 เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 คณะกรรมการคุรุสภาจึงออกประกาศคณะกรรมการคุรุสภากำหนดรายละเอียดสาระ ความรู และสมรรถนะตามมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพครูไว ดงั ตอ ไปนี้ 1) มาตรฐานความรูแ ละประสบการณวิชาชีพ ก) มาตรฐานความรู (ของเดิมเปน 11 มาตรฐานความรหู รอื วชิ า) 1. การเปลี่ยนแปลงบรบิ ทของโลก สงั คม และแนวคดิ ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2. จิตวิทยาพฒั นาการ จติ วิทยาการศึกษา และจติ วิทยาใหคำปรึกษาในการวเิ คราะหและพฒั นา ผูเรยี น 3. เน้ือหาวชิ าทีส่ อน หลักสตู ร ศาสตรการสอน และเทคโนโลยีดิจทิ ัลในการจดั การเรียนรู 4. การวัด ประเมินผลการเรียนรู และการวิจยั เพื่อแกไขปญหาและพฒั นาผเู รยี น 5. การใชภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร และการใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอื่ การศึกษา 6. การออกแบบและการดำเนินการเก่ียวกบั งานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา เปลีย่ น + จิต + สอน + วัด + ไทย +กัน (อยากรู ตอ งลองเปล่ียนใจไปสอนทวี่ ัดไทยกัน) ข) มาตรฐานประสบการณวชิ าชีพ ตองผานการสอนในสถานศกึ ษาไมน อ ยกวา 1 ป และผา นเกณฑการประเมนิ ตามหลกั วธิ ีการ ดังน้ี 1. การฝกปฏิบตั วิ ิชาชพี ระหวา งเรียน 2. การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ ระหวา ง + ในขา (จะไปสอนแลว กางเกงในอยตู รงไหน?) 6
อยากเปน็ “ครอู าชวี ะ” 2) มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน 3 ดาน 16 ขอ ก) การปฏิบัติหนา ที่ครู (4) 1. มุง ม่ันพัฒนาผเู รียน ดวยจติ วิญญาณความเปน ครู 2. สงเสริมการเรยี นรู เอาใจใส และยอมรบั ความแตกตางของผูเรียนแตล ะบคุ คล 3. สรางแรงบนั ดาลใจผเู รียนใหเ ปนผูใฝเรยี นรู และผสู รางนวตั กรรม 4. พฒั นาตนเองใหมคี วามรอบรู ประพฤติตนเปนแบบอยา งที่ดี มีคณุ ธรรมจริยธรรม และเปน พลเมอื งทด่ี ี มุง + เสริม + แรง + ตน (หนาท่ีครูเสริมแรงใหต นเองกอน) ข) การจดั การเรียนรู (8) 1. การมสี ว นรวมในการพัฒนาและสง เสริมหลกั สตู รสถานศึกษา 2. การจดั ทำแผนการสอนและจัดการเรียนการสอนท่ีเนน การพฒั นาผเู รยี นตามความถนัด และ ความสนใจ ใหม ปี ญญารูคดิ มคี วามเปนนวตั กร และมีความสขุ ในการเรียน 3. ดแู ล ชว ยเหลอื พัฒนา และรายงานผลการพัฒนาผเู รียนเปน รายบุคคลอยา งเปนระบบ 4. วจิ ัย สรางนวตั กรรม และประยุกตใชเทคโนโลยใี หเกิดประโยชนตอ การเรียนรูของผูเ รียน 5. ทำงานเปนทีมอยา งสรางสรรค และรวมกจิ กรรมพัฒนาวชิ าชีพ 6. สอ่ื และการวดั การประเมนิ ผลการเรียนรู 7. การบูรณาการความรูแ ละศาสตรก ารสอน 8. การจัดกจิ กรรมเพอื่ สรางบรรยากาศการเรยี นรู พัฒ + ถนดั + ดู + จัย + ทีม + สอื่ + รู + จดั ค) ความสัมพันธก ับผปู กครองและชมุ ชน (4) 1. รว มมอื กบั ผปู กครองในการพฒั นาและแกปญ หาผูเรยี นใหม คี ุณลักษณะท่พี งึ ประสงค 2. สรางเครือขายความรว มมอื กับผูปกครองและชุมชน เพอ่ื สนบั สนนุ การเรียนรทู ี่มีคุณภาพของ ผเู รยี น 3. ศกึ ษา เขา ถงึ บริบทของชุมชน และสามารถอยูรวมกนั บนพนื้ ฐานความแตกตา งทางวฒั นธรรม 4. สงเสรมิ อนุรกั ษว ัฒนธรรม และภมู ิปญ ญาทอ งถ่นิ รวม + ขา ย + เขา + รักษ 7
อยากเปน็ “ครอู าชีวะ” 3) มาตรฐานการปฏบิ ัติตน (จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู 5 ดา น) Code of Ethics of Teaching Profession 1. จรรยาบรรณตอตนเอง 2. จรรยาบรรณตอวชิ าชพี 3. จรรยาบรรณตอ ผูร ับบริการ 4. จรรยาบรรณตอ ผรู วมประกอบวชิ าชีพ 5. จรรยาบรรณตอสงั คม ตน + ชพี + รับ + รว ม + คม 8
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: