การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาและการเผยแผ่ พระไตรปฎิ กเข้าสูป่ ระเทศไทยในยคุ แรก
จุดประสงค์การเรียนรู้ – อธบิ ายคุณค่าและความสาคญั ของการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาและการเผยแผพ่ ระไตรปิฎก เขา้ สปู่ ระเทศไทยได้
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาและการเผยแผพ่ ระไตรปิฎก เข้าสู่ประเทศไทยในยุคแรก Oพระพทุ ธศาสนาได้เผยแผ่เข้าส่ปู ระเทศไทย พร้อมกบั การเผยแผ่พระไตรปิฎกในยุคแรก แบง่ ออกเป็น 4 ยุค O ยคุ เถรวาท O ยคุ มหายาน O ยคุ เถรวาทแบบพุกาม O ยุคเถรวาทแบบลังกาวงศ์
ยคุ ที่ 1 ยคุ เถรวาท • เปน็ ยคุ สมยั พระเจ้าอโศกมหาราช พระพุทธศาสนามีความ เจริญรุ่งเรอื งมาก • มีการสง่ สมณทูตออกไปเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนารวม 9 สาย • พระสมณทูตสายท่ี 8 มีพระโสนเถระ และพระอุตตรเถระเดนิ ทางมา สุวรรณภูมิ พระบรมราชานสุ าวรยี ์ พระเจ้าอโศกมหาราช
หลักฐานเกย่ี วเนอ่ื งกับ พระพุทธศาสนาท่คี ้นพบ - สถูปสาญจี - กวางหมอบ และธรรมจักร
ยุคที่ 2 ยคุ มหายาน (ประมาณ พ.ศ.620) • พระเจ้ากนษิ กะมหาราชทรงอุปถัมภก์ ารทาสงั คายนาครง้ั ท่ี 4 ของฝ่ายนกิ ายมหายาน ทเ่ี มืองชลันธร • ไดส้ ง่ พระสมณทตู ออกเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาฝ่ายมหายานใน เอเชยี กลาง จนถงึ ประเทศจีน จากประเทศจีนมาสู่อาณาจกั ร อ้ายลาว • ในปี พ.ศ.1300 กษตั ริย์ศรีวชิ ัย แห่งเกาะสุมาตราขยายอานาจ เขา้ สดู่ นิ แดนไทยตอนใต้ ทาให้พระพทุ ธศาสนาเจรญิ รุง่ เรอื งใน ดินแดนแถบน้ี
พระพทุ ธรูป พระโพธสิ ตั ว์ พระโพธสิ ัตวอ์ วโลกเิ ตศวร อวโลกเิ ตศวร ศิลปะศรีวชิ ัย พระพมิ พ์ตา่ ง ๆ ในระหวา่ งปี พ.ศ.1454-1725 ขอมซง่ึ นบั ถอื พระพุทธศาสนานิกายมหายาน มอี านาจครอบครองดินแดนประเทศไทย ทกุ วันนไ้ี ว้ในอานาจทง้ั หมด ส่งผลให้ ศาสนาพทุ ธนกิ ายมหายานแผข่ ยายไปด้วย
ยคุ ที่ 3 ยุคเถรวาทแบบพุกาม พ.ศ.1600 พระเจ้าอนุรุทธมหาราช เจ้าเมือง พุกามแห่งประเทศพม่าได้แผ่ขยายอาณาเขตมาถึง ดินแดนตอนเหนือของไทย คือ ล้านนา ลพบุรี และ ทวารวดี ทาใหศ้ าสนาพทุ ธแบบพุกามเข้ามามีอิทธิพล ต่อคนไทยแถบน้นั ดว้ ย
ยคุ ท่ี 4 ยุคเถรวาทแบบลงั กาวงศ์ พ.ศ.1698 พระเจ้าปรกั กมพาหุ แหง่ ประเทศลงั กา ทรงฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนา ทรงอาราธนาพระมหากสั ปะให้ชาระพระธรรมวินัย พระพุทธศาสนาจงึ กลับมาเจรญิ ร่งุ เรอื งขน้ึ ชาวต่างชาติไดเ้ ขา้ มาศึกษาเลา่ เรยี นพระไตรปิฎก และเขา้ รบั การอปุ สมบท พระพทุ ธศาสนาแบบลงั กาวงศ์ได้เขา้ มาตั้งม่ันที่เมอื ง นครศรธี รรมราชเป็นคร้ังแรก
การเผยแผ่พระไตรปฎิ ก ตัง้ แตส่ มัยสุโขทัยถึงปจั จุบนั สมัยสโุ ขทัย (พ.ศ.1800-1920) ทรงอาราธนาพระสงฆ์ มาจากเมือง นครศรีธรรมราช พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช
ความเจรญิ รุ่งเรอื งของพระพทุ ธศาสนา ในสมัยสุโขทยั พระศรีศากยมุนี วัดมหาธาตุ
พระราชนพิ นธข์ อง พระยาลไิ ท เมื่อพระยาลิไทขึ้นครองราชย์ (พ.ศ.1897) ไดน้ ิมนต์พระสงฆ์ชาวลังกา นามวา่ พระสวามีสงั ฆราช เข้ามาสกู่ รุงสโุ ขทัย
สมัยลา้ นนา สมยั พระเจา้ กอื นา : ไดน้ ิมนต์ พระสงั ฆราชสมุ นเถระจากพระยาลไิ ท มาเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา สมัยพระเจ้าตโิ ลกราช : ทรงส่ง คณะสงฆ์ไปศกึ ษาพระพุทธศาสนาที่ ศรลี ังกา และทรงอุปถัมภก์ ารทา สังคายนาท่วี ัดโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) สมัยพระเมอื งแก้ว : เป็นยุครุง่ เรืองของ วรรณคดี มีพระสงฆแ์ ตง่ ตาราทาง พระพุทธศาสนาเปน็ จานวนมาก
สมัยอยุธยา สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช • ผนวชในขณะทคี่ รองราชย์อยู่ที่ วัดจฬุ ามณี เมอื งลพบรุ ี • แต่งหนังสือเก่ียวกับพระพุทธศาสนา เชน่ มหาชาตคิ าหลวง กาพย์มหาชาติ พระ มาลัยคาหลวง นนั โทปนันทสตู ร ปุณโณวาทคาฉันท์
สมัยพระเจา้ อยู่หัวบรมโกศ กษัตรยิ ล์ งั กาไดส้ ่งทตู มาขอพระสงฆจ์ ากประเทศไทย พระอบุ าลี และพระอรยิ มนุ ี พรอ้ มดว้ ยคณะสงฆ์ จานวน 12 รปู ไปลงั กา เพอ่ื สืบต่ออายุ พระพทุ ธศาสนาแบบสยามวงศ์ ปรากฏอยู่ในศรีลงั กา จนถงึ ปจั จบุ ัน
สมัยกรงุ ธนบรุ ี สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช มีการรวบรวมพระสงฆ์ ให้มาอย่รู วมกนั ในพระอารามต่าง ๆ มีการประชุมพระสงฆ์ทท่ี รงคณุ ธรรม ณ วดั บางหว้าใหญ่ หรือวดั ระฆงั โฆสิตาราม เพ่ือคดั เลอื กเป็นพระสงั ฆราช พระอาจารยศ์ รี วดั ประดู่ กรุงศรีอยธุ ยา เป็นสมเด็จพระสงั ฆราชองค์แรกของ กรุงธนบรุ ี
สมยั รัตนโกสินทร์ สมยั รชั กาล พระราชกรณียกิจด้านศาสนา - ทรงบรู ณะวดั วาอารามต่าง ๆ - อาราธนาพระสงฆ์ทาการ สงั คายนาพระไตรปิฎกท่ีวดั - มหาธาตุ สรา้ งหอมณเฑียรธรรมใน พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช พระบรมมหาราชวังเป็นทีเ่ ก็บ รกั ษาพระไตรปฎิ ก
สมัยรัชกาล พระราชกรณยี กจิ ด้านศาสนา พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั - ทรงโปรดเกลา้ ฯ ให้อญั เชญิ พระบรมสารีรกิ ธาตุ และตน้ พระศรมี หาโพธ์จิ ากศรลี งั กา มาประดิษฐานที่ประเทศไทย - ส่งพระสงฆจ์ านวน 7 รปู ไปสืบตอ่ พระพุทธศาสนา ทป่ี ระเทศศรีลังกา
สมยั รัชกาล พระราชกรณยี กิจด้านศาสนา - ทรงโปรดให้รวบรวม พระไตรปฎิ กฉบับตา่ ง ๆ เพือ่ นามาเปรยี บเทยี บ และ ตรวจสอบกับฉบบั ของไทย - คณะสงฆ์ธรรมยตุ นิ กิ ายเกดิ ข้นึ ใน สมัยรชั กาลนี้ โดยพระภิกษุ เจ้าฟา้ มงกฎุ ทรงรเิ ร่มิ พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว
สมัยรัชกาล พระราชกรณยี กจิ ดา้ นศาสนา - ทรงสง่ เสรมิ พระวนิ ยั และ การศึกษาของคณะสงฆด์ ้าน ปรยิ ตั ิธรรม - การปกครองของคณะสงฆ์มี ความเจรญิ รุง่ เรอื งมากขน้ึ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั
สมยั รัชกาล พระราชกรณยี กิจด้านศาสนา - เสดจ็ ออกผนวชในขณะครองราชย์ และบริจาคพระราชทรัพยจ์ ดั พิมพ์ พระไตรปิ ฎกฉบบั บาลี แปลเป็น อกั ษรไทยเป็นคร้ังแรก - อญั เชิญพระบรมสารีริกธาตุที่ประเทศ อินเดียถวายใหม้ าประดิษฐานไวท้ ่ี บรมบรรพต วดั สระเกษ - ทรงสถาปนามหาวทิ ยาลยั สงฆข์ ้ึน 2 แห่ง (มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราช- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั วทิ ยาลยั และ มหาวิทยาลยั มหาจุฬา- ลงกรณราชวทิ ยาลยั )
สมยั รัชกาล พระราชกรณียกจิ ด้านศาสนา - ทรงส่งเสริมให้ พทุ ธศาสนิกชนสนใจใน พระพทุ ธศาสนา - พระราชนิพนธเ์ รื่อง พระพทุ ธเจา้ ตรัสรู้อะไร และเทศนาเสือป่ า พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎกล้าเจ้าอยู่หัว
สมยั รชั กาล พระราชกรณียกิจดา้ นศาสนา พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว - ทรงบรจิ าคพระราชทรัพยจ์ ดั พมิ พ์ พระไตรปิฎกฉบบั บาลีเป็น อักษรไทย - จดั ใหม้ กี ารประกวดแตง่ หนังสือ สอนพระพุทธศาสนาสาหรบั เดก็ - โปรดเกล้าให้จัดพมิ พ์พระไตรปฎิ ก เป็นชุด 45 เล่ม เรียกว่า “พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ”
สมยั รัชกาล พระราชกรณียกจิ ด้านศาสนา - โปรดเกล้า ฯ ใหแ้ ยกการแปล หนังสอื พระไตรปิฎกออกเปน็ 2 ประเภท คือ แปลโดย อรรถ และแปลโดยสานวนเทศนา - มีการออกพระราชบญั ญัติของ คณะสงฆ์ฉบบั พ.ศ.2484 พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
สมยั รชั กาล พระราชกรณยี กิจดา้ นศาสนา - ทรงผนวชท่ีวดั พระศรีรตั นศาสดาราม กอ่ นเสด็จมาประทบั ทวี่ ดั บวรนเิ วศวหิ าร - พระราชนพิ นธ์หนงั สอื เรอ่ื ง พระมหาชนก - ทรงเป็นศาสนปู ถัมภกของ พระพุทธศาสนา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: