ACTIVE Learning
จัดทำโดย นำงสำวชนสิ รำ พมิ ทุม รหัส 63031030133
การเรียนรู้แบบแลกเปลี่ยนความคิด (Think-Pair-Share)
การเรยี นรแู้ บบแลกเปลี่ยนความคิด (Think-Pair-Share) คอื การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทใ่ี ห้ ผู้เรียนคิดเก่ียวกับประเด็นท่ีกาหนดแต่ละคน ประมาณ 2-3 นาที (Think) จากนน้ั ให้แลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อนอีกคน 3-5 นาที (Pair) และนาเสนอ ความคิดเหน็ ต่อผ้เู รียนทง้ั หมด (Share)
เทคนิคคูค่ ิด (Think Pair Share) เป็นเทคนิคท่ี ผ้สู อน ใชค้ ู่กับวธิ กี ารสอนแบบอื่นเรยี นว่าเทคนิคคคู่ ิด เป็นเทคนิคท่ีผสู้ อนต้ังคาถามหรือกาหนดปัญหาให้แก่ ผู้เรยี น ซึ่งอาจเปน็ ใบงาน กิจกรรม หรอื แบบฝึกหัด และให้ผูเ้ รยี นแตล่ ะคนคดิ หาคาตอบของตนเองกอ่ น แล้วจบั คู่กับเพอื่ นอภิปรายคาตอบรว่ มกนั เมอ่ื ม่ันใจวา่ คาตอบของคนถกู ตอ้ งแลว้ จงึ นาคาตอบไปอธบิ ายให้ เพื่อนท้ังชั้นฟงั
เทคนิคการเรียนรแู้ บบเพอ่ื นค่คู ิด(Think pair Share) เป็นเทคนคิ การเรยี นรู้แบบร่วมมอื ระหวา่ งผ้เู รยี น ๒ คน ที่จับคู่กัน แล้ว ช่วยกนั แบง่ ปันความคดิ ในประเดน็ ปัญหา หลงั จากท่ีรว่ มกนั คดิ เป็นคแู่ ลว้ จงึ นาความรทู้ ่ไี ดไ้ ปเสนอให้เพอื่ นร่วมชนั้ เรียนไดร้ บั ฟงั เพ่อื ให้เกิดการ วิเคราะห์วิจารณ์ผลร่วมกันทั้งชนั้ มขี ั้นตอนดงั น้ี
๑) ผสู้ อนตง้ั ๒) ผู้เรียนแต่ ๓) ผเู้ รียนจบั คู่แบบ ๔) ผเู้ รยี นคนใดคน ประเด็นปญั หา ละคนหาคาตอบ คละความสามารถ หนึ่งสามารถอธบิ าย สัน้ ๆ หรอื ด้วยตนเองโดย ใหร้ ว่ มกนั แลกเปลยี่ น คาตอบ นาผลสรปุ โจทย์คาถามกับ ความคดิ ผลัดกนั เลา่ เสนอหนา้ ชั้นเรียน ผเู้ รยี นทง้ั ชั้น ลาพงั อย่าง ให้เพื่อนฟังทั้งชั้น อิสระ สกั 1-2 ความคิดหรือ คาตอบของตน เพ่อื หาข้อสรปุ นาที ใหเ้ พ่อื นฟัง จนได้ ของประเดน็ คาถาม ข้อสรุปท่เี ห็นพอ้ งกนั จากผ้เู รยี นทัง้ ชน้ั
เทคนิคกำรเรยี นรู้แบบเพือ่ นคู่คิด (Think pair Share)ประกอบ ดว้ ย ๓ ส่วน ดงั ไดอะแกรมตอ่ ไปน้ี
๑) Think เป็นข้ันตอนทีก่ ระตุน้ ให้ผเู้ รยี นไดค้ ิดในประเดน็ ปญั หาตา่ งๆการกลา่ วนาถงึ สาระสาคัญของบทเรียนรวมท้งั การแนะนาให้ผู้เรยี นไดค้ ิดถงึ เร่อื งท่ีจะต้อง ๒)Pair ศกึ ษาในขั้นตอนตอ่ ไป ในขั้นน้ีจะตอ้ งดาเนินการท้งั ชัน้ เรยี น เพื่อให้ ผูเ้ รยี นทงั้ หมดเกิดความคิดร่วมและประสานความคิดให้เป็นไปในทิศทาง เดยี วกัน เปน็ ข้นั ตอนทจ่ี ดั ใหผ้ ู้เรยี นจบั กนั เป็นคู่ ๆเพือ่ ใหแ้ ต่ละกลุม่ รว่ มกันศกึ ษา บทเรยี นแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและสร้างสรรค์กจิ กรรมการเรยี นร่วมกันให้ สามารถศึกษาบทเรยี นไดส้ าเรจ็ ลุลว่ งและสามารถค้นหาคาตอบของประเด็น ปัญหาท่ีต้องการได้ การเรยี นรใู้ นข้ันตอนนี้เก่ยี วข้องกบั การเรียนรขู้ อง ผ้เู รยี น ทปี่ ระกอบดว้ ย ๔ ขั้นตอนยอ่ ย ๆดงั นี้
๔ ข้นั ตอน ๑) Motivation ขนั้ ตอนการนาเขา้ สู่บทเรยี น ๒) Information ขน้ั ตอนการศกึ ษาเนอ้ื หาบทเรยี น โดยใช้ บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยทพี่ ัฒนาข้นึ หรอื จากใบความรู้ ๓) Application ขัน้ การทดสอบความสาเร็จใน การเรียนรู้ ๔) Progress ข้ันตอนการประเมนิ ผล ความสาเรจ็ ทางการเรียนของผ้เู รยี น
๓) Share เป็นขนั้ ตอนสดุ ทา้ ย หลังจากการศกึ ษาบทเรยี นแลว้ โดยการทาการสลายกลมุ่ ผเู้ รยี นทจ่ี บั กนั เปน็ คแู่ ลว้ สรปุ ผลการคน้ หา คาตอบรว่ มกนั ทงั้ ชนั้ อกี ครง้ั หนง่ึ เพอื่ แลกเปลยี่ นความรู้ สรุปผล และอภปิ รายผลการคน้ พบจากการศกึ ษาบทเรยี นในขน้ั ตอนทผ่ี า่ น มารวมทงั้ ใหข้ อ้ สรปุ หรอื เสนอแนะใดๆตอ่ ผสู้ อนได้
ประโยชนข์ องรูปแบบการสอน เทคนิคคคู่ ิด (Think Pair Share) 1. ชว่ ยให้นกั เรยี นคดิ เป็นรายบุคคลเกี่ยวกับประเดน็ ที่ ถามหรือคาตอบ 2. ช่วยให้นกั เรยี นแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ กับเพ่อื นร่วม หอ้ งและฝึกทกั ษะส่ือสารการพูด 3. ชว่ ยเนน้ ความสนใจและการมีส่วนร่วมให้เข้าใจใน เรอ่ื งทเี่ รียน 4. สามารถนาไปใชเ้ พื่อเปน็ การตรวจสอบความรู้เดิม หรือความรู้ ความเขา้ ใจในเร่อื งท่ีเรียน 5. สามารถนาไปใช้กบั นกั เรียนเป็นรายบุคคล ใช้กบั นกั เรียนกลุ่มยอ่ ยหรอื ใช้กบั นกั เรียนทง้ั หอ้ งเรยี นก็ได้ 6. สามารถนาไปใช้สอนกบั ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
เหตผุ ลทีใ่ ชว้ ธิ ีแบ่งปันความคิด o ผู้สอนตอ้ งการใหผ้ ้เู รยี นสามารถพูดถึงเรื่องท่กี าลงั o เมอ่ื ผเู้ รียนได้คาถาม ผเู้ รียนแตล่ ะคนจะตอ้ งคิด เรียนอยไู่ ด้อยา่ งเข้าใจ แต่ผสู้ อนไมต่ ้องการให้ อย่างเงียบๆ ซึ่งข้อนจี้ ะทาให้ ผู้เรียนแต่ละคนได้ ผเู้ รยี นคดิ อยา่ งอิสรเสรโี ดยไมม่ ีข้อจากดั วิธี คิดจรงิ ๆ เปน็ ช่วงเวลาท่ผี ู้เรียนจะเงียบและคดิ แบง่ ปนั ความคดิ จะเป็นเคร่ืองมอื ทชี่ ว่ ยให้ ผสู้ อนสามารถตัดปัญหาผเู้ รยี นทีช่ อบตะโกนตอบ วัตถปุ ระสงค์นบี้ รรลไุ ด้ เพราะ วธิ ีแบ่งปันความคิด เมือ่ ผู้สอนถามเสร็จ และจะทาให้ผู้เรยี นคนอน่ื จะปิดขอ้ จากัดน้นั ผเู้ รยี นจะต้องทาตามขบวนการ ไม่ไดค้ ิดก็จะไม่สามารถทาได้ เนอื่ งจากผู้สอนได้ ทีจ่ ะจากัดการคิดและพฤติกรรมทน่ี อกเหนอื จากส่ิง ตั้งคาถามข้ึนมาและให้ผเู้ รียนทุกคนคิดคาตอบ ซง่ึ ท่สี ง่ั โดยผ้เู รียนต้องแบง่ ปันความคดิ กบั คู่หกู อ่ น จะแตกต่างจากทผี่ ู้สอนได้ตั้งคาถามขน้ึ มาแลว้ เรียก แล้วยังตอ้ งแบง่ ปันกบั เพอื่ นร่วมหอ้ งอกี รอบและ ใหผ้ เู้ รียนแต่ละคนตอบ โอกาสที่ผูเ้ รียนทกุ คนจะ ด้วยเหตผุ ลของกระบวนการแรก (คดิ ) ไดต้ อบมีนอ้ ยกว่า
และเป็นไปได้วา่ อาจมีบางคนไมไ่ ดต้ อบเลย ผลกค็ ือผเู้ รียนผูน้ ้อี าจไมไ่ ด้คิดเลย ผู้เรียนที่ไม่ คอ่ ยจะตอบคาถามก็จะไมค่ ดิ ตาม แต่ในวิธีน้ี ผเู้ รียนจะต้องคิดเพราะจะตอ้ งไปแบ่งปัน คาตอบหรือความคิดกับคูห่ ู ในขณะที่ผเู้ รยี นคดิ กันเป็นคู่ ๆ ผูเ้ รียนแต่ละคู่จะต้องบอกความคิด ของผ้เู รียนออกไปให้คู่หูทราบ ผู้เรยี นท่ีไม่เคยพูดเลยในห้องเรียนกจ็ ะมโี อกาสไดพ้ ดู เหตผุ ลท่ีผเู้ รียนไมพ่ ูดอาจเปน็ เพราะเขาคิดว่าคาตอบของเขาผิดหรอื ไม่ดี ซึง่ เมื่อผ้เู รยี นได้ พดู ออกไปแล้วกจ็ ะทราบว่าผเู้ รยี นคดิ ไปเองทัง้ ตอนที่พูดหนา้ ช้ันและตอนทีพ่ ูดกบั คหู่ ู
และเม่ือผู้เรียนต้องบอกคาตอบหน้าห้อง ผู้เรียนก็ ต้องอธิบาย อย่างประณีตอย่างเป็นระเบียบ สิ่งน้ีกจ็ ะช่วยในการฝึกฝนการพูด ให้ผ้อู ืน่ ฟงั ด้วย
Do you have any question?
Active Learning
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: