๒หน่วยการเรียนรู้ท่ี หลกั ธรรมในกรอบอริยสจั ๔ ท่มี า : บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากัด : ๑๔๒ ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพฯ ๑๐๒๐๐ Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : ๐๒ ๖๒๒ ๒๙๙๙ โทรสาร : ๐๒ ๖๒๒ ๑๓๑๑-๘ [email protected] / www.aksorn.com
พระรัตนตรยั • แกว้ อนั ประเสรฐิ ๓ ประการ ได้แก่ พทุ ธรัตนะ ธรรมรตั นะ สงั ฆรัตนะ ท่เี รยี กว่ารตั นะ เพราะเป็นสิง่ ประเสริฐ ความหมายของพระรัตนตรยั พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ • สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ซึ่ง • เป็นความจรงิ ท่มี อี ยโู่ ดย • กลุ่มชนที่เล่ือมใสในคาสอนของ ทรงค้นพบสัจธรรมด้วยพระองค์เองแลว้ ธรรมชาตเิ มือ่ พระพทุ ธเจา้ ทรง พระพุทธเจา้ แล้วออกบวชมีหนา้ ทศ่ี ึกษา ทรงประกาศสงั่ สอนสรรพสัตว์เพ่ือช่วย คน้ พบแล้วจึงทรงนามาสัง่ สอน ปฏบิ ตั ติ าม และเผยแผ่หลกั ธรรมทาง ใหห้ ลุดพ้นจากความทุกข์ แกส่ รรพสัตว์ พระพุทธศาสนา
คุณของพระรตั นตรัย พระปัญญาคณุ พระบรสิ ทุ ธิคณุ พระกรุณาคุณ พระปญั ญาของพระพทุ ธองคผ์ า่ นการ ความบรสิ ุทธิ์หมดจดปราศจากกเิ ลส พระกรณุ าท่ีทรงมีตอ่ สรรพ สตั ว์ทัง้ หลาย พฒั นาจนสามารถดับกเิ ลสได้ และ เปน็ ความบรสิ ทุ ธท์ิ เี่ ป็นผลสืบเนือ่ ง ดว้ ยทรงช่วยเหลอื ใหค้ น้ พบและรอดพ้น สามารถชแี้ นวทางให้สรรพสัตวท์ ้ังหลาย มาจากปัญญาท่ีทาใหจ้ ติ ใจตืน่ จากการ จากความทกุ ข์ พน้ ทุกข์ ได้จรงิ หลับใหลไปตามกระแสของกิเลส
อรยิ สัจ ๔ • หลักความจรงิ ท่เี ป็นธรรมชาตขิ องชวี ิต เป็นหลกั การแสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งเหตแุ ละผล ๔ ประการ ๑ ทกุ ข์ (ความจรงิ ทค่ี วรกาหนดรู้) ๒ สมทุ ยั (ความจรงิ ท่ีควรละ) ๓ นิโรธ (ความจริงทีค่ วรบรรล)ุ ๔ มรรค (ธรรมทคี่ วรเจรญิ )
๑ ทุกข์ (ความจรงิ ทีค่ วรกาหนดร)ู้ • ความจริงว่าด้วยความทุกข์หรอื ปัญหามีหลายประการ ท่คี วรรู้และทาความเข้าใจในเบอื้ งต้น คือ ขนั ธ์ ๕ , โลกธรรม ๘ , จิตและเจตสิก ขนั ธ์ ๕ โลกธรรม ๘ จิตและเจตสิก เป็นองคป์ ระกอบหลกั ของชีวติ สงิ่ ทมี่ ีผลกระทบตอ่ ความรู้สกึ และการ • ไปได้ไกล มี ๕ ประการ รบั รู้ของมนษุ ย์ทั้งในดา้ นบวกและลบ • เท่ยี วไปดวงเดียว • ไม่มีสรรี ะ • รูป • ได้ลาภ-เสอ่ื มลาภ • มีถา้ เป็นที่อาศยั • เวทนา • ได้ยศ-เสอ่ื มยศ • สัญญา • การสรรเสรญิ -การนินทา • สงั ขาร • สขุ -ทกุ ข์ • วญิ ญาณ
๒ สมทุ ัย (ความจรงิ ทค่ี วรละ) • ความจริงว่าดว้ ยเหตเุ กิดแห่งทกุ ข์ การเรียนรู้เรอ่ื งสมุทัย เพื่อจะได้หาหนทางละหรอื บรรเทาเหตแุ ห่งทกุ ข์ หลักกรรม กรรมนยิ าม อุปาทาน ๔ กรรมแบง่ เปน็ ประเภทตา่ งๆ ดังนี้ กฎธรรมชาติวา่ ด้วยการกระทาหรือ ความยึดมั่นถอื ม่นั ดว้ ยอานาจกเิ ลส • หลกั กรรม กฎแห่งกรรม • กรรมจดั ตามหนา้ ทก่ี ารใหผ้ ล • กามุปาทาน - กรรมแบ่งตามพฤตกิ รรม • กรรมจัดตามแรงหนักเบา • ทิฏฐุปาทาน - กายกรรม • สลี ัพพตุปาทาน - วจกี รรม • อัตตวาทปุ าทาน - มโนกรรม - กรรมแบง่ ตามเจตนา - กศุ ลกรรม - อกุศลกรรม - อัพยากตกรรม
วิตก ๓ นิยาม ๕ ปฏจิ จสมปุ บาท เป็นสภาวะทีเ่ กิดขึน้ กับจติ มี ๒ ด้าน กฎที่ควบคุมความเป็นไปในธรรมชาติ หลักธรรมทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ว่าส่ิงทั้งหลาย • กุศลวติ ก ความนึกคดิ ในเรอื่ ง ไมไ่ ด้ดารงอยู่ไดโ้ ดยตวั มนั เอง แต่อาศัยกนั • อตุ นุ ยิ าม เกิดขนึ้ ตัง้ อยู่ และดบั ไป เปรยี บเสมอื น หรอื ส่งิ ทด่ี ี มี ๓ ประการ ไดแ้ ก่ • พชื นิยาม หว่ งโซ่ ๑๒ หว่ ง - เนกขัมมวิตก • จติ นยิ าม - อพยาบาทวิตก • กรรมนิยาม • อวชิ ชา • เวทนา - อวิหงิ สาวิตก • ธรรมนยิ าม • สงั ขาร • ตัณหา • อกศุ ลวิตก ความนึกคดิ ในเรือ่ ง • วญิ ญาณ • อปุ าทาน หรือส่งิ ที่ไมด่ ี มี ๓ ประการ • นามรปู • ภพ ได้แก่ • สฬายตนะ • ชาติ - กามวติ ก • ผัสสะ • ชรามรณะ - พยาบาทวิตก - วหิ งิ สาวิตก
นวิ รณ์ ๕ สิ่งท่ปี ิดกั้นหรือขดั ขวางจิตไม่ใหบ้ รรลคุ ุณความดี มี ๕ ประการ ดงั น้ี • กามฉันท์ • พยาบาท • ถีนมิทธะ • อุทธัจจกุกกุจจะ • วิจกิ ิจฉา
๓ นิโรธ (ธรรมทีค่ วรบรรลุ) • ความดับทุกขห์ รอื ดับปัญหา ถา้ ดบั เหตุได้ความทกุ ข์หรือปัญหาก็จะหมดไป หลกั ธรรมวา่ ด้วยนิโรธมีดังนี้ ภาวนา ๔ วมิ ตุ ติ ๕ นพิ พาน ความหมายตรงกบั คาว่า พฒั นา คอื ความหลดุ พ้นจากกเิ ลส มี ๕ ประการ การดับกเิ ลสและกองทุกข์ เปน็ ภาวะท่ี การพัฒนาคนหรือพฒั นาตนใหม้ ี หลดุ พน้ จากการครอบงาของตัณหาหรอื ความเจริญ • วิกขัมภนวิมุตติ กเิ ลสโดยส้นิ เชงิ มี ๒ ประเภท • ตทังควมิ ตุ ติ • กายภาวนา • สมจุ เฉทวมิ ุตติ • สอปุ าทเิ สสนพิ พาน • ศีลภาวนา • ปฏปิ ัสสทั ธวิ มิ ุตติ • อนุปาทิเสสนพิ พาน • จติ ภาวนา • นสิ สรณวิมตุ ติ • ปัญญาภาวนา
๔ มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ) • ทางปฏบิ ัติให้บรรลถุ งึ ความดับทกุ ข์ ผูใ้ ดปฏบิ ตั ติ ามเง่ือนไขที่กาหนดไวใ้ นมรรคได้อย่างสมบูรณ์ ผู้น้ันกส็ ามารถ ดับทกุ ข์ได้ ในพระพทุ ธศาสนาหลักธรรมที่เกย่ี วกับมรรคมีมากมาย พระสทั ธรรม ๓ พละ ๕ ภกิ ขอุ ปริหาริยธรรม ธรรมของสัตบรุ ุษหรือธรรมท่เี ป็น ธรรมอันเปน็ กาลังในการรักษาจติ ใจ ธรรมท่ีเปน็ ไปเพื่อความเจรญิ เปน็ ธรรม แก่นของศาสนา มี ๓ ประการ และทาลายอกศุ ล มี ๕ ประการ สาหรบั ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดความเสื่อมเสีย • ปริยัติสัทธรรม • ศรทั ธา • การปอ้ งกันความเสื่อมฝ่ายคณะ • ปฏิบตั สิ ัทธรรม • วิรยิ ะ สงฆ์ • ปฏเิ วธสทั ธรรม • สติ • สมาธิ • การปอ้ งกันความเสื่อมฝ่าย • ปญั ญา บ้านเมือง
โภคอาทิยะ ๕ ทศพิธราชธรรม ๑o สาราณยี ธรรม ๖ การใช้ประโยชน์จากทรพั ย์สมบตั ิ ธรรมของพระราชา รวมถงึ ผนู้ า ธรรมอันเป็นที่ตงั้ แห่งความระลึกถงึ กัน ตามความเหมาะสม ผปู้ กครองทุกระดบั มี ๑o ประการ เปน็ การเสริมสร้างความรักและสามัคคี • เล้ยี งดตู นเอง บิดา มารดา ในหม่คู ณะ มี ๖ ประการ บุตร ภรรยา และคนในความดูแล • ทาน ให้ได้รบั ความสุข • ศลี • เมตตากายธรรม • ปรจิ จาคะ • เมตตาวจีกรรม • อาชชวะ • เมตตามโนกรรม • ตบะ • สาธารณโภคี • อักโกธะ • สีลสามัญญตา • อวหิ งิ สา • ทิฏฐสิ ามัญญตา • ขนั ติ • อวโิ รธนะ
วิปสั สนาญาณ ๙ วุฒิธรรม ๔ ปาปณกิ ธรรม ๓ ความเขา้ ใจอยา่ งแทจ้ ริง เป็นความรู้ หลกั ธรรมที่นาไปสคู่ วามเจริญของ หลกั การทางานของผปู้ ระกอบอาชีพ ทีเ่ กดิ จากการปฏบิ ัตสิ มาธิ มี ๙ ปญั ญา มี ๔ ขั้นตอน คา้ ขายควรมคี ณุ สมบัติ ๓ ประการ ประการ • อุทยัพพยานปุ สั สนาญาณ • สปั ปรุ สิ สังเสวะ • จักขมุ า • ภังคานปุ ัสสนาญาณ • สทั ธัมมัสสวนะ • วิธโู ร • ภยตูปัฏฐานญาณ • โยนโิ สมนสิการ • นิสสยสัมปันโน • อาทนี วานุปสั สนาญาณ • ธัมมานุธมั มปฏิบัติ • นพิ พทิ านปุ ัสสนาญาณ • มุญจติ กุ ัมยตาญาณ • ปฏสิ ังขานปุ สั สนาญาณ • สังขารุเปกขาญาณ • สัจจานโุ ลมกิ ญาณ
ทฏิ ฐธมั มิกตั ถสังวัตตนกิ ธรรม อธปิ ไตย ๓ อรยิ วฑั ฒิ ๕ ธรรมท่เี ป็นไปเพือ่ ประโยชนป์ จั จุบนั ปัจจยั สาคญั ทจ่ี ะทาให้ประสบความสาเรจ็ หลักธรรมพืน้ ฐานเพื่อการพฒั นาชวี ิต ทาให้บรรลเุ ป้าหมายไดใ้ นชาตนิ ี้ มี ๔ หรือความลม้ เหลว สอนถงึ รปู แบบการ ทด่ี งี าม มี ๕ ประการ ประการ ปกครองไว้ ๓ ประการ • ศรัทธา • อฏุ ฐานสัมปทาน • อัตตาธิปไตย • ศีล • อารักขสัมปทา • โลกาธิปไตย • สตุ ะ • กัลยาณมิตร • ธรรมาธปิ ไตย • จาคะ • สมชีวิตา • ปัญญา ความรอบรู้
มงคล ๓๘ การปฏบิ ัตติ ามมงคลเพอื่ ใหไ้ ด้มาเพือ่ ความดงี าม อนั จะพาชีวิตใหป้ ระสบแต่ความสขุ ความเจริญ • การสงเคราะห์บุตร • การสงเคราะหภ์ รรยา - สามี • ความสันโดษ • ความเป็นผู้มีจติ ไม่หวนั่ ไหวไปตามโลกธรรม • ความเป็นผมู้ ีจติ ไม่โศกเศร้า • ความเปน็ ผ้มู ีจติ ไม่มัวหมอง • ความเปน็ ผู้มจี ิตเกษม • ความเพียรเผากิเลส • การประพฤตพิ รหมจรรย์ • การเห็นแจง้ ในอริยสัจ • การบรรลนุ พิ พาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: