1
คำ�นำ� รายงานเล่มน้ีจัดทำ�ข้ึนเพื่อเป็นการรายงานผลการดำ�เนินโครงการส่งเสริมสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาใหม้ คี วามเปน็ เลศิ เฉพาะทาง ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ของวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษานครปฐม โดยได้รับอนุมัติงบประมาณจากสำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในการดำ�เนินกิจกรรม โครงการภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์ เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากร มนษุ ย์ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าการดำ�เนินกิจกรรมภายใต้โครงการส่งเสริมสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้มี ความเป็นเลศิ เฉพาะทาง ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จะประสบความส�ำ เร็จตามเปา้ หมายทคี่ าด หวังไว้ โดยไดร้ ับความรว่ มมือของทุกฝา่ ยท่ีเก่ยี วขอ้ ง จึงขอขอบคุณผู้มสี ่วนร่วมทกุ ทา่ นไว้ ณ โอกาสนี้ วิทยาลยั อาชวี ศึกษานครปฐม ทปี่ รึกษา รกั ชาติ ผอู้ ำ�นวยการ นายวุฒชิ ยั ล�ำ ไธสง รองผู้อำ�นวยการฝ่ายแผนงานและความรว่ มมอื นางชาพมิ ญช์ เอกสินทิ ธ์กุล รองผู้อำ�นวยการฝา่ ยวิชาการ นางสาวพชั รา คณะกรรมการด�ำ เนินงาน ยิม้ เจรญิ นางสาวชลดั ดา ยมิ้ เยอื้ น นางศรพี ตั รา เตชะศริ ินุกลู นายธรี วุฒิ ชอบปา่ รงั นางสาวปยิ วรรณ กรุดพศิ มยั นายทรงพล โพธหิ์ ิรัญ นายพศิ มัย ศริ ฤิ กษ ์ นางสาวช่อทพิ ย ์ นางสาววารณุ ี มงคลหัตถี ออกแบบรูปเลม่ เอกสินิทธก์ ลุ นางสาวพชั รา แกว้ นรา นางสาวพรจณา 2
วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐมได้รับเลือกให้เป็นสถานศึกษา เฉพาะทางด้านอาหารและโภชนาการ โดยวิทยาลัยฯ ได้ดำ�เนินกิจกรรม ที่หลากหลายและมีผลงานมากมายทางด้านอาหาร ซึ่งเป็นที่ประจักษ์สู่ สาธารณชนไม่ว่าจะเป็นผลงานของครูและนักศึกษา รวมถึงมีห้องปฏิบัติ การและครุภัณฑ์ที่ครบครันทันสมัย คณะผู้บริหารและครูผู้สอนทุกท่าน ได้ร่วมกันพัฒนาและเสริมสร้างทักษะประสบการณ์ด้านวิชาชีพอาหารให้ กบั ผเู้ รยี นเพอื่ ให้ผู้เรียนมีคุณภาพ ทั้งนี้วิทยาลัยอาชีวศกึ ษานครปฐมได้ จัดทำ�หนังสือรายงานเพื่อเผยแพร่ผลการดำ�เนินงานโครงการสถานศึกษา เฉพาะทางดา้ นอาหารและโภชนาการ ปงี บประมาณ 2563 เพอ่ื เผยแพร่ ความรใู้ ห้กบั ผู้สนใจดา้ นการท�ำ อาหารประเภทตา่ งๆ กวา่ 40 ชนดิ ให้กบั วทิ ยาลยั ต่างๆ ในสังกดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานผลการดำ�เนินโครงการเล่มน้ีจะเป็น ประโยชน์ต่อผู้ทส่ี นใจและนำ�ไปเผยแพร่ตอ่ ผู้เรียนสืบต่อไป นายวฒุ ิชัย รกั ชาติ ผูอ้ �ำ นวยการวิทยาลัยอาชวี ศึกษานครปฐม Nakhon Pathom Vocational College was selected excellentcenter college of Food and Nutrition. Our college has many activities and outstanding food products in public of teachers and students that including food laboratory and fully modern equipment. Our administration and teachers collaborated to support and develop of food profession skills for students to be high-quality skills. So, our college created books for spreading knowledge and people who are interested in making food that we provided difference types about 40 recipe foods for the colleges of Vocational Education. I hope that this journal is a benefit for interested people and give the knowledge for students. Wuttichai Rakchard Diector of Nakhonpathom Vocational College 3
CสาOรบNญั TENTS The overall operation report of Excellent Center College of Food and Nutrition project in fiscal year 2020 at Nakhon Pathom Vocational College. 4
6 รู้จักเรา “สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ” I am Foods and Nutrition. 10 สถานศกึ ษาเฉพาะทางด้านอาหารและโภชนาการ Excellent Center of Foods & Nutrition. 13 โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารอาหารรว่ มสมยั ในรปู แบบนวิ นอร์มอล Contemporary food workshop project In New Normal style. 19 โครงการชดุ ส่อื การสอนออนไลน์ Multimedia Online Project. 24 ขนมไทย 26 อาหารนานาชาติ 27 อาหารว่าง 29 เบเกอรี่ 5
Nakhonpathom รIจู้ aกั mเราFo“oสdาขs าaวnชิ dาอNาuหtาriรtแioลnะโภชนาการ” วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐมได้รับเลือกให้เป็นสถานศึกษาเฉพาะ ทางด้านอาหารและโภชนาการ โดยวิทยาลัย ฯ ได้ดำ�เนินกิจกรรมที่หลาก หลายและมีผลงานมากมายทางด้านอาหารเป็นที่ประจักษ์สู่สาธารณชน ไม่ว่า จะเป็นผลงานของครูและนักศึกษา รวมถึงการมีห้องปฏิบัติการและครุภัณฑ์ที่ ครบครันและทันสมัย คณะผู้บริหารรวมทั้งครูผู้สอนทุกท่านได้ร่วมกนั พัฒนา และเสรมิ สรา้ งทกั ษะประสบการณด์ า้ นวชิ าชพี อาหารใหก้ บั ผเู้ รยี นเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี น มคี ุณภาพ ทั้งนี้วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐมจึงได้จัดทำ�หนังสือรายงานเพื่อ เผยแพร่ผลการดำ�เนินงานโครงการสถานศึกษาเฉพาะทางด้านอาหารและ โภชนาการ ปงี บประมาณ 2563 เพื่อเผยแพร่ความร้ใู หก้ ับผูส้ นใจดา้ นการทำ� อาหารประเภทตา่ งๆ กว่า 40 ชนิด ให้กบั วทิ ยาลัยต่างๆ ในสังกดั สำ�นกั งาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ครศู รีพตั รา ยิ้มเจริญ ครชู ่อทิพย์ ศิรฤิ กษ์ ต�ำ แหนง่ ครชู �ำ นาญการพเิ ศษ ต�ำ แหนง่ ครชู �ำ นาญการพเิ ศษ ครวู ราภรณ์ ชำ�นาญการ ครชู ลัดดา ยิม้ เยอื้ น ต�ำ แหนง่ ครู คศ. 1 ตำ�แหน่ง ครู คศ. 1 ครปู ยิ วรรณ เตชะศริ นิ กุ ูล ครธู ีรวุฒิ ชอบปา่ รงั ตำ�แหน่ง พนักงานราชการ ต�ำ แหน่ง พนกั งานราชการ ครูพิศมยั กรุดพศิ มัย ครทู รงพล โพธ์ิหริ ัญ ต�ำ แหน่ง พนกั งานราชการ ต�ำ แหนง่ ครูพเิ ศษสอน 6
ความเป็นมาของสาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ Nakhonpathom วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครปฐมต้ังขนึ้ เมอ่ื วันท่ี 1 ธันวาคม 2477 ชื่อ “โรงเรยี น วิสามญั การช่าง” โดยใช้สถานที่โรงเรียนรวมกับโรงเรียนสตรีฝึกหัดนครปฐม สถานท่ตี ้งั เลขท่ี 90 ถนนเทศา อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั นครปฐม มเี นือ้ ท่ี 13 ไร่ 76 ตารางวา พ.ศ. 2507 เปิดแผนกวิชาอาหารและโภชนาการ โดยโรงเรียนการช่างสตรไี ด้ เขา้ เปน็ โรงเรียนในโครงการยนู ิเซฟตามหลักสตู รทีป่ รบั ปรุงใหม่ พ.ศ. 2520 เปิดรับนักศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชั้นสงู แผนกวชิ า อาหารและโภชนาการ ภาคนอกเวลา พ.ศ. 2552 เปดิ รับนักเรยี นระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี แผนกวิชาอาหารและ โภชนาการ ระบบทวิภาคี พ.ศ. 2556 เปดิ รับนักเรยี นระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู แผนกวชิ า อาหารและโภชนาการ ระบบทวภิ าคี พ.ศ. 2559 เปิดรบั นักศึกษาระดบั เทคโนโลยีบัณฑิต (ปรญิ ญาตรี ทล.บ.) สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ ระบบทวิภาคี หลักสตู รทเ่ี ปดิ สอน มี 3 ระดบั คอื ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้นั สูง ระดับเทคโนโลยีบัณฑิต (ปริญญาตรี ทล.บ.) ปรัชญาของวชิ าอาหารและโภชนาการ “ เรียนร้จู รงิ ท�ำ ได้ เขา้ ใจชวี ติ พฒั นาเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตรุ่งเรือง” วสิ ยั ทศั นข์ องแผนกวิชาอาหารและโภชนาการ มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้มีความสมบูรณ์พร้อมด้วย รา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา ความรู้ ความสามารถ ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ คา่ นิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม กา้ วทนั เทคโนโลยี สามารถด�ำ รงตนอยา่ งมคี วามสขุ บนพน้ื ฐานเศรษฐกจิ แบบพอเพียงและเป็นศูนย์กลางของความรู้ด้านวิชาชีพสู่ ชุมชน 7
Nakhonpathom อตั ลกั ษณข์ องสาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วิชาชีพเดน่ บรกิ ารดี มีน�ำ ้ ใจ พันธกิจของสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 1. จดั การเรยี นการสอนให้สอดคล้องกับความสามารถความถนดั และ ความสนใจของผเู้ รยี น ใหร้ จู้ กั คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ สรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ มุ่งสู่ความเป็นเลิศตามศักยภาพในด้านวิชาชีพ รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 2. พฒั นาหลกั สูตรท่ียดื หยุ่นและสอดคล้องกับความตอ้ งการของชุมชน และใหช้ มุ ชนมสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาท่ีมุง่ เน้นคณุ ลักษณะที่พึงประสงคข์ อง ผเู้ รยี น มคี วามเป็นไทย นำ�ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นมาประยุกต์ 3. พฒั นาระบบการท�ำ งานของแผนกอาหารและโภชนาการใหม้ คี ณุ ภาพ และได้มาตรฐานตามกระบวนการประกันคุณภาพโดยมีการตรวจสอบนิเทศและ ตดิ ตามผล 4. สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนจดั สภาพแวดล้อมดูแลรักษาความสะอาดอาคารเรียน เปา้ ประสงคส์ าขาวชิ าอาหารและโภชนาการ 1. นักเรียนนักศกึ ษามที ักษะวชิ าชีพ มคี วามคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ทนั ต่อ เทคโนโลยี นำ�ไปใชเ้ พอื่ เป็นประโยชนก์ บั การด�ำ รงชีวติ ในปจั จบุ นั 2. สร้างโอกาสสรา้ งอาชีพ มีรายไดร้ ะหวา่ งเรียนมคี วามสัมพนั ธต์ อ่ ชุมชน นำ�ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ มาประยุกตใ์ ชต้ ามแนวทางหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. นกั เรียนนักศึกษามแี นวทาง มีความพร้อมในวชิ าชีพสามารถศึกษาตอ่ ในสถาบันการศกึ ษาทสี่ งู ข้ึนหรอื เข้าสสู่ ถานประกอบการเพอ่ื ประกอบอาชีพ ดว้ ย ความมนั่ ใจ 4. นักเรียนนักศึกษามคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมทดี่ งี าม มีจรรยาบรรณ ในวชิ าชพี มีบคุ ลกิ ภาพทีเ่ หมาะสมและมีมนษุ ยส์ ัมพนั ธท์ ี่ดีในสังคม 8
ตัวชว้ี ดั Nakhonpathom ตวั ชว้ี ัดท่ี 1 ผสู้ �ำ เร็จการศกึ ษาที่ได้งานทำ�หรือประกอบอาชีพอิสระหรือศกึ ษาตอ่ ในสาขาท่ี เกยี่ วขอ้ งภายใน 1 ปี ตัวชว้ี ดั ที่ 2 ผู้เรยี นมีความรู้และทักษะทจ่ี ำ�เปน็ ในการทำ�งาน ตวั ชี้วัดท่ี 3 ผเู้ รยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมินมาตรฐานทางวิชาชพี จากองคก์ รทีเ่ ป็นท่ียอมรับ ตวั ชว้ี ัดที่ 4 ผลงานทีเ่ ป็นโครงงานทางวิชาชพี หรือสงิ่ ประดษิ ฐข์ องผู้เรียนท่ไี ด้นำ�ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วดั ท ่ี 5 ผลงานท่เี ป็นนวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์หรืองานวจิ ยั ของครูท่ีไดน้ �ำ ไปใช้ ประโยชน์ ตวั ชี้วัดท ี่ 6 ผลการใหบ้ รกิ ารวิชาการหรือวิชาชีพทีส่ ง่ เสรมิ การพฒั นาทักษะของผเู้ รยี น ตัวชี้วัดที่ 7 ผเู้ รยี นได้เรยี นร้จู ากประสบการณ์จริง ตวั ชี้วัดที่ 8 ผู้เรียนสามารถวางแผนธรุ กิจ ประกอบอาชพี และมรี ายได้ระหว่างเรยี น ตัวชีว้ ดั ที่ 9 ผลการปฏบิ ตั ิหน้าทข่ี องครแู ผนกอาหารและโภชนาการ ตัวชี้วัดท่ี 10 ผลการการบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของแผนกวชิ าอาหาร และโภชนาการ ตัวชีว้ ดั ที่ 11 ผลการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตัวชี้วดั ที่ 12 ผลการสรา้ งการมสี ่วนร่วมในการประกันคุณภาพ ตวั ชี้วัดที่ 13 การพฒั นาแผนกวชิ าอาหารและโภชนาการ จากผลการประเมนิ คุณภาพภายใน ตัวชว้ี ดั ที ่ 14 ผลการพัฒนาตามปรัชญา ปณธิ าน พนั ธกจิ และจดุ เนน้ และจดุ เดน่ ของแผนก วิชาอาหารและโภชนาการ ตวั ช้ีวัดท ่ี 15 ผลการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน ตัวชี้วัดท ่ี 16 ผลการพฒั นาคณุ ภาพครู ตวั ชวี้ ัดท ่ี 17 การพฒั นาแผนกวชิ าอาหารและโภชนาการใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั ที่ 18 การสร้างการมีส่วนร่วม และการขยายโอกาส ทางการศกึ ษา กลยทุ ธ์ 1. พัฒนานักเรยี นนกั ศึกษาให้มีความรู้ ทักษะตามมาตรฐานวชิ าชีพ 2. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนอย่างหลากหลาย 3. สร้างเสริมประสบการณ์วชิ าชีพใหแ้ กน่ กั เรยี น นักศึกษา 4. จดั กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมแกน่ กั เรยี น นักศกึ ษา 5. จดั การเรยี นรูด้ ว้ ยส่อื การเรียนการสอนโดยใชร้ ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร 9
วิทยาลยั อาชีวศึกษานครปฐม EสxถcาeนlศleึกnษtาCเฉeพnาtะeทr าCงoดl้าleนgอeาหoาfรแFoลoะโdภชaนnาdกาNรutrition. จากยุทธศาสตรแ์ ผนการศกึ ษาชาติ พ.ศ. 2560-2574 ยุทธศาสตร์ที่ 8 การผลติ และพฒั นากำ�ลังคนเพือ่ ประเทศ และการแข่งขันในศตวรรษท่ี 21 การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยโ์ ดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะท่ีจำ�เป็น ให้กับก�ำ ลังคนในประเทศให้สามารถปรบั ตวั ได้ทนั ตอ่ กระแสความเปลย่ี นแปลง การแขง่ ขนั อย่างเสรแี ละไรพ้ รมแดน รวม ถึงการสามารถสร้างมูลค่าเพ่ิมด้านเศรษฐกิจและสังคมให้แก่ประเทศได้จึงเป็นประเด็นที่ควรตระหนักและให้ความสำ�คัญ อยา่ งยิ่ง ในสถานการณ์ในการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนของสถาบนั การศกึ ษาท่ีมุ่งผลิตตามศกั ยภาพและความพรอ้ มของ แตล่ ะสถาบัน เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของผูเ้ รียนทม่ี ีคา่ นิยมมงุ่ ใบปรญิ ญามากกวา่ ความรู้และสมรรถนะในการทำ�งาน หลกั ส�ำ เรจ็ การศกึ ษา ค่านยิ มในการศกึ ษาสายสามญั ไมน่ ยิ มเรยี นในสายอาชพี เปน็ ผลใหส้ ถาบนั การศึกษาต่าง ๆมงุ่ ผลติ บัณฑติ ในเชงิ ปริมาณมากกว่าคณุ ภาพ สง่ ผลกระทบต่อทักษะ ความรูค้ วามสามารถ และสมรรถนะในการทำ�งานหลังจบการ ศึกษาและสง่ ผลกระทบกวา้ งกอ่ ให้เกิดปญั หาการว่างงานของบัณฑติ และแรงงานผู้ว่างงาน ปญั หาการทำ�งานต�ำ่ กวา่ ระดบั การศกึ ษาปญั หาการขาดแคลนกำ�ลงั คนระดับกลาง ปญั หากาเรียนตอ่ ระดบั บณั ฑติ ระหว่างรอหางานทำ�ในขณะทรี่ ฐั บาล ไม่สามารถกำ�กับการผลิตกำ�ลังคนสถานศึกษาการศึกษาเพ่ือตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนา ประเทศได้ และปัจจยั ทา้ ทายใหมไ่ มว่ า่ จะเป็นประเทศไทย 4.0 ทขี่ ับเคลอ่ื นประเทศดว้ ยนวัตกรรม หรือแม้แต่ประเด็น สว่ นสัดส่วนการลงทนุ ดา้ นการวจิ ัยและการพฒั นาต่อ GDP สดั สว่ นต่อการลงทนุ R&D ของภาคเอกชนและรัฐ จำ�นวน บุคลากรวิจยั และพฒั นา ดังน้ันจึงจำ�เป็นกำ�หนดกรอบทิศทางการผลิตและพัฒนาคนให้ สอดคลอ้ งกับนโยบายรัฐบาลในการสง่ เสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม เปา้ หมายในซุปเปอรค์ ลสั เตอร์ Super Cluster และคลสั เตอรท์ ี่เปน็ ความ ต้องการเร่งด่วนของประเทศท้ังในปัจจุบันและรองรับความต้องการใน อนาคตและเพื่อการพัฒนาประเทศรองรับการแข่งขันในศตวรรษที่ 21 และสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรช์ าตแิ ละยทุ ธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ดังน้ัน ความส�ำ คญั และจ�ำ เปน็ เรง่ ดว่ นของภาคการศกึ ษา คอื การศกึ ษาเพอ่ื ปวงชน ส�ำ หรับประชากร เพื่อเตรียมความพรอ้ มและผลติ ทรัพยากรบุคคลให้มี ศกั ยภาพ มีสมรรถนะในสาขาอาชีพ รองรับตามความต้องการของตลาด แรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ เนื่องจากทรัพยากรบุคคลที่มี ศักยภาพเป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการสร้างสังคมที่มีภูมิปัญญาและการ เรยี นรู้ สร้างสรรค์สิง่ ประดษิ ฐ์ นวตั กรรมตา่ ง ๆ ทีน่ �ำ ไปสู่การเพ่มิ ขีดความ สามารถในการแข่งขัยของประเทศ การอาชวี ศึกษาเปน็ การศึกษาท่ีสำ�คัญ 10
ยิ่งในการจัดเตรียมบุคคลให้มีอาชีพในอนาคตและเพื่อช่วยเหลือให้ผู้มีอาชีพอยู่แล้ว มีความก้าวหน้าในอาชีพของตน การจัดการอาชีวศึกษาทจ่ี ะให้ได้ผลดคี วรมหี ลักสตู ร วิธีการสอนท่ีเหมาะสมกับความก้าวหน้าของนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ของอตุ สาหกรรมและสาขาวชิ านน้ั ทีป่ รชั ญาการจัดการอาชวี ศึกษาทีถ่ ูกตอ้ งเหมาะสม กับสถานการณ์ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม มีเครือ่ งมอื และอุปกรณท์ ี่มคี ุณภาพ จ�ำ นวนท่ี เหมาะสมกับผูเ้ รยี น และผู้สอนมีความรคู้ วามสามารถในวิชาชพี ตลอดจนเขา้ ใจในการ ด�ำ เนินงานดา้ นอาชวี ศกึ ษาเป็นอย่างดี นอกจากน้คี วรจะมผี ู้บริหารและการบริการงาน ท่กี ระท�ำ ตรงตามเปา้ หมาย เพอ่ื ผลิตและพัฒนาก�ำ ลังคนดา้ นอาชวี ศกึ ษาเพื่อรองรับการ เปลยี่ นแปลงและการขยายตวั ของประเทศ เพื่อกา้ วสู่ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นรวมถึง การเปลีย่ นแปลงของสังคมโลก ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา จงึ เหน็ ควรขบั เคลอ่ื นการด�ำ เนนิ การใน การพฒั นาและยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาให้มคี วามเป็นเลศิ เฉพาะทางภายใต้ “โครงการสง่ เสรมิ สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาใหม้ คี วามเปน็ เลศิ เฉพาะทาง” โดยมเี ปา้ หมายพฒั นาสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาทม่ี คี วามเชย่ี วชาญดา้ นวชิ าชพี เฉพาะทาง ใน การผลติ และพฒั นาก�ำ ลงั คนมที ส่ี มรรถนะและมที กั ษะตรงตามความตอ้ งการของประเทศ ภายใตโ้ ครงการ “สง่ เสรมิ สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาใหม้ คี วามเปน็ เลศิ เฉพาะทาง ” วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษานครปฐม ได้รับจัดสรรงบประมาณโครงการส่งเสริมสถาน ศึกษาอาชีวศกึ ษาใหม้ คี วามเปน็ เลิศเฉพาะทาง ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพอื่ ดำ�เนินงานโครงการ/กจิ กรรม ดงั กล่าว จำ�นวน 2 โครงการ/กจิ กรรม ดงั นี้ 1. การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารหลกั สตู รระยะส้ันอาหารรว่ มสมยั ในรูปแบบ New Normal 2. โครงการสรา้ งชดุ สอื่ ออนไลนส์ ง่ เสรมิ การพัฒนาสู่ความเปน็ เลิศทางด้าน การจัดการศกึ ษาเฉพาะทาง 11
oExfcFeolloedntaCnednNteurtrCitioolnle.ge โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการอาหารร่วมสมยั ในรปู แบบ New Normal Contemporary food workshop project In New Normal style. โครงการชุดสื่อการสอนออนไลน์ Multimedia Online Project. 12
โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร อาหารรว่ มสมัยในรปู แบบนวิ นอร์มอล Contemporary food workshop project In New Normal style. 13
โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารอาหารร่วมสมยั ในรูปแบบนวิ นอร์มอล Contemporary food workshop projectIn New Normal style. วิทยาลัยอาชีวศกึ ษานครปฐม ได้ด�ำ เนินการจดั ท�ำ โครงการ/กจิ กรรม ภายใต้โครงการส่งเสรมิ สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาใหม้ ีความเปน็ เลิศเฉพาะทาง ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั กลา่ ว จากงบรายจ่ายอื่น จ�ำ นวน 2 โครงการ/กิจกรรม โดยมีรายละเอียดดงั นี้ 2.1 การอบรมเชิงปฏิบตั ิการหลักสูตรระยะสนั้ อาหารรว่ มสมัยในรปู แบบ New Normal 2.2 โครงการสร้างชดุ ส่ือออนไลนส์ ่งเสรมิ การพฒั นาสูค่ วามเป็นเลิศทาง ดา้ นการจดั การศกึ ษา เฉพาะทาง หลักการและเหตุผล การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านการจัดการศึกษาสาขาอาหารและ โภชนาการสถานศึกษาเฉพาะทางเป็นการดำ�เนินการท่ีจะนำ�ไปสู่เป้าหมายที่จะ ผลติ และพฒั นาด้านก�ำ ลงั คนทางดา้ นอาหารและโภชนาการ ผู้ส�ำ เร็จการศึกษา ทีจ่ ะเข้าส่ตู ลาดแรงงาน ตลาดอาชีพ และบุคคลภายนอก หรอื บคุ คลทางด้าน อาหารและโภชนาการท่ีจะพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพเพ่ิมขึ้นหรือนำ�ไปสู่การ ประกอบอาหารและอาชพี อยา่ งถกู ตอ้ งตามกฏหมาย และสง่ ผลตอ่ การพฒั นา ตนเองตลอดจนเป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาสาขาอาหารและโภชนาการใน ระดบั ภูมภิ าค โดยจัดการศึกษาตง้ั แตร่ ะดบั ปวช. ปวส. และปริญญาตรี ทั้งน้ี โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการระยะส้ันอาหารร่วมสมัยยุคนิวนอมอร์เป็นการสร้าง แรงบันดาลใจและกระตุ้นการพัฒนาภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันให้มีทางออกในการ แกไ้ ขปญั หาในยคุ โควิด -1 9 และสร้างรายไดแ้ ละอาชีพเพอื่ ให้เหมาะสมกบั สภาพ เศรษฐกิจ สงั คมและสถานการณ์ปัจจบุ ัน 14
วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือสร้างชุดส่อื ออนไลนเ์ ร่อื งการจัดส่งอาหารแบบส่งตรงถงึ ที่ (Delivery) และใช้เป็นสือ่ การเรียน การสอน ออนไลน์ / สอื่ วดิ ที ัศน์ในการเรยี นการสอน ให้กับนกั เรียน นักศึกษา สาขาวิชาอาหารและโภชนาการและบุคคลท่ัวไป 2. ไดส้ ร้างชดุ สอ่ื การสอนออนไลน์การประกอบอาหารรว่ มสมยั ในรปู แบบ New Normal 15
ผลการด�ำ เนินโครงการ/กจิ กรรม เป้าหมายเชิงปริมาณ 1. จ�ำ นวนนกั เรียนได้รับการพฒั นาทกั ษะ สมรรถนะตรงตามความ ต้องการของสถานประกอบการ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขางานอาหาร และโภชนาการ จำ�นวน 500 คน 2. จ�ำ นวนครใู นสถานศึกษาเฉพาะทาง ไดร้ บั การฝึกอบรมความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะทาง สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ สาขางาน อาหารและโภชนาการ จ�ำ นวน 8 คน 3. จ�ำ นวนสือ่ การเรียนการสอน คูม่ ือ ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาในสาขาวิชาเฉพาะ ทางเพอ่ื ให้สอดคล้องกบั มาตรฐานอาชีพ หรือมาตรฐานสากล สาขาวชิ าอาหารและ โภชนาการ สาขางานอาหารและโภชนาการ จำ�นวน 1 สาขา เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ 1. เพ่ือสรา้ งชุดสอ่ื ออนไลนเ์ รอื่ งการจัดส่งอาหารแบบสง่ ตรง ถงึ ท่ี (Delivery) และใชเ้ ปน็ สือ่ การเรยี น การสอน ออนไลน/์ สื่อวดิ ีทัศน์ในการเรียนการ สอนใหก้ บั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการและบคุ คลทัว่ ไป 2. ได้สรา้ งชุดสื่อการสอนออนไลนก์ ารประกอบอาหารรว่ มสมยั ในรปู แบบ New Normal 16
ประโยชน์ท่ีเกดิ ข้นึ กบั ผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสีย 1. ไดส้ รา้ งชุดสื่อการประกอบอาหารรว่ มสมัยในรูปแบบ New Normal 2. ได้สรา้ งชดุ สื่อการประกอบอาหาร 3. ได้ใชเ้ ปน็ ส่ือการเรียน การสอน ออนไลน์/สอื่ วิดที ศั นใ์ นการเรยี น การสอนให้กับนกั เรียน นกั ศึกษา สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการและบุคคลทว่ั ไป 17
18
โครงการชดุ สอ่ื การสอนออนไลน์ Multimedia Online Project. ขนมไทย 01 Thai Dessert 02 03 อาหารนานาชาติ 04 International Foods อาหารวา่ ง Snack Foods เบเกอรี่ Bakery 19
Nakhonpathom E- Learning หลกั การและเหตผุ ล การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านการจัดการศึกษาสาขาอาหารและโภชนาการ สถานศึกษาเฉพาะทาง เปน็ การดำ�เนินการท่จี ะนำ�ไปสเู่ ปา้ หมายท่ีจะผลติ และพัฒนาด้าน กำ�ลังคนทางด้านอาหารและโภชนาการ ผสู้ ำ�เร็จการศึกษาทจี่ ะเข้าส่ตู ลาดแรงงาน ตลาด อาชพี และบุคคลภายนอก หรือบุคคลทางด้านอาหารและโภชนาการท่จี ะพฒั นาตนเอง ให้มีศกั ยภาพเพิ่มขึ้นหรือนำ�ไปสกู่ ารประกอบอาหารและอาชีพ อยา่ งถูกตอ้ งตามกฏหมาย และส่งผลต่อการพัฒนาตนเองตลอดจนเป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาสาขาอาหารและ โภชนาการในระดบั ภมู ภิ าค โดยจดั การศึกษาตงั้ แต่ระดบั ปวช. ปวส. และปริญญาตรี โดยโครงการสร้างชุดส่ือออนไลน์สร้างข้ึนน้ีเพ่ือเป็นการเรียนการสอนออนไลน์ที่ทันสมัย สามารถประกอบหรือเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยีที่สร้างสามารถเรียนรู้ได้ทุกสถานท่ี หรือการเรยี นออนไลน์อย่ทู ีบ่ ้านในยคุ โควิด-19 ทแี่ พร่ระบาดอยา่ งหนัก จึงจำ�เป็นต่อการ เรียนการสอนทใี่ ห้นักเรียนและนกั ศึกษาไดเ้ รยี นรู้ผา่ นเทคโนโลยที างสอื่ ออนไลน์ตา่ งๆ ทั้งเว็บไซต์หรือวิดีโอในกระบวนการประกอบอาหารต่างเป็นตัวช่วยในการเรียนรู้ในยุค ปจั จบุ ันได้อย่างชัดเจน เพอื่ ให้เหมาะสมกบั สภาพเศรษฐกจิ สังคมและสถานการณ์ปจั จบุ ัน และสามารถเผยแพร่ชดุ สือ่ การสอนไดท้ กุ สถาบัน วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือสรา้ งชดุ สือ่ การสอนออนไลน์การประกอบอาหารรว่ มสมัยในรูปแบบ New Normal 2. เพอ่ื สร้างชดุ สอื่ วดี ีทศั น์อาหารในรูปแบบ New Normal 3. เพอ่ื ใช้เป็นสื่อการเรยี น การสอน ออนไลน์ / สื่อวีดีทัศน์ในการเรียนการสอนให้ กบั นกั เรยี น นักศึกษาสาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ และบุคคลทั่วไป ผลการด�ำ เนนิ โครงการ 1. นกั เรยี นได้รับการพัฒนาทกั ษะ สมรรถนะ ตรงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขางานอาหารและโภชนาการ 2. ครใู นสถานศึกษาเฉพาะทาง ไดร้ ับการฝึกอบรมความรู้ ทกั ษะและความเชีย่ วชาญ ในสาขาเฉพาะทาง สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขางานอาหารและโภชนาการ 3. ส่ือการเรียนการสอน ค่มู ือ ท่ไี ดร้ ับการพฒั นาในสาขาวชิ าเฉพาะทางเพื่อให้สอดคลอ้ ง กับมาตรฐานอาชีพ หรือมาตรฐานสากล สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ สาขางาน อาหารและโภชนาการ 20
Teacher Guide นางสาวชลัดดา ย้มิ เยอื้ น วา่ ท่รี อ้ ยตรีหญิงวราภรณ์ ชำ�นาญการ Nakhonpathom ปริญญาตรี : คหกรรมศาสตรบัณฑติ ปริญญาตรี : คหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาอาหารและโภชนาการ สาขาอาหารและโภชนาการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ปรญิ ญาโท : กำ�ลงั ศึกษาตอ่ ระดบั ปริญญาโท ปรญิ ญาโท : กำ�ลังศกึ ษาต่อระดับปรญิ ญาโท สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ คณะคหกรรมศาสตร์ คณะคหกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลยั ราชมงคลพระนคร รายวชิ าทส่ี อน 1. เค้กและการแต่งหนา้ รายวิชาทส่ี อน 1. ขนมไทยเบอื้ งตน้ 2. เบเกอรี่เพ่อื การคา้ 2. ขนมไทยเพอ่ื การค้า 3. อาหารไทย 3. อาหารไทย 4. โภชนาการ 4. อาหารว่าง 5. โภชนาการ นางสาวปิยวรรณ เตชะศริ นิ กุ ลู นายธรี วฒุ ิ ชอบป่ารงั ปริญญาตรี : วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต ปรญิ ญาตรี : ครุศาสตร์บณั ฑิต สาชาอาหารและโภชนาการ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เอกอาหารและโภชนาการ ปริญญาโท : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (คหกรรมศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สาขาอาหารและโภชนาการ รายวิชาท่ีสอน 1. หลกั การประกอบอาหารครอบครวั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์ 2. อาหารวา่ ง รายวิชาท่ีสอน 1. หลกั การประกอบอาหารครอบครวั 3. เคก้ และการแตง่ หน้าเค้ก 2. อาหารโรงพยาบาล 3. ธุรกจิ จดั เลยี้ ง 3. อาหารนานาชาติ 21
Nakhonpathom ในสมัยโบราณคนไทยจะทำ�ขนมเฉพาะวาระสำ�คัญเท่าน้ัน เปน็ ต้นว่างานทำ�บุญ งานแต่งงาน เทศกาลส�ำ คญั หรอื ตอ้ นรับแขกสำ�คัญ เพราะขนมบางชนดิ จ�ำ เปน็ ตอ้ งใช้ก�ำ ลังคน อาศัยเวลาในการทำ�พอสมควร ส่วนใหญ่เป็นขนบประเพณี เป็นต้นว่าเนื่องในงานแต่งงาน ขนมพื้นบ้าน เช่น ขนมครก ขนมถ้วย ฯลฯ ส่วนขนมในรั้วในวังจะมีหน้าตาสวยงาม ประณีตวจิ ติ รบรรจงในการจดั วางรูปทรงขนมสวยงาม ขนมไทยดัง้ เดมิ มีสว่ นผสมคอื แป้ง น�ำ ้ ตาล กะทิ เท่านน้ั ส่วน ขนมท่ใี ชไ้ ขเ่ ปน็ สว่ นประกอบ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด เมด็ ขนนุ นน้ั มารี กี มาร์ เดอ ปนี า (ทา้ วทองกบี ม้า) หญิงสาวชาวโปรตเุ กส เป็นผูน้ ำ�เข้ามา ขนมไทยทนี่ ิยมท�ำ กันทุกๆ ภาคของประเทศไทย ในพิธกี ารตา่ งๆ ก็คือขนมจากไข่ และมคี วามเชื่อกนั วา่ ช่อื และลกั ษณะของขนมนนั้ ๆ เชน่ รบั ประทานฝอยทองเพ่อื หวังให้อยดู่ ว้ ยกนั ยืดยาวและมีอายุยนื รบั ประทาน ขนมชนั้ กใ็ ห้ไดเ้ ลอื่ นขัน้ เงินเดอื น รบั ประทานขนมถ้วยฟกู ข็ อให้เจรญิ รบั ประทานขนมทองเอก ก็ขอให้ได้เป็นเอก ในสมัยรัชกาลท่ี 1 มกี ารพิมพต์ ำ�ราอาหารออกเผยแพร่ รวมถงึ ต�ำ ราขนมไทยดว้ ยจงึ นบั ไดว้ า่ วฒั นธรรมขนมไทยมกี ารบนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณ์ อักษรครัง้ แรก ตำ�ราอาหารไทยเล่มแรกคอื แมค่ รวั หวั ปา่ ก์ ตอ่ มาเมื่อการคา้ เจริญขึน้ ในตลาดมีขนมนานาชนิดมาขาย และนับว่าเปน็ ยุคที่ขนมไทยเป็น ทนี่ ิยม 22
1ขนมไทย Thai Dessert โดย ครูชลัดดา ยม้ิ เยื้อน ขนมสายบวั https://youtu.be/fbjlLxbQ_7o บวั ลอยญวน Nakhonpathom https://youtu.be/xgjca6E5Kto หม้อแกงมันมว่ ง https://youtu.be/ix1_OCKNfmo สมั ปันนี https://youtu.be/eDguZ4MvTfw 23
Nakhonpathom Thai Dessert Excellent Center NVC. ขนมตะล่มุ https://youtu.be/iYEBrY290as ขนมถว้ ยตะไล https://youtu.be/qsgN1ZKhDqc ขนมพระพาย https://youtu.be/iieukaazZI4 ขนมเสน่หจ์ นั ทน์ https://youtu.be/HMmiD7YClcg 24
Thai Dessert Nakhonpathom Excellent Center NVC. สงั ขยาฟักทอง https://youtu.be/IC1COtLCbZM ตะโกอ้ ัญชัญข้าวโพด https://youtu.be/5JTIsgzZLfw โดย ครูชลัดดา ยิ้มเยือ้ น 25 นกั เรียน 1. นายไชยภัทร พ่อค้า 2. นายปรเมธ ตรอี �ำ นรรค 3. นายสรุ ยิ ะ ไทรชมภู 4. นายณรงค์ชยั ทองล้อม ถา่ ยท�ำ โดย วา่ ที่ร้อยตรฐี ติ ิพงษ์ ภูแอบหิน
เทคนคิ การประกอบอาหาร หมายถึง ความชำ�นาญ รอบรทู้ ง้ั ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ในการประกอบอาหาร ชนชาติต่าง ๆ จะมเี คล็ดลับ หรอื เทคนคิ ในการประกอบอาหารทีต่ า่ งกันไป อาหารนานาชาติส่วนใหญ่ใน ประเทศเรามีทง้ั อาหารประเทศอเมรกิ า องั กฤษ อติ าเลยี น เชน่ แฮมเบอรเ์ กอร์ สตวู ์ สปาเกต็ ต้ี พดุ ดงิ้ ฯลฯ นอกจากนอี้ าหารนานาชาติของประเทศแถบ เอเซยี เช่น จีน เวียตนาม มสุ ลิม ญป่ี นุ่ กเ็ ปน็ ท่ีนิยมในประเทศไทย ทำ�ให้ คนไทยโดยทว่ั ไปตอ้ งหาความรเู้ กย่ี วกบั การประกอบอาหารของประเทศนน้ั ๆ เพม่ิ เตมิ สำ�หรบั ชว่ งเวลาในการรบั ประทานอาหารกค็ ลา้ ยๆกัน มอื้ อาหาร แต่ละม้ือประกอบดว้ ย อาหารเช้า (Breakfast) อาหารกลางวัน (Lunch) และ อาหาร เยน็ (Dinner) รายการอาหารก็จะประกอบดว้ ยอาหารชนดิ ต่าง ๆ เช่น อาหารเชา้ ถ้ารบั ประทานแบบยุโรปก็จะมกี บั ขนมปงั เนย และแยม หรือ อาจมนี ำ�้ ผลไม้อีก 1 แก้ว ถา้ แบบอเมรกิ นั จะมไี ข่ดาว แฮม ไสก้ รอก เนื้อ สัตว์เพมิ่ ข้ึนมา หรอื จะรับประทานแพนเค้ก หรอื ธัญพืชอบใส่นม ถ้าเป็นคน ทำ�งานต้องเร่งรีบ กจ็ ะกินแซนดว์ ชิ หรือแฮมเบอร์เกอร์ อาหารกลางวนั การ รับประทานอาหารกลางวัน จะรับประทานสลัด ประเภทนำ�้ใส นำ�้ ข้น หรือ ขนมปังก่อน สเตก็ เนือ้ ผัดมกั กะโรนี สปาเก็ตตี้ พิซซ่า เปน็ ตน้ อาหารเยน็ ถา้ เปน็ การรบั ประทานแบบมพี ธิ ี จะต้องเริ่มดว้ ยการดืม่ เรยี กน�ำ ้ย่อย แล้วจงึ ถงึ อาหารพวกแอปปิ ไทเซ่อร์ และออเดริ ์ฟ แลว้ จงึ เสิร์ฟอาหารชุดเริม่ ดว้ ย ซุป อาหารจานหลกั คือ เน้อื สตั วจ์ ะปรงุ โดยการอบหรอื ทอด 26
2อาหารนานาชาติ International Foods โดย ครปู ยิ ะวรรณ เตชะศริ นิ ุกูล ฉฉู่ ่ีกงุ้ https://youtu.be/FPvavn3bMjE ต้มโคลง้ แซลมอน Nakhonpathom https://youtu.be/VIO0fxGKSrw แกงเลยี ง https://youtu.be/-dHQNaUDEfI คัว่ กลง้ิ แฮม https://youtu.be/qDtl-4ueD44 27
Nakhonpathom International Foods Excellent Center NVC. ต้มขา่ ไก่ยา่ ง https://youtu.be/LsD3iFrSWnI ทะเลทอดซอสมะขาม https://youtu.be/W1hqfdYSdnc ทะเลผัดผงกะหร่ี https://youtu.be/XtMBZXyTiyc พล่ากุ้ง https://youtu.be/S-ygAc4ziys 28
International Foods Nakhonpathom Excellent Center NVC. พะแนงซี่โครงหมู https://youtu.be/hxb4rx9pCvI หอ่ หมกทะเลมะพร้าวออ่ น https://youtu.be/kvw_hI_9Si4 โดย ครูปยิ วรรณ เตชะศิรินกุ ลู 29 นกั เรยี น 1. นายไชยภทั ร พอ่ คา้ 2. นายปรเมธ ตรอี ำ�นรรค 3. นายสุรยิ ะ ไทรชมภู 4. นายณรงคช์ ยั ทองล้อม ถา่ ยทำ�โดย วา่ ทร่ี ้อยตรีฐติ ิพงษ์ ภูแอบหนิ
ตามความหมายจากพจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 ใหค้ วามหมายของ คำ�ว่า อาหารว่าง หมายถงึ ของว่าง เครื่องวา่ ง เปน็ อาหารเบา ๆ ที่แทรกระหวา่ งมอื้ หลัก อาหารวา่ ง หมายถึง อาหารระหวา่ งมือ้ เปน็ อาหารรบั ประทาน เล่น ทีม่ ีปรมิ าณอาหาร น้อยกวา่ อาหารประจ�ำ มื้อ อาจเปน็ อาหารนำ�้หรือ อาหารแห้ง มที ้งั อาหารคาวและอาหารหวาน มชี นิ้ เล็ก ขนาดพอคำ� ปรมิ าณ ไมม่ าก หยิบรับประทานง่าย สะดวกในการจัด เช่น สาคูไสห้ มู กระทงทอง ขา้ วเหนียวหน้าต่าง ๆ บรรจใุ นกระทงเล็ก ๆ ขนมช่อมว่ ง ปน้ั สิบทอด ฯลฯ อาหารว่างใช้รับประทานควบคู่กับเคร่ืองดื่มร้อนหรือนำ�้ ผลไม้ อย่างใดอยา่ งหน่งึ อาหารว่าง มกั นยิ มรับประทานกนั ในระหว่างม้ือเชา้ กบั มอ้ื กลางวัน หรือระหว่างมือ้ กลางวันกับมื้อเยน็ หรอื ก่อนนอน 30
3อาหารวา่ ง Snack โดย ครูธรี วฒุ ิ ชอบป่ารงั สาคไู สห้ มู https://youtu.be/_LJgfjmfx5s ปอเปี๊ยะทอด Nakhonpathom https://youtu.be/nVvTEViVbW0 ถงุ ทอง https://youtu.be/PZ5h-Mp3JcY ช่อม่วง https://youtu.be/YNtwI_0On3Q 31
Nakhonpathom Snack Excellent Center NVC. แซนวชิ ผกั ดอง https://youtu.be/vxa8YzjipsQI กยุ ช่าย https://youtu.be/gldL3_k3Oxw ขนมจบี https://youtu.be/0ylqEIQf9Cw ขนมปงั หน้าหมู https://youtu.be/tekzM8XCG0g 32
Snack Nakhonpathom Excellent Center NVC. ขา้ วเกรียบปากหม้อ https://youtu.be/zr_cop4a6Uw กระทงทอง https://youtu.be/xehJjqRE8c0 โดย ครูธีรวุฒิ ชอบปา่ รัง นกั เรียน 1. นายเพิม่ พนู พนู วฒั นชัย 2. นายภากร ธนะจินดานนท์ 3. นายกฤษณะ พงษ์สธุ รรม ถา่ ยท�ำ โดย วา่ ที่ร้อยตรีฐิตพิ งษ์ ภแู อบหนิ 33
เบเกอรี่เร่ิมมีข้ึนในยุคหินโดยชาวสวิสได้เป็นผู้ริเร่ิมนำ�เมล็ดข้าว สาลมี าบดให้แตก ผสมนำ�้ ท�ำ ให้สุกบนแผ่นหนิ เผาไฟ ได้อาหารเปน็ แผ่น ข้าง ในเหนยี วเหนอะหนะ นับเป็นขนมปังชนดิ แรกของโลกและตอ่ มาชาวอียิปต์ ได้พัฒนาจากขนมปังที่เป็นก้อนแน่นให้โปร่งฟูขึ้น ซงึ่ มาจากทช่ี าวอยี ปิ ต์ หมกั กอ้ นแปง้ แลว้ ลมื ท้ิงไว้ และไดน้ ำ�มาผสมกับแป้งที่ท�ำ ใหม่เพอื่ ใหข้ นม ข้นึ ฟู และชาวอียปิ ตย์ ังได้นำ�ดินเหนยี วมาท�ำ เป็นภาชนะเพอื่ ใช้ในการอบ ขนมแทนแผ่นหนิ ซ่งึ นัน่ ก็ถอื วา่ เปน็ เตาอบชนดิ แรกของโลกและเตาอบชนิด น้ี แบ่งเปน็ 2 ช้นั คือ ชนั้ ลา่ งไว้ก่อไฟ ชั้นบนสำ�หรับอบขนม ในสมยั กรกี ไดพ้ ัฒนาการท�ำ ขนมปงั โดยปัน้ เปน็ ก้อนกลมรี นำ�้หนกั ก้อนละ 1 ปอนด์ และเปลีย่ นรูปแบบเตาอบเปน็ ลักษณะคลา้ ยรวงผื้ง ซงื่ ยงั ใชไ้ มเ้ ปน็ เชื้อเพลงิ เหมือนเดมิ ต่อมาในสมยั โรมนั ก็มีการพฒั นาเทคโนโลยีการทำ�ขนมปงั เพิ่ม ข้ึน โดยสร้างเครือ่ งผสมซ่ึงประกอบด้วยอ่างหนิ และพายไม้ และก็พัฒนา มาเร่ือย จนถึงศตวรรษที่ 13 ชาวฝรง่ั เศสได้บันทึกถงึ ความกา้ วหนา้ ของการ พฒั นาเครอ่ื งท�ำ ขนม และเมื่อกลางศตวรรษท่ี 20 เปน็ ตน้ มาอตุ สาหกรรม ขนมอบกเ็ ริม่ เกิดขึ้นและมีการพฒั นาต่อเน่อื ง ในประเทศไทย ไดพ้ บหลกั ฐานในปี พ.ศ. 2230 จากจดหมายเหตุ ของนกั บวชชาวฝรงั่ เศส เขยี นรายงานเรอ่ื งการซอ้ื แปง้ สาลีมาทำ�ขนมปังใน สมัยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ปี พ.ศ.2399 จากรายงานของกัปตนั เทา เซนต์ แฮรสี วา่ มกี ารน�ำ แปง้ สาลีจากฮ่องกงเพื่อทำ�ขนมปังส�ำ หรับงานเลี้ยง ในพระราชวังสมยั สมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั เบเกอร่ี (Bakery) คือ ผลิตภัณฑท์ ี่ผลิตจากแปง้ สาลแี ปรรปู และ ทำ�ให้สกุ โดยการอบ โดยแบง่ เปน็ 4 ประเภทใหญๆ่ คือ ขนมปัง คุ้กก้ี เค้ก และเพสตร้ี 34
4เบอเกอร่ี Bakery โดย ครวู ราภรณ์ ช�ำ นาญการ มสู ชอ็ คโกแลต https://youtu.be/k3fmB64XRoo ฟรุ๊ตเคก้ Nakhonpathom https://youtu.be/W1cpFFz9mj4 พานาคอตตา้ https://youtu.be/M7HPKcrZM68 บราวนี่ https://youtu.be/e38GA8R1Z_k 35
Nakhonpathom Bakery Excellent Center NVC. ชสี เคก้ https://youtu.be/zQoKMAvqMN0 ชิฟฟอน https://youtu.be/-w7A8lq3CEs ครมี พัฟ https://youtu.be/sd182iJm6xE เดนิช https://youtu.be/TniRNGzrd8Y 36
Bakery Nakhonpathom Excellent Center NVC. เครปเยน็ https://youtu.be/efTdLQwpyPE เคก้ สม้ https://youtu.be/uCipsSn_S4k โดย ครวู ราภรณ์ ช�ำ นาญการ นักเรยี น 1. นายปรเมธ ตรอี ำ�มรรค 2. นายสุรยิ ะ ไทรชมภู ถา่ ยท�ำ โดย วา่ ท่ีรอ้ ยตรฐี ติ พิ งษ์ ภูแอบหิน 37
38
39
ท ีป่ รกึ ค ษณาะกนนราารยงรชวมาุฒนนกพาาชิามิงยรยั ชญวดา ฒุ �ำชพเ์ิชนมิ ยั ินญรงชักา์ นชลาำ� ตไลรธิักำ� สไชงธาส ต งิ รผอู้อง�ำ ผนู้อรผวำ�อยู้อนงก�ำ ผวนาย้อูรวกำ�ยนากรวาฝยรา่กยาแรผฝน่ายงาแนผแนลงะานคแวาลมะรค่ววมามือร่วมมอื รองผอู้ ร�ำอนงผวยอู้ ก�ำ นารวฝยา่กยาวริชฝา่ กยาวริชาการ นางสานวาพงัชสราาว พัชรา เอกเอสกินสทิ ินธทิ์กลุธ์ก ุล หวั หนา้ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ คณะก รรมการดำ�นเนานิงศงราพีนตั รา ย้ิมเจริญ นางศรีพัตรา ยม้ิ เจริญ นางสาวชลดั ดา ย้มิ เยื้อน นางสาวปิยวรรณ เตชะศิรนิ กุ ลู นายธีรวฒุ ิ ชอบป่ารงั นายพิศมยั กรดุ พศิ มัย นายทรงพล โพธ์ิหริ ญั นางสาวชอ่ ทิพย์ ศริ ิฤกษ ์ ออกแบบรูปเล่ม นางสาวพชั รา เอกสนิ ทิ ธ์กุล นางสาววารณุ ี มงคลหัตถี นางสาวพรจณา แก้วนรา 40
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: