ก คำนำ ชุดฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์ เรอื่ ง สนกุ กบั การช่ัง ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ จดั ทาขึน้ เพ่ือใชป้ ระกอบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ในช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 มีเนอ้ื หาสาระทีเ่ สรมิ ให้ผูเ้ รยี นได้เรียนรู้สนกุ กับการชง่ั จากส่ิงที่เก่ียวข้องในชีวิตประจาวันท่มี ีความหมายตอ่ ชีวิตผเู้ รยี น โดยผจู้ ัดทาได้ นาเสนอกิจกรรมในรูปแบบของชุดฝกึ ทกั ษะ เพือ่ เร้าความสนใจของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียน เรียนรู้ดว้ ยความสนกุ สนานเพลิดเพลิน ผ้เู รียนสามารถเรยี นรู้ในชัน้ เรียน ตลอดจนสามารถ นาไปเรียนรู้ดว้ ยตนเองได้ ข้าพเจา้ หวงั วา่ ชดุ ฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรอ่ื ง สนุกกับการชงั่ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ เล่มนี้ จะอานวยประโยชนใ์ นการพัฒนาความสามารถของ ผู้เรียนด้านการเรียนคณิตศาสตร์ และเป็นประโยชน์แก่ครผู ู้สอน กล่มุ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เอมอร ชว่ งโชติ
ข หน้ำ ก สำรบัญ ข-ค เรื่อง 1 คานา 2 สารบัญ 3 คาชแ้ี จงการใชช้ ุดฝกึ ทกั ษะสาหรบั ครู 4 คาชีแ้ จงการใชช้ ดุ ฝึกทักษะสาหรบั นกั เรียน 5 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด/จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 7 สาระสาคญั 9 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 10 เครอ่ื งมอื และหน่วยการชง่ั 11 แบบฝึกทักษะที่ 1 14 แบบฝึกทักษะท่ี 2 15 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างหน่วยการชงั่ 16 แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 3 17 แบบฝึกทกั ษะที่ 4 18 แบบฝึกทักษะที่ 5 19 การคาดคะเนน้าหนกั 20 แบบฝกึ ทักษะท่ี 6 22 แบบฝึกทกั ษะที่ 7 23 แบบทดสอบหลงั เรยี น 24 เฉลยแบบฝกึ ทักษะท่ี 1 เฉลยแบบฝึกทกั ษะท่ี 2 เฉลยแบบฝกึ ทักษะที่ 3
ค 25 26 สำรบญั ( ต่อ ) 27 28 เฉลยแบบฝึกทักษะท่ี 4 29 เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 5 30 เฉลยแบบฝึกทักษะท่ี 6 31 เฉลยแบบฝกึ ทักษะที่ 7 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลงั เรียน 32 แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม บรรณานกุ รม ประวตั ิผเู้ รียบเรยี ง
1 คำชีแ้ จงกำรใช้ชุดฝึกทกั ษะสำหรับครู ข้นั ที่ 1 ครูควรศกึ ษาทาความเขา้ ใจเกีย่ วกับเน้ือหาเรื่องที่เรยี น คูม่ ือการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ และชดุ ฝกึ ทกั ษะ ขน้ั ท่ี 2 เตรียมการสอนตามคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 3 จัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ ละใช้ชุดฝึกทักษะโดยใชเ้ วลาสอนและทา ชดุ ฝึกทักษะชดุ ที่ 3 จานวน 3 ชัว่ โมง ข้นั ที่ 4 ใหน้ กั เรียนศึกษาเนอื้ หาและตวั อย่างในชดุ ฝึกทกั ษะ โดยครูคอยชี้แนะ ให้ความช่วยเหลอื ในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา่ งๆ เพื่อผู้เรยี นจะได้ขอ คาแนะนาได้ทันที หลังจากนักเรียนทาชุดฝึกทกั ษะเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว ครูต้องตรวจสอบ ขนั้ ที่ 5 ความถกู ต้องของการประเมนิ คะแนนของนกั เรยี นอกี ครัง้ จากเฉลย คาตอบแลว้ บนั ทกึ คะแนนเอาไวแ้ ละแจ้งให้นักเรยี นทราบ ความกา้ วหน้าดว้ ย ขน้ั ท่ี 6 สาหรบั เวลาในการใช้ชุดฝกึ ทกั ษะสามารถยดื หยนุ่ ได้ตามความ เหมาะสม
2 คำชี้แจงกำรใช้ชุดฝึกทกั ษะสำหรับนกั เรียน ขั้นท่ี 1 นกั เรียนต้องซอื่ สัตยต์ อ่ ตนเองไม่เปดิ ดูคาตอบก่อนตอบคาถาม ขน้ั ท่ี 2 อา่ นหรอื ฟงั คาแนะนาในการใช้ชุดฝึกทกั ษะให้เข้าใจและปฏิบตั ิตาม ทุกขัน้ ตอน ขั้นท่ี 3 ใหน้ ักเรยี นทุกคนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ข้นั ที่ 4 เมอื่ นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้วให้ตรวจ แบบทดสอบก่อนเรียนจากเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนและ บนั ทึกคะแนนไว้ ขน้ั ที่ 5 ให้นกั เรยี นศึกษาชดุ ฝกึ ทักษะจากเนือ้ หาและตัวอย่างโจทยท์ ่กี าหนด จนเกดิ ความเข้าใจแลว้ จงึ ลงมอื ทาแบบฝกึ ทกั ษะ ขั้นที่ 6 เม่อื ทาแบบฝึกทักษะเสรจ็ แล้วให้นักเรยี นตรวจคาตอบดว้ ยตนเอง จากเฉลยแบบฝกึ ทกั ษะและบนั ทกึ คะแนนไว้ หลงั การทาแบบฝึกทกั ษะแล้ว ถ้านักเรียนทาผดิ ใหน้ ักเรียนยอ้ นกลบั ข้ันท่ี 7 ไปศึกษาเนื้อหาเรื่องนนั้ อีกครัง้ ให้เข้าใจและกลับไปทาแบบฝึกทกั ษะ ให้ถกู ต้องทุกขอ้ แลว้ จงึ จะไปศึกษาชดุ ฝกึ ทกั ษะชดุ ตอ่ ไป
3 สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระที่ 2 กำรวัดและเรขำคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งทตี่ อ้ งการวัดและ นาไปใช้ ตวั ชี้วัดและสำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง ค 2.1 ป.3/7 เลือกใชเคร่ืองช่ังท่ีเหมาะสม วัดและบอกนา้ หนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม นา้ หนัก ค 2.1 ป.3/8 คาดคะเนนา้ หนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด ค 2.1 ป.3/9 เปรียบเทียบน้าหนักระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัมจาก สถานการณ์ต่าง ๆ ค 2.1 ป.3/10 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับน้าหนักท่ีมีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับ กรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ 1. เมอ่ื กาหนดเครือ่ งมือการช่ังให้ นักเรยี นสามารถบอกหนว่ ยการชั่งของเครอื่ งมือแต่ละชนิดได้ 2. เม่อื กาหนดสิง่ ของหรอื ภาพท่ีกาหนดให้ นักเรียนสามารถเลือกหนว่ ยการชัง่ ได้ 3. เมือ่ กาหนดสง่ิ ของใหห้ รือภาพให้ นักเรยี นสามารถแสดงการช่งั และบอกน้าหนักจากเครือ่ งมอื ชงั่ ได้ 4. เมื่อกาหนดนา้ หนกั ของส่งิ ของหน่วยหน่งึ ให้ นักเรยี นสามารถบอกและหาความสมั พนั ธ์ ระหว่างหนว่ ยการชงั่ น้นั ได้ 5. เมื่อกาหนดสง่ิ ของให้ นักเรยี นสามารถคาดคะเนน้าหนกั และสามารถเปรียบเทียบกับคา่ นา้ หนักทชี่ ัง่ จากเครอ่ื งมาตรฐานได้
4 สำระสำคญั กรัม กโิ ลกรมั เมตรกิ ตัน เป็นหน่วยมาตรฐานซง่ึ ใช้บอกนา้ หนกั ในการช่งั น้าหนักตอ้ งชัง่ ให้ ถกู วิธี เคร่ืองชง่ั บางชนดิ ใช้ชัง่ ของทมี่ ีนา้ หนกั น้อย บางชนิดใชช้ ั่งส่ิงของท่มี ีน้าหนกั มาก จึงตอ้ ง รู้จกั ใชเ้ คร่ืองช่ังและหน่วยการช่ังทถ่ี กู ต้องและเหมาะสม หนว่ ยการชัง่ ทีเ่ ปน็ มาตรฐาน มคี วามสัมพันธก์ ัน คือ น้าหนกั 1 ขดี เท่ากบั น้าหนกั 100 กรมั น้าหนัก 1,000 กรมั เท่ากบั น้าหนัก 1 กิโลกรมั นา้ หนัก 1,000 กโิ ลกรัม เท่ากบั น้าหนกั 1 เมตรกิ ตัน การคาดคะเนนา้ หนัก เป็นการกะประมาณค่าน้าหนกั ของส่งิ ของดว้ ยสายตาหรือด้วยการ ยกสิ่งของใหไ้ ด้ใกลเ้ คยี งความเป็นจริงมากท่ีสดุ การหาคา่ ความคลาดเคลอื่ นทเี กิดจากการคะเน เป็นการเปรยี บเทยี บค่านา้ หนักท่ไี ดจ้ าก การคะเนกับคา่ น้าหนกั ทไ่ี ดจ้ ากการชัง่ ดว้ ยเครือ่ งชง่ั ซึ่งจะทาให้ทราบว่าคะเนผิดไปจากความจริง เท่าไร ก่อนศกึ ษำใบควำมรู้ มำทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น กอ่ นนะครับ
5 แบบทดสอบก่อนเรียน คำช้แี จง ให้ทาเครื่องหมายกากบาท (X) ทบั ตวั อักษร ก ข หรอื ค ท่เี ป็นคาตอบ ท่ีถูกต้อง (10 คะแนน) 1. เราชั่งสิ่งของตา่ งๆ เพอ่ื ให้ทราบสง่ิ ใด 4. ขอ้ ใดน้าหนักมากที่สุด ก. ความยาว ก. ไก่หนัก 55 ขีด ข. ความสงู ข. เป็ดหนกั 5,200 กรัม ค. ปริมาณหรอื ความจุ ค. หมูหนกั 5 กโิ ลกรมั 4 ขีด ง. นา้ หนกั ง. ปลาหนกั 5 กโิ ลกรมั 400 กรัม 2. เรามักใช้เครื่องช่ังชนิดนส้ี าหรับชัง่ 5. น้าหนกั 6,700 กรัม เป็นกี่กิโลกรัม อะไร ก. 5 กโิ ลกรมั 70 กรมั ข. 5 กิโลกรัม 700 กรัม ค. 6 กิโลกรมั 70 กรัม ก. ผลไม้ ง. 6 กิโลกรมั 700 กรัม ข. ขา้ วสาร 6. สิ่งใดเบาที่สุด ค. ทองคา ก. สดุ าหนัก 55 กโิ ลกรัม ง. เนอ้ื สตั ว์ ข. มะลอกอหนัก 39 กิโลกรมั 5 ขดี 3. เคร่ืองช่งั ในข้อใดเหมาะสมกบั สง่ิ ของท่ี ค. ข้าวโพดกระสอบน้ีหนกั 300 จะชั่ง กิโลกรมั ก. เครอื่ งชัง่ สปริง – ทองคา ง. รถบรรทกุ หนัก 2 เมตริกตนั ข. เคร่อื งชัง่ สองแขน – ข้าวสาร ค. เครอ่ื งช่ังน้าหนกั ตวั – ครู ง. เครื่องชั่งแบบตุ้มเลื่อน – ผกั
6 7. น้าหนัก 4,800 กโิ ลกรัม เทา่ กับ 9. แตงโมลูกหนึง่ คาดคะเนด้วยสายตาว่า เท่าไร หนกั ประมาณ 1 กโิ ลกรัม 500 กรัม แต่ เมือ่ นาไปช่ังดูปรากฏว่าหนัก 2 กโิ ลกรมั ก. 4 เมตรกิ ตัน 80 กโิ ลกรัม 200 กรมั แสดงว่าคาดคะเนผิดไปเท่าไร ข. 4 เมตรกิ ตัน 800 กโิ ลกรมั ค. 48 เมตริกตนั 80 กิโลกรมั ก. 500 กรมั ง. 48 เมตริกตัน 800 กิโลกรัม ข. 600 กรัม ค. 700 กรัม 8. ถ้ามะละกอ 1 ลกู หนักประมาณ 8 ง. 800 กรัม ขดี มะละกอ 5 ลกู หนักประมาณก่ี กโิ ลกรัม 10. เนื้อววั กอ้ นหน่งึ คะเนดว้ ยสายตาว่า หนักประมาณ 3 กิโลกรมั ครง่ึ เม่ือนาไป ก. 1 กิโลกรัม ชงั่ ดูปรากฏวา่ หนัก 3 กิโลกรมั 9 ขีด ข. 2 กโิ ลกรัม แสดงว่าคะเนผิดไปเทา่ ไร ค. 3 กิโลกรัม ง. 4 กโิ ลกรัม ก. 4 ขีด ข. 5 ขดี ค. 6 ขดี ง. 7 ขีด
7 ใบควำมรู้ที่ 1 เคร่อื งมือและหน่วยกำรชั่ง เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นกำรชงั่ เครอื่ งชัง่ มหี ลายชนดิ เคร่ืองช่งั บางชนดิ ใชส้ าหรับชัง่ สงิ่ ของที่มนี ้าหนักนอ้ ย และ เครื่องช่ังบางชนิดใช้สาหรับช่ังสง่ิ ของที่มีนา้ หนักมากเท่าน้นั จึงจาเปน็ ต้องเลือกเครอื่ งชัง่ ใหเ้ หมาะสมกบั สิง่ ของท่นี ามาชั่ง เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ช่งั น้าหนัก มีดงั นี้ เครือ่ งมอื วิธใี ช้ เคร่อื งสงั่ สปริง เปน็ เครื่องชั่งท่พี บเห็นอยูท่ ว่ั ไปตาม ตลาดทม่ี กี ารซอ้ื ขายสินค้า เหมาะสาหรบั ใชช้ ง่ั ส่ิงของท่ี มนี ้าหนกั ไม่มากนัก เช่น ผัก ผลไม้ เน้อื สัตว์ มหี นว่ ย การชง่ั เปน็ กรมั ขดี กโิ ลกรัม เคร่อื งช่งั ยาหรือเครอ่ื งชง่ั สองแขน เปน็ เครอ่ื งชัง่ ทใ่ี ช้ สาหรับชง่ั ส่งิ ของทมี่ นี า้ หนักเบาๆ เชน่ ยา สมนุ ไพร ทองคา มหี น่วยชง่ั เป็นกรัมหรอื ขีด เครอ่ื งชัง่ น้าหนักตัว เป็นเคร่อื งช่ังทีใ่ ชส้ าหรบั ชั่ง นา้ หนกั ตวั คนเพือ่ ให้ทราบว่านา้ หนกั เพิม่ ขน้ึ หรือลดลง มหี นว่ ยการชัง่ เป็นกิโลกรัม เครือ่ งชง่ั แบบตุ้มเล่ือน ใช้สาหรบั ชง่ั ส่งิ ของทมี่ ีน้าหนัก มากๆ เช่น ข้าวสารหรือน้าตาลเป็นกระสอบ มีหนว่ ย การช่งั เป็น กิโลกรมั
8 กำรเลือกหน่วยกำรชั่งทีเ่ หมำะสม ในการช่ังนา้ หนกั แต่ละคร้ังนน้ั ต้องเลอื กเครือ่ งชัง่ และหนว่ ยการช่ังท่ีเหมาะสม เพราะถา้ เลือกเคร่ืองช่ังท่ไี มเ่ หมาะสม อาจทาใหไ้ ม่ทราบนา้ หนกั ของส่ิงของทแ่ี น่นอน สงิ่ ของทีช่ ง่ั เคร่อื งช่งั หน่วยกำรช่ัง เคร่อื งช่ังสองแขน กรมั เครือ่ งช่งั สปรงิ กิโลกรมั , ขดี เครอื่ งชัง่ นา้ หนักตัว กิโลกรัม, กรมั เครอ่ื งชง่ั แบบตมุ้ เล่อื น กโิ ลกรัม, ขีด เครอ่ื งชง่ั แบบตุ้มเลอ่ื น กิโลกรมั ,เมตริกตัน
9 แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 1 คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนเลือกเคร่อื งชัง่ ใหเ้ หมาะสม (10 คะแนน) ก. ข. ค. ง. 1. แตงโม 1 ผล 2. ข้าวสาร 1 กระสอบ 3. คุณครู 1 คน 4. กระหลา่ 2 ตัว 5. สรอ้ ยทอง 1 เส้น 6. วัว 1 ตัว 7. ไส้ดินสอ 5 แท่ง 8. ไก่ 3 ตวั 9. แอบเปล้ิ 2 เข่ง 10. มาลี 1 คน
10 แบบฝึกทกั ษะที่ 2 คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นใส่เครื่องหมาย สาหรบั หน่วยการชงั่ ท่เี หมาะสมกบั สิ่งของที่ กาหนดให้ (10 คะแนน) สิง่ ทต่ี ้องกำรช่ัง กรัม ขดี กโิ ลกรัม เมตริกตนั 1. นา้ ตาลทราย 1 กระสอบ 2. น้าหนกั ตัวนกั เรียน 1 คน 3. มะม่วง 1 ผล 4. สร้อยคอ 1 เสน้ 5. รถบรรทกุ 1 คนั 6. ม้า 20 ตัว 7. ฝรง่ั 1 ผล 8. จดหมาย 5 ฉบบั 9. เป็ด 4 ตัว 10. ปลากระปอ๋ ง 1 กระปอ๋ ง
11 ใบควำมรู้ที่ 2 ควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ งหนว่ ยกำรชงั่ ควำมสมั พนั ธข์ องหนว่ ยกำรชั่ง 1 ขีด เทา่ กบั 100 กรมั 1,000 กรัม เทา่ กบั 1 กิโลกรมั 1,000 กโิ ลกรมั เทา่ กับ 1 เมตริกตัน ในการซื้อขายทั่วไปนยิ มแบง่ 1 กโิ ลกรัม เป็น 10 ขีด
12 กำรเปล่ียนหนว่ ยกำรช่ัง (ใช้กำรคูณ) การเปล่ียนหน่วยการช่ังจากหนว่ ยใหญเ่ ปน็ หน่วยย่อย “ใหใ้ ช้กำรคูณ” กำรเปลย่ี นหนว่ ย 5 เมตริกตนั เปล่ียนเปน็ กิโลกรมั จำกเมตรกิ ตนั เป็นกิโลกรมั 1 เมตริกตัน เทา่ กบั 1,000 กโิ ลกรมั 5 × 1,000 = 5,000 กิโลกรมั กำรเปลย่ี นหน่วย 7 กโิ ลกรัม เปล่ียนเปน็ ขดี กิโลกรมั เป็นขดี 1 กโิ ลกรมั เท่ากบั 10 ขดี 7 × 10 = 70 ขดี กำรเปลี่ยนหน่วย 9 ขีด เปลี่ยนเปน็ กรมั ขดี เป็นกรัม 1 ขดี เทา่ กบั 100 กรมั 9 × 100 = 900 กรัม กำรเปลย่ี นหน่วย กิโลกรัมเป็นกรัม 4 กโิ ลกรัม เปลย่ี นเปน็ กรมั 1 กโิ ลกรมั เท่ากบั 1,000 กรมั 4 × 1,000 = 4,000 กรมั
13 กำรเปลีย่ นหน่วยกำรชั่ง (ใช้กำรหำร) การเปลี่ยนหน่วยการชงั่ จากหน่วยยอ่ ยเป็นหนว่ ยใหญ่ “ให้ใชก้ ำรหำร” กำรเปลี่ยนหน่วย 7,000 กรัม เปลยี่ นเปน็ กโิ ลกรมั จำกกรัมเป็นกโิ ลกรมั 1,000 กรมั เท่ากับ 1 กิโลกรมั 7,000 ÷ 1,000 = 7 กิโลกรมั กำรเปลีย่ นหน่วย 5,000 กโิ ลกรัม เปล่ียนเปน็ เมตรกิ ตนั กโิ ลกรมั เปน็ เมตรกิ ตัน 1,000 กิโลกรมั เท่ากบั 1 เมตรกิ ตนั กำรเปลยี่ นหนว่ ย 5,000 ÷ 1,000 = 5 เมตรกิ ตนั จำกกรัมเปน็ ขีด 4,000 กรมั เปล่ียนเปน็ ขดี กำรเปลย่ี นหน่วย 100 กรมั เทา่ กับ 1 ขดี ขีดเปน็ กิโลกรัม 4,000 ÷ 100 = 40 ขดี 200 ขดี เปล่ยี นเปน็ กโิ ลกรมั 100 ขดี เทา่ กบั 1 กิโลกรมั 200 ÷ 100 = 2 กิโลกรมั
14 แบบฝึกทกั ษะที่ 3 คำช้แี จง ให้นักเรียนเปลีย่ นหนว่ ยความยาวตามทีก่ าหนดให้ถกู ต้อง (10 คะแนน) 1. 2 กิโลกรมั ขดี 2. 43 ขดี กรัม 3. 500 กรัม ขดี 4. 3,000 กรัม กิโลกรมั 5. 7 กโิ ลกรมั 900 กรัม ขดี 6. 9,000 กโิ ลกรัม เมตรกิ ตนั 7. 5 กิโลกรมั 6 ขีด กรัม 8. 7,900 กรัม ขดี 9. 3 กิโลกรัม 400 กรัม กรมั 10. 2 เมตริกตนั 800 กิโลกรัม กิโลกรมั
15 แบบฝกึ ทักษะท่ี 4 คำช้แี จง ให้นักเรียนเติมคาวา่ “หนักกวา่ ” “เบากว่า” หรือ “เทา่ กบั ” ลงในชอ่ งว่าง (10 คะแนน) 1 1 กโิ ลกรัม 20 ขดี 2 2 ขดี 300 กรัม 3 10 ขีด 800 กรัม 4 ครึง่ กิโลกรมั 5 ขีด 5 250 กรัม 20 ขีด 6 30 ขีด 30 กรมั 7 7 เมตรกิ ตนั 70,000 กรมั 8 5,200 กิโลกรัม 5 เมตริกตัน 9 140 กรมั 14 ขีด 10 900 กโิ ลกรัม 900,000 กรัม
16 แบบฝึกทักษะที่ 5 คำช้แี จง ให้นักเรยี นเติมคาตอบลงในชอ่ งว่างใหถ้ กู ต้อง (10 คะแนน) 1. แตงโมหนัก 800 กรมั หรือ หนกั ขดี 2. เรอื หนกั 9,200 กิโลกรมั หรอื หนัก เมตริกตัน กโิ ลกรัม 3. หัวหอมหนกั 7,700 กรัม หรือ หนัก กโิ ลกรัม ขดี 4. ข้าวสารหนัก 5 เมตริกตัน หรอื หนกั กิโลกรมั 5. สัปปะรดหนกั 4 กิโลกรัม หรอื หนัก กรัม 6. สร้อยคอทองคาหนัก 10 กรัม หรือ หนัก ขีด 7. ไก่หนัก 8 กิโลกรัม 8 ขดี หรือ หนัก กรมั 8. ส้มโอหนกั 8 กิโลกรมั 500 กรมั หรอื หนัก ขดี 9. ฟักทองหนัก 5,789 กรัม หรือ หนัก กโิ ลกรัม กรมั 10. รถกระบะหนัก 98 เมตรกิ ตัน หรอื หนกั กิโลกรัม
17 ใบควำมรทู้ ี่ 3 กำรคำดคะเนน้ำหนัก การคาดคะเนน้าหนกั เป็นการกะประมาณน้าหนกั ของสง่ิ ของ โดยไมต่ ้องใช้ เคร่อื งชงั่ ถา้ สิง่ ของนัน้ มีขนาดไมใ่ หญเ่ กนิ ไป สามารถคาดคะเนน้าหนกั ได้โดยการยก สิ่งของนั้นข้นึ แล้วกะนา้ หนกั ทใ่ี กลเ้ คียงน้าหนักจรงิ ซึ่งในการคาดคะเนน้ันอาจคลาดเคลอื่ น ได้ ปนู ำ่ จะหนัก 5 ขีด วิธีการตรวจสอบว่าการคาด คะเนถูกตอ้ งหรือไม่ ทาไดโ้ ดย การชงั่ นา้ หนกั ของสง่ิ ที่คะเนแล้ว เปรยี บเทียบกับนา้ หนักท่คี ะเนไว้ น้าหนักทค่ี าดคลาดเคลือ่ น กค็ ือน้าหนกั ทีผ่ ดิ จากความจรงิ วัดจริง ปหู นัก 6 ขดี คาดคะเนคลาดเคลอ่ื นไป 1 ขดี ก้อยน่ำจะหนัก 30 กิโลกรมั วดั จริง ก้อยหนกั 27 กโิ ลกรมั คาดคะเนคลาดเคล่ือนไป 3 กิโลกรัม
18 แบบฝกึ ทักษะที่ 6 คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนคาดคะเนน้าหนกั ของส่ิงตอ่ ไปน้ี โดยวงกลม หน้าข้อทค่ี าดคะเน ได้ใกลเ้ คยี งความจรงิ มากท่ีสุด ( 10 คะแนน) 1. น้าหนักของฉัน ก. 40 กโิ ลกรมั ข. 250 กิโลกรัม 2. ขา้ วสารสง่ ออกต่างประเทศ ก. 1,500 เมตรกิ ตนั ข. 5 ขีด 3. น้าหนักเด็กแรกเกิด ก. 7 กโิ ลกรมั ข. 3,000 กรัม 4. จดหมาย 1 ฉบับ ก. 50 กรัม ข. 5 ขดี 5. มะม่วง 1 เขง่ ก. 40 กโิ ลกรัม ข. 1 เมตรกิ ตนั 6. ปลาโอ 3 ตัว ก. 3 กรัม ข. 7 ขดี 7. แหวนเงนิ 2 วง ก. 10 ขดี ข. 5 กรมั 8. องนุ่ 2 เขง่ ก. 30 กิโลกรมั ข. 1 กโิ ลกรมั 9. ควาย 1 ตัว ก. 5 กิโลกรมั ข. 100 กโิ ลกรมั 10. ปลากระปอ๋ ง ก. 350 กโิ ลกรัม ข. 350 กรมั
19 แบบฝกึ ทักษะท่ี 7 ตอนที่ 1 ให้นักเรยี นเตมิ คาในช่องวา่ งให้ถกู ต้อง (10 คะแนน) คำดคะเน วัดจรงิ คลำดเคลื่อน 1. น้าหนักมะละกอ 9 ขดี 8 ขีด 2. น้าหนักแตงโม 900 กรัม 9 ขดี 3. น้าหนักมะมว่ ง 1 กโิ ลกรัม 1 กก. 1 ขีด 4. น้าหนกั ไก่ 7 ขีด 9 ขดี 5. น้าหนกั แหวนทอง 5 กรัม 3 กรมั ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเติมคาในช่องวา่ งให้ถกู ตอ้ ง (10 คะแนน) คำดคะเน วดั จริง คลำดเคลื่อน 6. นา้ หนักคุณครู 7. น้าหนัก 8. น้าหนกั 9. น้าหนกั 10. น้าหนกั
20 แบบทดสอบหลงั เรยี น คำชี้แจง ให้ทาเคร่ืองหมายกากบาท (X) ทบั ตวั อักษร ก ข หรือ ค ที่เปน็ คาตอบท่ีถูกตอ้ ง (10 คะแนน) 1. เราชัง่ สงิ่ ของต่างๆ เพื่อใหท้ ราบสิง่ ใด 4. เรามกั ใชเ้ ครื่องชง่ั ชนดิ นส้ี าหรับช่ังอะไร ก. ความยาว ข. ความสงู ค. ปริมาณหรอื ความจุ ง. นา้ หนัก ก. ผลไม้ 2. แตงโมลกู หนึ่งคาดคะเนด้วยสายตาวา่ ข. ขา้ วสาร หนกั ประมาณ 1 กิโลกรมั 500 กรมั แตเ่ มอื่ ค. ทองคา นาไปชัง่ ดูปรากฏวา่ หนกั 2 กโิ ลกรมั 200 ง. เน้ือสัตว์ กรมั แสดงวา่ คาดคะเนผิดไปเท่าไร 5. น้าหนัก 6,700 กรัม เปน็ กก่ี โิ ลกรมั ก. 500 กรัม ก. 5 กิโลกรัม 70 กรัม ข. 600 กรมั ข. 5 กิโลกรัม 700 กรัม ค. 700 กรัม ค. 6 กโิ ลกรัม 70 กรมั ง. 800 กรมั ง. 6 กิโลกรัม 700 กรมั 3. เนอื้ วัวก้อนหนง่ึ คะเนด้วยสายตาว่า หนักประมาณ 3 กโิ ลกรมั ครง่ึ เม่ือนาไปช่งั ดู 6. ข้อใดนา้ หนกั มากทีส่ ุด ปรากฏว่าหนัก 3 กิโลกรัม 9 ขดี แสดงวา่ ก. ไก่หนกั 55 ขีด คะเนผดิ ไปเท่าไร ข. เปด็ หนกั 5,200 กรัม ก. 4 ขดี ค. หมหู นกั 5 กิโลกรัม 4 ขีด ข. 5 ขดี ง. ปลาหนกั 5 กโิ ลกรัม 400 กรมั ค. 6 ขดี ง. 7 ขีด
21 7. เครอ่ื งชง่ั ในข้อใดเหมาะสมกับสิง่ ของ 9. นา้ หนกั 4,800 กโิ ลกรมั เทา่ กับ ทจี่ ะช่งั เทา่ ไร ก. เครื่องชงั่ สปรงิ – ทองคา ก. 4 เมตริกตนั 80 กิโลกรมั ข. เคร่อื งชั่งสองแขน – ขา้ วสาร ข. 4 เมตรกิ ตัน 800 กิโลกรัม ค. เครอ่ื งชั่งน้าหนกั ตวั – ครู ค. 48 เมตรกิ ตัน 80 กิโลกรมั ง. เคร่อื งชั่งแบบต้มุ เล่อื น – ผกั ง. 48 เมตรกิ ตนั 800 กิโลกรัม 8. สิง่ ใดเบาทส่ี ดุ 10. ถา้ มะละกอ 1 ลูกหนักประมาณ 8 ก. สุดาหนกั 55 กิโลกรัม ขดี มะละกอ 5 ลูก หนกั ประมาณกี่ ข. มะลอกอหนัก 39 กโิ ลกรัม 5 ขีด กิโลกรมั ค. ขา้ วโพดกระสอบนหี้ นกั 300 กโิ ลกรัม ก. 1 กโิ ลกรมั ง. รถบรรทุกหนัก 2 เมตริกตนั ข. 2 กิโลกรมั ค. 3 กโิ ลกรมั ง. 4 กิโลกรมั
22 เฉลยแบบฝกึ ทกั ษะท่ี 1 คำช้ีแจง ให้นักเรียนเลือกเคร่อื งช่งั ให้เหมาะสม (10 คะแนน) ก. ข. ค. ง. ก 1. แตงโม 1 ผล ง 2. ข้าวสาร 1 กระสอบ ค 3. คณุ ครู 1 คน ก 4. กระหล่า 2 ตวั ข 5. สรอ้ ยทอง 1 เสน้ ง 6. วัว 1 ตวั ข 7. ไส้ดนิ สอ 5 แทง่ ก 8. ไก่ 3 ตัว ง 9. แอบเปล้ิ 2 เขง่ ค 10. มาลี 1 คน
23 เฉลยแบบฝกึ ทักษะท่ี 2 คำชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นใสเ่ ครื่องหมาย สาหรับหน่วยการชัง่ ท่ีเหมาะสมกบั สง่ิ ของที่ กาหนดให้ ( 10 คะแนน) ส่งิ ท่ตี ้องกำรชงั่ กรมั ขีด กิโลกรมั เมตรกิ ตัน 1. นา้ ตาลทราย 1 กระสอบ 2. นา้ หนักตวั นกั เรียน 1 คน 3. มะมว่ ง 1 ผล 4. สรอ้ ยคอ 1 เสน้ 5. รถบรรทกุ 1 คัน 6. ม้า 20 ตัว 7. ฝรง่ั 1 ผล 8. จดหมาย 5 ฉบบั 9. เป็ด 4 ตัว 10. ปลากระป๋อง 1 กระปอ๋ ง
24 เฉลยแบบฝกึ ทักษะที่ 3 คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นเปลยี่ นหนว่ ยความยาวตามทีก่ าหนดให้ถกู ต้อง (10 คะแนน) 1. 2 กิโลกรัม 20 ขีด 2. 43 ขีด 4,300 กรัม 3. 500 กรมั 5 ขดี 4. 3,000 กรมั 3 กโิ ลกรัม 5. 7 กิโลกรัม 900 กรัม 79 ขีด 6. 9,000 กิโลกรมั 9 เมตรกิ ตัน 7. 5 กโิ ลกรัม 6 ขีด 5,600 กรัม 8. 7,900 กรัม 79 ขดี 9. 3 กิโลกรมั 400 กรมั 3,400 กรมั 10. 2 เมตริกตนั 800 กโิ ลกรัม 2,800 กิโลกรัม
25 เฉลยแบบฝึกทกั ษะที่ 4 คำชี้แจง ให้นกั เรียนเตมิ คาว่า “หนักกว่า” “เบากว่า” หรือ “เทา่ กับ” ลงในช่องว่าง (10 คะแนน) 1 1 กิโลกรัม เบำกว่ำ 20 ขดี 2 2 ขดี เบำกวำ่ 300 กรัม 3 10 ขีด หนักกว่ำ 800 กรัม 4 คร่ึงกโิ ลกรัม เท่ำกับ 5 ขีด 5 250 กรัม เบำกว่ำ 20 ขดี 6 30 ขดี หนกั กวำ่ 30 กรัม 7 7 เมตริกตัน หนักกวำ่ 70,000 กรมั 8 5,200 กิโลกรมั หนกั กวำ่ 5 เมตริกตนั 9 140 กรมั เบำกวำ่ 14 ขีด 10 900 กโิ ลกรมั เท่ำกบั 900,000 กรัม
26 เฉลยแบบฝกึ ทกั ษะที่ 5 คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเติมคาตอบลงในชอ่ งว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 1. แตงโมหนกั 800 กรมั หรือ หนัก 8 ขดี 2. เรอื หนัก 9,200 กโิ ลกรัม หรือ หนกั 9 เมตรกิ ตนั 200 กิโลกรัม 3. หัวหอมหนกั 7,700 กรัม หรือ หนกั 7 กิโลกรัม 7 ขดี 4. ขา้ วสารหนกั 5 เมตรกิ ตนั หรือ หนกั 5,000 กโิ ลกรมั 5. สปั ปะรดหนกั 4 กโิ ลกรมั หรอื หนัก 4,000 กรัม 6. สรอ้ ยคอทองคาหนัก 10 กรัม หรือ หนัก 1 ขดี 7. ไก่หนัก 8 กโิ ลกรัม 8 ขีด หรอื หนกั 8,800 กรมั 8. สม้ โอหนัก 8 กิโลกรมั 500 กรัม หรอื หนัก 85 ขดี 9. ฟกั ทองหนัก 5,789 กรมั หรือ หนัก 5 กโิ ลกรัม 789 กรัม 10. รถกระบะหนัก 98 เมตรกิ ตัน หรือ หนกั 98,000 กโิ ลกรมั
27 เฉลยแบบฝกึ ทกั ษะท่ี 6 คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนคาดคะเนน้าหนกั ของสิง่ ตอ่ ไปน้ี โดยวงกลม หน้าข้อทคี่ าดคะเน ไดใ้ กลเ้ คียงความจริงมากทีส่ ุด (10 คะแนน) 1. น้าหนักของฉนั ก. 40 กโิ ลกรมั ข. 250 กิโลกรัม 2. ข้าวสารส่งออกตา่ งประเทศ 3. น้าหนักเดก็ แรกเกิด ก. 1,500 เมตริกตนั ข. 5 ขดี 4. จดหมาย 1 ฉบับ 5. มะม่วง 1 เขง่ ก. 7 กิโลกรัม ข. 3,000 กรัม 6. ปลาโอ 3 ตวั 7. แหวนเงนิ 2 วง ก. 50 กรมั ข. 5 ขดี 8. องนุ่ 2 เขง่ 9. ควาย 1 ตัว ก. 40 กโิ ลกรมั ข. 1 เมตริกตัน 10. ปลากระปอ๋ ง ก. 3 กรมั ข. 7 ขีด ก. 10 ขดี ข. 5 กรมั ก. 30 กโิ ลกรัม ข. 1 กิโลกรมั ก. 5 กโิ ลกรัม ข. 100 กิโลกรัม ก. 350 กิโลกรัม ข. 350 กรมั
28 เฉลยแบบฝกึ ทกั ษะที่ 7 ตอนที่ 1 ให้นักเรยี นเติมคาในช่องว่างใหถ้ กู ตอ้ ง (10 คะแนน) คำดคะเน วดั จริง คลำดเคลื่อน 1 ขดี 1. น้าหนักมะละกอ 9 ขีด 8 ขีด เทา่ กัน 1 ขดี 2. น้าหนักแตงโม 900 กรมั 9 ขดี 2 ขีด 2 กรมั 3. น้าหนักมะมว่ ง 1 กโิ ลกรมั 1 กก. 1 ขีด 4. น้าหนกั ไก่ 7 ขดี 9 ขีด 5. น้าหนักแหวนทอง 5 กรัม 3 กรัม ตอนท่ี 2 ใหน้ กั เรียนเตมิ คาในช่องวา่ งให้ถกู ต้อง (10 คะแนน) คำดคะเน วัดจรงิ คลำดเคล่ือน 6. นา้ หนกั คณุ ครู 7. น้าหนัก 8. น้าหนัก 9. น้าหนกั 10. น้าหนกั
29 เฉลยแบบทดสอบ กอ่ นเรียน – หลงั เรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น ข้อ คำตอบ ข้อ คำตอบ 1. ง 6. ข 2. ค 7. ข 3. ค 8. ง 4. ก 9. ค 5. ง 10. ก เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น ข้อ คำตอบ ข้อ คำตอบ 1. ง 6. ก 2. ค 7. ค 3. ก 8. ข 4. ค 9. ข 5. ง 10. ง
30 แบบบันทกึ คะแนนกิจกรรม รำยกำร คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได้ ผลกำรประเมิน แบบฝึกทักษะที่ 1 10 แบบฝึกทักษะที่ 2 10 แบบฝึกทักษะที่ 3 10 แบบฝึกทักษะที่ 4 10 แบบฝึกทักษะที่ 5 10 แบบฝึกทักษะที่ 6 10 แบบฝึกทักษะที่ 7 10 70 รวม เกณฑก์ ำรประเมนิ นักเรียนทาคะแนนผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป สรุปผลการประเมิน มผานเก ผานเก
31 บรรณำนุกรม . (2551). หลักสูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน พทุ ธศกั รำช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้าว. . (2560). ตัวชว้ี ัดและสำระกำรเรียนรูก้ ลุ่มสำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำขัน้ พ้ืนฐำน พุทธศักรำช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560).กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จากดั . กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2561). คู่มือครูสำระกำรเรยี นร้พู นื้ ฐำนคณติ ศำสตร์ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร.์ กรุงเทพฯ : สถาบันสง่ เสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี กุศยา แสงเดช. (2555). แบบฝึกคมู่ ือกำรพัฒนำสื่อกำรเรียนกำรสอนท่เี นน้ ผเู้ รียน เปน็ สำคญั ระดับประถมศกึ ษำ. กรงุ เทพฯ : แมค็ . โรงเรียนบางคลู ดั . (2561). หลักสูตรกลมุ่ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ โรงเรยี นบำงคลู ดั ตำมหลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำน พทุ ธศักรำช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง 2560). นนทบรุ ี : ฝ่ายวิชาการ โรงเรยี นบางคูลดั วรินทรา แพ่งสภา. (2547). คมู่ ือเสรมิ สำระกำรเรียนร้คู ณติ ศำสตร์ ป.4. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลซิ ซง่ิ . สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). คมู่ ือวัดผลประเมนิ ผล คณิตศำสตร.์ กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค์ ุรสุ ภาลาดพร้าว. . (2561). หนังสอื เรยี นสำระกำรเรียนร้พู น้ื ฐำนคณิตศำสตร์ กลมุ่ สำระ กำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์ ช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี 4 ตำมหลักสูตรกำรศึกษำ ข้ันพ้ืนฐำน พทุ ธศักรำช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้าว. เอกรินทร์ สีม่ หาศาล และคณะ. (2556). คณติ ศำสตร์ ป.4 ตำมหลักสตู รแกนกลำง กำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน พทุ ธศกั รำช 2551. พมิ พ์คร้ังที่ 6. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ กั ษรเจรญิ ทศั น.์
32 ประวตั ผิ ูเ้ รียบเรียง ชอื่ -สกลุ นางสาวเอมอร ชว่ งโชติ วนั เดิอนปีเกดิ 10 มกราคม 2514 ทอ่ี ยปู่ จั จบุ นั 53/139 หมู่ 8 ตาบลเสาธงหนิ อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ตำแหนง่ ปจั จุบนั ครวู ิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ สถำนทที่ ำงำน โรงเรียนบางคูลัด ตาบลบางคูลัด อาเภอบางบวั ทอง จงั หวัดนนทบุรี สังกดั กองการศึกษา ศาสนาและวัตนธรรม องค์การบริหารส่วนจงั หวดั นนทบุรี กรงสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่ิน กระทรวงมหาดไทย ประวัติกำรศึกษำ บริหารธุรกิจบัณฑติ (บธ.บ.) สาขาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฎสวนสุนันทา ศกึ ษาศาสตรม์ หาบณั ฑิต (ศษ.ม.) สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยกรงุ เทพธนบุรี ประวัตกิ ำรรับรำชกำร พุทธศักราช 2552 ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โรงเรียนบางคลู ัด ตาบลบางคลู ดั อาเภอบางบวั ทอง จงั หวัดนนทบุรี พุทธศักราช 2559 ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรียนบางคูลัด ตาบลบางคลู ัด อาเภอบางบวั ทอง จังหวดั นนทบุรี
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: