Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ 2561

ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ 2561

Published by IRD RMUTT, 2018-11-28 02:31:07

Description: ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ 2561

Search

Read the Text Version

ผลงานวจ� ยั และนวัตกรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology ThanyaburiO NHNH2 HO (Enzyme) +กอ นใชแมเ หล็กดูด หลงั ใชแ มเหล็กดดูจด� เดนของผลงาน ปญหาสำคญั ในการผลติ เอทานอลโดยการหมกั ดวยเอมไซม คือ การกำจัดเอนไซมกอนกระบวนการทำบร�สุทธ�์ของเอทานอล ซ�่งสิ้นเปลืองคาใชจายจำนวนมาก การนำเอนไซมกลับมาใชใหมจ�งเปนทางเลือกที่นาสนใจโดยเอนไซม จะถูกจับไวที่ผิวของอนุภาคแคปซูล กอนถูกดึงออกมาจากระบบการหมักดวยสนามแมเหล็ก ซ�่งสามารถนำเอนไซมกลับไปใชใหมไดการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย อนุภาคแคปซูลที่พัฒนาข�้น สามารถนำไปใชในการนำเอนไซมในกระบวนการหมักเอทานอลกลับมาใชใหมนอกจากนี้ ยังสามารถประยุกตใชกับการแยกสารตางๆ ไดโดยปรบั ปรงุ หมูทางเคมีใหเหมาะสมในการจบั สารท่ีสนใจทรัพยสินทางปญญา ผชู ว ยศาสตราจารย อยูระหวา งดำเนินการ ดร.อมร ไชยสตั ย ภาคว�ชาเคมี คณะวท� ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3536 39

นวตั กรรม 18 ไมโครแคปซลู สำหรับ ผาปรบั อุณหภมู ิได (Innovative microcapsule for temperature- adaptable fabrics) ชอ่� ผลงานนวัตกรรม และสงิ่ ประดิษฐ “ ผชู วยศาสตราจารย ดร.ปร�ยาภรณ ไชยสตั ย ” บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคัญ นวัตกรรมไมโครแคปซูลกักเก็บวัสดุเก็บความรอนที่สามารถดูดและคายความรอน ในชวง 27-30 องศาเซลเซ�ยส เปลือกของแคปซูลเปนพอลิเมอรที่มีความแข็งแรงสูง ทนทานตอ กรดและเบส ทำใหแคปซูลคงทนไมแ ตกงา ย นอกจากน้ี อนภุ าคแคปซูลมคี วาม เสถียรทางคอลลอยดสูงไมเกาะตัวกันแมเก็บไวเปนเวลานาน โดยอนุภาคแคปซูลมีขนาด ในระดับไมโครเมตร จ�งสามารถดูดและคายความรอนไดอยางมีประสิทธ�ภาพ40 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวัตกรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดนของผลงาน อนุภาคแคปซูลมีการปรับเปลี่ยนหมฟู งกช ันทีผ่ วิ ใหเหมาะสมตอการเคลอื บลงบนผาโดยแคปซลู จะเกาะบนผาผานพันธะทางเคมี ทำใหแ คปซูลเกาะติดบนผาไดอยางมปี ระสทิ ธภ� าพไมหลุดออกงา ยโดยไมตองใชสารตวั เช่�อมสำหรับการเคลือบผา เนอ่ื งจากสมบัตกิ ารดูดและคายความรอ นไดด ี หากสวมใสผา ทเ่ี คลอื บดว ยอนุภาคแคปซลู กกั เกบ็ วัสดเุ ก็บความรอนจะทำใหผ ูสวมใสรูสึกเยน็ สบาย ไมรอนและไมหนาวจนเกินไปการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ยสามารถนำไปเคลือบบนผาเพื่อใชเปนผาปรับอุณหภูมิไดโดยไมตองใชสารตัวเช�่อมสำหรับการเคลือบผา โดยอาจใชเปนเสื้อผา หร�อผามานนอกจากนี้ ยังสามารถนำไมโครแคปซลู ไปประยุกตใชในการควบคมุ อุณหภูมิในอาคาร เชน ผสมในอิฐบล็อก ผูชว ยศาสตราจารยเคลือบบนผนังบาน หร�อกระดาษตดิ ผนงั เปน ตน ดร.ปร�ยาภรณ ไชยสัตยทรัพยส ินทางปญ ญา ภาควช� าเคมี คำขอรบั อนสุ ิทธบ� ตั ร เลขที่ 1803002461 คณะว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3536 41

19 กระดาษ ตรวจสอบตะก่วั ในลำไย ช่�อผลงานนวตั กรรม และสง่ิ ประดษิ ฐ “ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิร�วรรณ ตภ้ี ู ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคัญ ตะกว่ั เปนสารเคมที ปี่ นเปอ นในลำไย เนอื่ งมาจากการใชสารเคมีในการเพาะปลูกลำไย ตะกั่วเปนโลหะหนักที่มีความเปนพิษสูงตอมนุษย มีผลตอการเจร�ญพันธุ โครโมโซม และ เปนสารกอใหเกิดโรคมะเร็ง มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขไทยกำหนดใหมีตะกั่ว ปนเปอนในอาหารไดไมเกิน 1 มิลลิกรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม งานว�จัยนี้ไดพัฒนา กระดาษตรวจสอบตะกั่วในลำไยแบบงาย รวดเร็ว และราคาถูก42 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi 0.0 0.1 ppm Pb 0.5 0.9 1.3 1.7 1.9จด� เดน ของผลงาน กระดาษตรวจสอบตะกั่วในลำไยมีจด� เดน คือ มคี วามถูกตองสูง โดยสามารถตรวจวัดตะกว่ั ไดค วามเขม ขน ตำ่ สดุ 0.1 มลิ ลิกรมั ตอ กโิ ลกรมั ใชง านงา ย โดยใชเ วลาเพยี ง 1 นาทีและราคาถูกการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย ใชส ำหรบั ตรวจวดั ตะกว่ั ในตวั อยา งลำไย หรอ� ตวั อยา งอน่ื ๆ เชน นำ้ หรอ� อาหารเปน ตนทรัพยสนิ ทางปญญา ผูชว ยศาสตราจารย อยรู ะหวา งดำเนินการ ดร.ศิร�วรรณ ตีภ้ ู ภาควช� าเคมี คณะว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3529 43

44

กลมุ งานว�จัย เพื่อสรา งธรุ กิจวส� าหกจิ ขนาดกลาง และขนาดยอม 45

เคแอนดพ บี ลอ็ ก 20 นวตั กรรมบลอ็ กกอสรา ง ทรงลูกบาศก K&P Block Innovative cubic building blocks ช่�อผลงานนวัตกรรม และสงิ่ ประดษิ ฐ “ อาจารยป ระชมุ คำพุฒ ” บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคญั เคแอนดพ ีบล็อก: นวตั กรรมบลอ็ กกอ สรางทรงลูกบาศก มลี ักษณะเปนกอ นบล็อก ที่ทำจากวัสดุตางๆ เชนคอนกร�ต หร�อดิน มาอัดข�้นรูปเปนทรงลูกบาศกมีขอบเซาะรอง เพื่อยดึ กับวสั ดปุ ระสานระหวา งกอ นหรอ� ไมตอ งยดึ ติดกไ็ ด ขนาด 10 x 10 x 10 เซนติเมตร และขนาด 15 x15 x 15 เซนติเมตร มีสีธรรมชาติของวัสดุที่ทำการผลิตหร�อเพิ่มสีสัน อื่นๆ ได ตามตองการนำไปใชเปนวัสดุกอเปนผนังรับน้ำหนักที่ไมตองฉาบปูน หร�อ ประยุกตใชสำหรับการตกแตงภายในหร�อภายนอกอาคารได46 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ัย และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดนของผลงาน เคแอนดพีบล็อก: นวัตกรรมบล็อกกอสรางทรงลูกบาศก เปนผลิตภัณฑวัสดุกอสรางสำหรับกอผนังและตกแตง ที่สะดวก ประหยัด กะทัดรัด และทันสมัย สามารถใชเปนผนังรับน้ำหนักได มีสีสันหลากหลายใหเลือกใช เหมาะกับอาคารสมัยใหม ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมการนำไปใชป ระโยชนเ ช�งพาณิชย นำไปใชเปนวัสดุกอทำผนังรับน้ำหนักที่ไมตองฉาบปูน หร�อประยุกตใช เปนวัสดุสำหรับการตกแตงภายในหร�อภายนอกอาคารได โดยไดมีการประสานความรวมมือกับภาคเอกชนในการผลิตเพ่ือจำหนายตางประเทศทรพั ยส นิ ทางปญ ญา อาจารยป ระชุม คำพฒุ อยรู ะหวางดำเนนิ การ ภาควช� าว�ศวกรรมโยธา คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3410 47

21 ขนมกลบี ลำดวน น้ำมันชาเสรม� บัวหลวง ช่�อผลงานนวตั กรรม และสิง่ ประดษิ ฐ “ ผูชว ยศาสตราจารย ดร.เลอลักษณ เสถยี รรตั น ” บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคัญ ผลงานใชพ ืน้ ฐานความรทู างว�ทยาศาสตรในการพัฒนาผลิตภัณฑอ าหาร ใหมีรูปแบบ ทแ่ี ตกตา งจากเดมิ เปน ผลติ ภณั ฑร ปู แบบใหมท ต่ี อบสนองความตอ งการบรโ� ภคทค่ี ำนงึ ถงึ สุขภาพที่มีรูปแบบ สี กลิ่น และรสชาติ ที่ผูบร�โภคยอมรับ ทั้งยังมีศักยภาพในการผลิต เพื่อสรา งรายไดแกช มุ ชน การพัฒนาผลิตภัณฑขนมกลีบลำดวนน้ำมันชาเสร�มบัวหลวง โดยศึกษาสวนของ บัวหลวงทีม่ ฤี ทธ์�ตา นอนมุ ลู อิสระ พัฒนาผลิตภณั ฑขนมกลบี ลำดวนน้ำมันชาเสร�มบัวหลวง ทดสอบคณุ ภาพทางประสาทสัมผสั และทดสอบการยอมรับของผูบร�โภค48 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดน ของผลงาน1. ผลิตภัณฑมีความแปลกใหมแตกตางจากเดิม โดยใชวัตถุดิบคือน้ำมันชาที่มี ประโยชน ทดแทนน้ำมนั มนั พืช2. ผลิตภัณฑม กี ารเสร�มสวนของบวั หลวงท่มี ีประโยชนล งในสวนผสม คอื เกสรบวั กลบี บวั และใบบัว ทำใหม ีสีและลักษณะตางจากเดิม3. ผลิตภัณฑยังมีลักษณะเปนขนมไทยใชในงานมงคลตามลักษณะดั้งเดิม ที่สวยงาม อายุการเก็บนาน รสชาติ หอม หวาน อรอยการนำไปใชประโยชนเชง� พาณชิ ยผลติ ภณั ฑข นมไทยทไ่ี ดพ ฒั นากรรมวธ� ก� ารผลติ โดยเลอื กใชว ตั ถดุ บิ ทม่ี ปี ระโยชนค อืนำ้ มนั ชา ทดแทนนำ้ มนั พชื มกี ารเสรม� สว นของบวั หลวงทม่ี ฤี ทธต์� า นอนมุ ลู อสิ ระทำใหเ กดิสีที่หลากหลายแตกตางไปจากเดิมมีรูปแบบสวยงาม ตามลักษณะเดิมแตมีประโยชนและมีคุณคาทางโภชนาการเพ่ิมขน�้ ทั้งยงั สามารถผลติ เพ่อื จำหนายในระดบั ชุมชน หรอ� ระดับอตุ สาหกรรมขนาดยอ ม ผูชวยศาสตราจารย ดร.เลอลกั ษณ เสถียรรัตนทรพั ยส ินทางปญญา สาขาว�ชา อาหารและโภชนาการ อยูระหวา งดำเนินการ คณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: lerluck_s @rmutt.ac.th โทรศัพท 0 2549 3161 49

22 ผนงั ฉนวนความรอน สําเร็จรูป จากไมโตเร็ว และพืชพลงั งาน ช�่อผลงานนวัตกรรม และสิง่ ประดษิ ฐ “ อาจารยประชุม คำพฒุ ” บทสรุปดา นนวตั กรรม และความสำคัญ ผนังฉนวนความรอนสำเร็จรูปจากไมโตเร็วและพืชพลังงาน มีลักษณะเปนระบบผนัง สำเร็จรูป 2 ชั้น ขนาดแผนละ 30 x 60 ตารางเซนติเมตร โดยที่ดานนอกทั้ง 2 ดาน เปนแผนอัดที่ทำจากไมโตเร็วยึดติดกับแกนกลางที่ทำจากพืชพลังงานมาอัดเปนแผน ความหนาแนนต่ำ ไดเปนผลิตภัณฑระบบผนังฉนวนความรอนสำเร็จรูปที่มีน้ำหนักเบา คงทนใชเ วลาในการตดิ ตง้ั รวดเรว็ สะดวก โดยการใชเ ดอื ย สลกั และอปุ กรณย ดึ ซง่� ไมก อ ในการฝุนและเศษสิ่งสกปรกขณะทำการติดตั้งเปนผนังกอสรางอาคารสำหรับประหยัด พลังงาน50 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ัย และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดน ของผลงาน ผลิตภัณฑวัสดุกอสรางสีเข�ยวจากไมโตเร็วและพืชพลังงาน เปนผลิตภัณฑที่ใชผลพลอยไดจากไมโตเร็วและพืชพลังงานไดทุกสวน มาผลิตเปนวัสดุกอสรางประเภทผนงั ฉนวนความรอน โดยสามารถใชก ารเชอ่� มประสานดวยโพลิเมอร และการเช่�อมประสานดว ยซเ� มนต เปนมติ รตอส่ิงแวดลอ มการนำไปใชประโยชนเชง� พาณิชยถา ยทอดความรูใหกบั ชมุ ชน วส� าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม ถายทอดองคค วามรูใหกับหนวยงานผูใหทุนว�จัย และรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม บร�ษัทตางๆ ที่สนใจในการขยายผลการดำเนินงานเพ่ือผลิตและจำหนายเปนผลติ ภณั ฑในเชง� พาณชิ ย อาจารยประชุม คำพุฒ ภาควช� าวศ� วกรรมโยธาทรัพยสินทางปญ ญา คณะวศ� วกรรมศาสตร อยูระหวา งดำเนนิ การ มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3410 51

23 วุนเสน เสร�มแปง แกนตะวัน ช่�อผลงานนวัตกรรม และส่งิ ประดิษฐ “ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรวลั ภ อุปถมั ภานนท ” บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคัญ วุน เสนเสรม� แปงแกนตะวันเปน อาหารสรา งสุขภาพ โดยมสี ารอนิ นลู ินที่เปน คารโบไฮเดรท โมเลกุลใหญซ�่งจัดเปนใยอาหารที่ละลายน้ำ และไมถูกยอยในระบบทางเดินอาหารจ�งไมให พลังงานและไมเพิ่มระดับน้ำตาล นอกจากนี้ยังชวยใหการยอยและดูดซ�มแปงและน้ำตาล ชาลงจ�งเปนผลดีตอระดับน้ำตาลในเลือดของผูปวยโรคเบาหวาน ชวยควบคุมพลังงาน ที่ไดรับตอวันไดเปนอยางดี จ�งชวยลดความอวนได52 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดนของผลงาน วนุ เสน เสรม� แปงแกน ตะวนั เปน อาหารท่ีบร�โภคเพื่อเสร�มสรางสุขภาพรางกายใหแ ข็งแรงเปนการปองกันโรคมากกวาการรักษา มีสารอินนูลินชวยใหการยอยและดูดซ�มแปงและน้ำตาลชาลง จ�งเปนผลดีตอระดับน้ำตาลในเลือดของผูปวยโรคเบาหวาน ชวยควบคุมพลังงานที่ไดรับตอวันไดเปนอยางดีตอผูที่ตองการลดน้ำหนัก ลักษณะเปนวุนเสนแหงจ�งมีน้ำหนักเบา เก็บไดที่อุณหภูมิหองและมีอายุการเก็บนานการนำไปใชประโยชนเ ช�งพาณิชย วุนเสนเสรม� แปง แกน ตะวันสามารถตอบโจทยข องผบู รโ� ภคในปจ จ�บนั ไดด ีในดานโภชนาการเนอื่ งจากเปนอาหารสรางสขุ ภาพ และดา นความสะดวกในการรับประทานเนอื่ งจากสามารถผลติ ไดท ง้ั แบบสดและแบบแหง ดงั นน้ั กลมุ ผบู รโ� ภคเปา หมายจง� เปน กลมุ ผบู รโ� ภคทร่ี กั สขุ ภาพผสู ูงอายุ และกลมุ ผูท่ีตองการควบคุมนำ้ หนกั ทำใหต ลาดของวุนเสน เสร�มแปง แกนตะวันจง� คอ นขางกวางและอยูในแนวโนม ของทิศทางตลาดปจ จบ� ันทรัพยส ินทางปญ ญา ผชู วยศาสตราจารย อนุสิทธบ� ตั รเลขท่ี 11965 ดร.อรวัลภ อุปถัมภานนท สาขาว�ชาอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3162 53

ผลติ ภณั ฑ 24 วสั ดกุ อสรา งสเี ขย� ว จากผลพลอยได ของโรงงานไฟฟา ชว� มวล ช่อ� ผลงานนวตั กรรม และสิง่ ประดิษฐ “ อาจารยป ระชมุ คำพฒุ ” บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคญั ผลิตภัณฑวัสดุกอสรางสีเข�ยวจากผลพลอยไดของโรงงานไฟฟาช�วมวล เปนผลิตภัณฑ วัสดุกอสรางที่ไดจากการนำผลพลอยไดจากโรงงานไฟฟาช�วมวล อาทิเชน เถาช�วมวลประเภท ตา งๆ เสนใยธรรมชาติหร�อวสั ดุท่ีใหค าพลังความรอนตำ่ ทถ่ี กู คัดแยกไมนำไปเผาไหมเ ปนเช้อ� เพลิง มาเปน สว นผสมสำคัญในการผลิตวสั ดกุ อ สรางตน ทนุ ต่ำ และเปนมิตรตอสง่ิ แวดลอ ม โดยวสั ดุ กอสรา งทุกประเภททีท่ ำการผลิตมคี ุณสมบตั ิผานเกณฑม าตรฐานผลติ ภณั ฑอุตสาหกรรม (มอก.) มีความสวยงาม สามารถใชเ ปน วสั ดกุ อ สรา งสำหรบั อาคารเขย� วได54 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ัย และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดนของผลงาน ผลิตภัณฑวัสดุกอสรางสีเข�ยวจากผลพลอยไดของโรงงานไฟฟาช�วมวล: นวัตกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมจากผลพลอยไดของโรงงานไฟฟาช�วมวล เปนผลิตภัณฑวัสดุกอ สรา งท่ีใชวตั ถุดิบเหลือท้ิงจากโรงไฟฟาช�วมวล ชว ยลดตน ทุนในการกอสรา ง และเปนวสั ดุที่ปอ งกันความรอ นและตนทนุ การผลติ ต่ำการนำไปใชประโยชนเ ช�งพาณิชย ถายทอดองคความรูใหกับหนวยงานที่สนับสนุนงบประมาณว�จัย และรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม บร�ษัทที่สนใจในการขยายผลการดำเนินงานเพื่อผลิตและจำหนายเปนผลิตภัณฑในเชง� พาณิชย สรา งมูลคาเพม่ิ ใหกับวัตถุดบิ ทเ่ี หลอื ทิ้งทรพั ยส นิ ทางปญ ญา อาจารยประชมุ คำพฒุ อยูระหวา งดำเนนิ การ ภาคว�ชาว�ศวกรรมโยธา คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3410 55

การพฒั นา 25 ผลิตภัณฑเ คร่อ� งสำอาง บำรุงผิวหนา จากสารสกัด ธรรมชาตชิ นิดใหม ช่�อผลงานนวตั กรรม และสิ่งประดิษฐ “ ผชู วยศาสตราจารย ดร. กรว�นทวช� ญ บุญพิสทุ ธ�นนั ท ” บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคญั ผลิตภณั ฑเครอ่� งสำอางนี้มกี ารใชสารสกัดจากธรรมชาติ ไดแก สารสกดั จากบัวผัน เงาะสีชมพูและวานตาลเดี่ยว ที่มีการศึกษาว�จัยถึงฤทธ�์ทางช�วภาพ ประสิทธ�ภาพ และ ความปลอดภัย อีกทั้งไดรับการยื่นจดแจงสิทธ�บัตรและอนุสิทธ�บัตรแลว โดยผลิตภัณฑ เครอ�่ งสำอางนจ้ี ะอยูในรปู แบบใหมท่ียังไมมีหรอ� มนี อ ยในทอ งตลาด56 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จยั และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดนของผลงาน - เซรั่มเจลสเปรย เปนเซรั่มจากสารสกัดจากธรรมชาติเขมขน ที่มีลักษณะเปนเจลแตสามารถพนออกมาเปนละอองน้ำคลายกับสเปรย เนื้อบางเบา ซ�มลงผิวไดรวดเร็วไมเหนียวเหนอะหนะ - สเปรยน้ำแร เปนสเปรยที่มีสวนผสมของสารสกัดจากธรรมชาติ และนำไปบรรจ�กระปองแบบอัดอากาศซ�ง่ จะชว ยใหค วามชมุ ชน�้ กับผิวหนาไดด ี - โฟมลางหนา เปน โฟมลางหนา สตู รออนโยนทไ่ี มมีประจ� ซง่� จะชวยใหผวิ หนา ไมแ หงกรา น - ครม� ขัดหนา เปนคร�มขัดหนาที่ใชเ มด็ สครบั แบบออ นโยน สครับจะสลายไประหวา งขัดไมกอใหเ กิดร้�วรอยบนผิวหนา ไมเ ปน อนั ตรายตอสิง่ แวดลอมการนำไปใชประโยชนเ ชง� พาณชิ ย ทางบร�ษัทมีการออกแบบบรรจ�ภัณฑสินคาที่สามารถตอบโจทยการใชสินคาที่งายตอการพกพาและใชงานที่สะดวกตอผูบร�โภคทั้งยังมีชองทางการจัดจำหนายที่งายตอการเขาถึงสินคาทุกตัวโดยสามารถหาซ�้อไดตาม Page ของบร�ษัท บางกอก อะโล และตาม Facebook รวมถึงหาซ้�อไดต ามตัวแทนทว่ั ประเทศ และจะกระจายและเผยแพรสินคาออกตามสอ่ื ทีท่ างบรษ� ทั เปดอยพู รอมกบั เสนอความแปลกใหมในตวั สนิ คา ทต่ี ามทองตลาดยังไมมีการนำนวัตกรรมจาก บัวผัน เงาะสีชมพู และวานตาลเดี่ยว มาใชในการนำเสนอพรอมอธ�บายความแตกตา งจากการใชสารสกดั ท่ีใหค วามขาวกระจา งใสและความปลอดภัยท่มี ีอยูในตวั สารทั้ง 3 ชนิด วา ปลอดภัยกวา การใชเคมตี ามทองตลาดในปจ จบ� นัทรัพยส ินทางปญญา - คำขอรับสิทธ�บัตร เลขที่ 1301005096 - คำขอรับอนุสิทธ�บัตร เลขที่ 1603002523 - คำขอรับอนุสิทธ�บัตร เลขที่ 1603002524 ผชู วยศาสตราจารย ดร.กรว�นทวช� ญ บญุ พสิ ทุ ธน� นั ท ภาคว�ชาสขุ ภาพและความงาม คณะว�ทยาลยั การแพทยแ ผนไทย มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2592 1999 57

พ.ี ที.บลอ็ ก 26 บลอ็ กกอ ผนงั ไรปูนกอ -ฉาบ ทม่ี คี ุณสมบตั เิ ปนฉนวนกนั เสียง และความรอนในตัวเอง P.T. Block : Block wall without plaster have sound and heat insulation properties ช�อ่ ผลงานนวัตกรรม และส่ิงประดิษฐ “อาจารยประชมุ คำพุฒ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคญั พี.ที.บล็อก: บล็อกกอผนังไรปูนกอ-ฉาบ ที่มีคุณสมบัติเปนฉนวนกันเสียงและ ความรอนในตวั เอง เปนอิฐบลอ็ กทด่ี ดั แปลงมาจากลักษณะของอิฐบล็อกประสานทีเ่ พิ่ม การออกแบบนวัตกรรมของผิวหนาใหเปนคร�บกันความรอนและสำหรับใสแผนวัสดุ ปองกันเสียง ซ�่งวัสดุที่ใชสามารถใชวัสดุเหลือทิ้งจากภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม เปน วัสดุผสมหลกั ผา นการทดสอบตามเกณฑม าตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ใชกอ เปน วสั ดผุ นังภายนอกหรอ� ภายในอาคาร ทม่ี คี ณุ สมบัติในการเปน ฉนวนความรอ นและฉนวน กนั เสียงไดด ีกวาอิฐกอผนังท่ัวไป58 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดนของผลงาน พ.ี ท.ี บล็อก: บล็อกกอผนังไรปูนกอ -ฉาบ มีจ�ดเดน ดานการออกแบบบล็อกใหส ามารถกอผนังโดยไมตองฉาบปูน มีคุณสมบัติในการเปนฉนวนความรอนและฉนวนกันเสียงภายในตวั เอง โดยไมตอ งติดตง้ั ผนังกันเสยี งเพิม่ เตมิการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย ถายทอดความรูใหกับชุมชน ว�สาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และรวมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการขยายผลการดำเนินงานเพื่อผลิตและจำหนายเปนผลิตภัณฑในเช�งพาณิชยทรพั ยส นิ ทางปญ ญา อาจารยประชมุ คำพฒุ อยรู ะหวา งดำเนินการ ภาคว�ชาวศ� วกรรมโยธา คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3410 59

27 หมสู มขา วยีสตแดง Red Yeast Rice Fermented Pork ชอ�่ ผลงานนวัตกรรม และสงิ่ ประดษิ ฐ “ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เลอลักษณ เสถียรรตั น ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคัญ หมสู ม เปน ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ในการถนอมอาหาร โดยการหมกั หมเู พอ่ื ใหไดร สเปรย้� ว การเสร�มขาวยีสตแดงที่มีสีแดงเขม ซ�่งใหสารโมนาคอลินสซ�่งมีฤทธ�์สามารถชวยลด โคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด สารไคตนิ จากเชอ้� รา ชว ยเสรม� สรา งไขขอ และชวยลด การเสื่อมของไขขอมีสารกาบาชวยใหสมองผอนคลาย สารไคโตซานซ�่งสามารถชวย ดักจับไขมัน และมีสารแอนติออกซ�แดนทสูงที่ชวยปกปองเซลลจากอนุมูลอิสระ จ�งชวย เพิ่มคุณคาทางโภชนาการแกหมูสม60 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดน ของผลงาน หมูสมขาวยีสตแดงเปนผลิตภัณฑที่มีความแปลกใหมแตกตางจากเดิม ผลิตภัณฑมีการเสร�มขาวยีสตแดงที่มีประโยชนลงไป เพื่อแตงสีใหแดง นารับประทาน ผลิตภัณฑมีลักษณะอาหารที่ดี สีสวย รสชาติอรอย ไมเปนอันตรายตอผูบร�โภคการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย ผลติ ภณั ฑห มสู ม เสรม� ขา วยสี ตแ ดง สามารถถา ยทอดเทคโนโลยกี ารพฒั นาผลติ ภณั ฑจากกระบวนการว�จยั สชู ุมชน และสงเสรม� ผลติ เชง� พาณิชยเพอื่ สรา งอาช�พและรายไดทรพั ยสนิ ทางปญญา ผูช วยศาสตราจารย อยูระหวา งดำเนินการ ดร.เลอลกั ษณ เสถยี รรัตน คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 549 3161 61

28 แผนซ�เมนตละมนุ (วสั ดซุ �เมนต ทีม่ คี วามยืดหยนุ สูง) ชอ�่ ผลงานนวตั กรรม และสงิ่ ประดษิ ฐ “ ผูชว ยศาสตราจารย ดร.วชร� ะ แสงรัศมี ” บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคัญ แผนซเ� มนตละมนุ นีผ้ ลติ จากวัสดผุ สมของ ผงใยเศษผา ทเ่ี ปน วัสดุท้งิ จากโรงงานรไ� ซเคลิ เศษผา ซ�เมนต และน้ำยางพารา โดยปกติน้ำยางพาราจะไมสามารถผสมกับซ�เมนตไดดี แตเราไดพัฒนาเทคนิคการใชสวนผสมทั้งหมดนี้เพื่อพัฒนาเปนวัสดุกอสรางอาคารที่มี ความแข็งแรงบนความยืดหยุนสูง การใชประโยชนจากน้ำยางพารานี้จะเปนสวนหนึ่งที่จะ ชวยสงเสร�มและเพิ่มมูลคาน้ำยางพาราในประเทศไดตอไป62 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเช�งพาณชิ ย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดน ของผลงาน สมบัติที่โดดเดนกวาวัสดุไฟเบอรซ�เมนตทั่วไป คือ มีความแข็งแรงและยืดหยุนสูง(แขง็ ไมเ ปราะ) เปน วสั ดแุ ผน บางได มคี วามเหนยี วโคง งอได มคี วามเปน ฉนวนกนั ความรอ นและรับแรงกระแทกสงูการนำไปใชประโยชนเช�งพาณชิ ย ใชทำเปนแผนไมสังเคราะหหร�อไมฝา แผนไมรั้ว ฝาเพดาน บล็อกปูพื้นกันกระแทกเปนตนทรัพยส ินทางปญ ญา ผชู ว ยศาสตราจารย อยูระหวา งดำเนนิ การ ดร.วช�ระ แสงรัศมี ภาคว�ชา เทคโนโลยสี ถาปตยกรรม คณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 4771-2 63

29 การพฒั นาลวดลาย ผา ขาวมา สำหรับชดุ โอกาสพเิ ศษ ช่อ� ผลงานนวตั กรรม และส่ิงประดษิ ฐ “ นายกรณทั สขุ สวสั ดิ์ ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคัญ การพฒั นาการออกแบบลวดลายผา ขาวมา ลายนำ้ ไหล ซง่� เปน เทคนคิ กอ นจะนำไปทอ เปน ผนื ผา เพ่ือพัฒนาลวดลายใหดูเดนเปนเอกลักษณและทนั สมยั สอดคลอ งกับยุคปจจบ� ัน ตลอดจนนำผาขาวมาที่ไดจากการพัฒนาออกแบบลวดลาย จำนวน 3 ลาย โดยนำมา ออกแบบและตดั เยบ็ ชุดโอกาสพเิ ศษจำนวน 3 คอลเลกชนั ๆ ละ 3 ชดุ รวมจำนวน 9 ชุด64 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวัตกรรมเช�งพาณชิ ย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดนของผลงาน เพื่อพัฒนาภูมิปญญาการทอผาลายน้ำไหล โดยผลิตผาขาวมาเปนสินคาหลักสรางสรรคผลิตภัณฑมากไปกวาผืนผา โดยการพัฒนาลวดลายผาขาวมาสำหรับชุดโอกาสพเิ ศษ ท้งั ยังสรา งสรรคล วดลายเปนเอกลกั ษณ จ�ดเดน ซ่�งเกดิ จากเทคนิคการมัดยอมเสนดาย กอนนำไปทอจนไดลายน้ำไหลสลับสีคลายน้ำไหลการตอยอดพัฒนาจากวตั ถุดบิ ผาขาวมาใหม รดกภมู ปิ ญญาคงอยูการนำไปใชป ระโยชนเช�งพาณิชยเพอื่ สงเสรม� งานสรางสรรคผ ลงานท่มี ีเอกลษั ณเฉพาะโดยใชเ ทคนคิจากภูมปิ ญ ญาวถ� ชี ว� ต� ศลิ ปวฒั นธรรมท่มี ีความหลากหลายมาประยุกตใชเพ่อื ตอยอดพฒั นาจากวตั ถุดบิ ผา ขาวมา นายกรณัท สุขสวัสดิ์ใหม ีมูลคาการแปรรปู ผลิตภณั ฑแ ละความหลากหลาย สาขาว�ชาส่งิ ทอและเคร่�องนุงหมของผลิตภัณฑในเช�งพาณชิ ย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ �ทรัพยส นิ ทางปญ ญา E-mail: [email protected] อยูร ะหวา งดำเนนิ การ โทรศพั ท 0 2549 3179 65

30การออกแบบและพฒั นา เคร่�องฉีกเสน หมูฝอย ตน แบบสำหรบั OTOP กลุมสตรอ� าสาพฒั นาบานหนองหลวง เพื่อการสง ออก สปู ระชาคมอาเซ�ยน ชอ่� ผลงานนวตั กรรม และส่งิ ประดษิ ฐ “ ผูช วยศาสตราจารย ดร.ศริ �ชัย ตอสกุล ” บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคญั เครอ่� งฉกี หมฝู อยถกู ออกแบบและสรา งขน้� เพอ่ื ลดเวลาและแรงงานในการฉกี หมฝู อย สำหรบั ใชในวส� าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ ม เครอ่� งตน แบบประกอบไปดว ย โครงสรา ง เครอ�่ ง ชอ งใสวัตถุดบิ ชุดสง กำลัง ชดุ ใบมีด ชอ งทางออกของวัตถดุ ิบ และระบบควบคมุ การทำงานโดยใชม อเตอรขนาด 25 W เปนเคร�่องตนกำลงั การทำงานของเครอ่� งเปนแบบ เพลาหมนุ ชุดใบมีดเรย� งตรง การทำงานงา ย66 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi 2 61 A 3 B 3 C 4 7 5 A ทำหนา ทบ่ี ดหมแู ทนการทบุ หมขู องกรรมวธ� แ� บบดง้ั เดมิโมเดลตน แบบเครอ่� งฉกี หมฝู อย B ทำหนา ทป่ี ระคองหมทู ต่ี กจากเพลาบดแทนการจบั หมดู ว ย C ทำหนา ทเ่ี กย่ี วหมแู ทนการฉกี หมแู บบกรรมวธ� ด� ง้ั เดมิ1 ชอ งใสห มู 5 ทล่ี ำเลยี งหมตู ก2 ชดุ ควบคมุ ระบบการทำงาน 6 ชดุ มอเตอรเ พลสบดหมู3 ตวั ปรบั ระยะเพลาบดหมู 7 ตวั คำ้ เพลท4 ชดุ มอเตอรเ พลาฉกี หมูจด� เดนของผลงาน ทำงานที่ความเร็วรอบในการฉีกหมูฝอย 1,100 รอบตอนาที สามารถฉีกหมูฝอยได44 กิโลกรัมตอวัน และจากการว�เคราะหเช�งเศรษฐศาสตรว�ศวกรรมพบวาเปนตัวเลือกที่นาสนใจสำหรับการลงทุนในว�สาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม โดยมีระยะเวลาคืนทุน6 เดือนการนำไปใชป ระโยชนเชง� พาณชิ ย ว�สาหกิจชุมชนกลุมสตร�เกษตรบานหนองหลวง อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ซ�่งตองการพัฒนาผลิตภัณฑโอทอป (OTOP) ของจังหวัดกำแพงเพชรเพื่อแขงขันในตลาดและสงออกสูประเทศอาเซ�ยน ตอนรับเศรษฐกิจอาเซ�ยน AECทรัพยส ินทางปญ ญา ผชู ว ยศาสตราจารย คำขอรับอนุสิทธ�บตั ร เลขที่ 1703001964 ดร.ศิรช� ยั ตอสกลุ ภาควช� าวศ� วกรรมอุตสาหการ คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3490 67

31การพฒั นาลวดลาย มดั ยอ มดว ยพืชพื้นเมอื ง และการแปรรปู ผลติ ภณั ฑส ง่ิ ทอฯ Development of Tie Dyeing Patterns with native plants and processing of textile products. ช�่อผลงานนวตั กรรม และสิ่งประดษิ ฐ “ นายกรณทั สุขสวสั ดิ์ ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคัญ พัฒนาลวดลายจากองคความรูจากภูมิปญญา ดวยการมัดยอมสีธรรมชาติดวย พืชพื้นเมือง เพื่อการอนุรักษดานสิ่งแวดลอมจากพืชพื้นเมืองจังหวัดชุมพร ลดปญหา มลพิษเพอ่ื นำวัสดุพืชในพื้นท่ี เพมิ่ มูลคาเปนผลผลิตท่ีมีตอการออกแบบผลิตภณั ฑกระเปา ทที่ ันสมัย ผานขบวนการสารสะทอนนำ้ กับผลิตภัณฑส ่ิงทอฯ68 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดน ของผลงาน กลุมผาบาติกหาดทรายร� ไดเกิดข�้นจากการรวมตัวของสมาช�กกลุม เนื่องจากในพื้นที่หาดทรายร�มีผูสนใจทำผาบาติกจำนวนมาก สมาช�กของกลุมจ�งแยกตัวออกมาตั้งกลุมทำผา บาติกแบบครัวเรอ� น เพ่ือสรา งอาชพ� และกระจายรายไดใหก บั ชุมชน กลุมผา บาติกอสม.ผาแดง หาดทรายร� ไดผานการรับรอง การพัฒนาผลิตภัณฑ ตามโครงการเคร�อขายองคความรูชุมชน (KBO) และผานการรับรองผลิตภัณฑเปนสินคา OTOPการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย เพ่อื พัฒนาภูมิปญญาการยอมผาดวยสีธรรมชาติ โดยผลิตผามัดยอมเปน สินคาหลกัสรางสรรคผลิตภัณฑมากไปกวาผืนผา เชน หมวก กระเปา และของที่ระลึก ทั้งยังสรา งสรรคลวดลายเปน เอกลักษณ การมดั ยอ ม ซง่� เกิดจากเทคนิคการมดั ยอ มเปนผนื ผาเพ่อื ใหมรดกภูมปิ ญญานีย้ งั คงอยูทรัพยสนิ ทางปญญา นายกรณทั สุขสวัสด์ิ อยูร ะหวา งดำเนนิ การ สาขาว�ชาสงิ่ ทอและเคร่�องนงุ หม คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3179 69

32 ขาวตอกเกบ็ กกั กลนิ่ น้ำมนั หอมระเหย ในลูกประคบ สมนุ ไพรบำรงุ ผวิ ชอ่� ผลงานนวตั กรรม และส่งิ ประดษิ ฐ “ นางจฑ� าภรณ ขวญั สังข ” บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคญั ปจ จบ� นั ธรุ กจิ การดูแลสุขภาพมีการเตบิ โตทั้งในประเทศและตา งประเทศ นอกจากงาน บร�การแลว ผลติ ภัณฑท ถ่ี อื เปน เอกลกั ษณของความเปนไทย ไดแ ก ลกู ประคบ ลูกประคบ ที่ใชในสถานประกอบการมที ้ังลกู ประคบทม่ี สี รรพคณุ แกป วดเมื่อย และลูกประคบบำรงุ ผวิ ลกู ประคบบำรงุ ผวิ จะใหก ลน่ิ ของสมนุ ไพรนอ ย และจางหายเรว็ เมอ่ื ใชซ ำ้ ทำใหผ รู บั บรก� าร ไดรับการบรก� ารไมค รบในเร่�องของกลิน่ สัมผัส เพอ่ื ใหก ลิน่ ของลกู ประคบยงั คงอยไู ดน านข้น� จง� ไดน ำขา วตอก ทม่ี ลี กั ษณะรพู รนุ สามารถเกบ็ กลน่ิ นำ้ มนั หอมระเหยไดด ี มาใสในลกู ประคบ เพือ่ ชวยใหก ลนิ่ ของน้ำมนั หอมระเหยไมจางหายไป70 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ัย และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi Rice Encapsulation Popped Rice Herbal Compress Ballจ�ดเดน ของผลงาน การนำขา วตอกมาเพ่ิมมลู คา ดวยการเก็บกักกลิ่นของน้ำมนั หอมระเหย จากโครงสรางของขาวตอกมีลักษณะเปนรูพรุน สามารถกักเก็บน้ำมันหอมระเหยได ทำใหลูกประคบที่ใสขาวตอกสามารถกักเก็บกลิ่นของน้ำมันหอมระเหยไดนานกวาลูกประคบที่ไมไดใสขาวตอก ทำใหการใชลูกประคบซ้ำยังใหกลิ่นของน้ำมันหอมระเหยการนำไปใชประโยชนเชง� พาณิชย เพิม่ ประสทิ ธ�ภาพในการใชงานของลกู ประคบใหมกี ลิ่นของนำ้ มันหอมระเหยยาวนานข�้นชวยสงเสร�มงานบร�การในเร�่องการนวดประคบดานความงามที่ตองอาศัยกลิ่นในการใหบร�การกับลูกคา และเพิ่มจ�ดขายลูกประคบบำรุงใหมีลักษณะที่โดดเดน แตกตางจากลูกประคบชนิดเดียวกันทรัพยส นิ ทางปญ ญา นางจ�ฑาภรณ ขวัญสังข อยูระหวางดำเนนิ การ ภาควช� าการแพทยแ ผนไทย สาขาว�ชาสขุ ภาพและความงาม คณะว�ทยาลัยการแพทยแผนไทย มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2592 1999 # 1417 71

การพฒั นา 33 ชุดลำลองผูชายดว ย ผา ขาวมากล่ินอโรมา cTahseuadwleimtvheelRnoo'psmmcaleo.ntht iongf ช�่อผลงานนวัตกรรม และส่งิ ประดษิ ฐ “ นายกรณทั สุขสวัสด์ิ ” บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคัญ “ความหอม” สรรพคุณทางดานสมุนไพรไทยอโรมาสุคนธบำบัดหร�อการบำบัด ดว ยกล่นิ หอมน้ำมนั หอมระเหยจากดอกมะลิเรย� กวา Jansmine Oil ซ่ง� มีกล่นิ หอมหวาน ใหความรูสึกอบอุน มีผลตออารมณ ลดอาการซ�มเศราผอนคลายความตึงเคร�ยดและ ความกลัว บรรเทาอาการปวดศีรษะ การเพิ่มสมบัติพิเศษกลิ่นหอมอโรมาลงบนผืนผา ดวยเทคโนโลยีเอนแคปซูเลชันเพื่อชวยลดความตึงเคร�ยดจากการสวมใส72 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ัย และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดน ของผลงาน “ผาขาวมา ”คอื สิ่งมหัศจรรยแ หงสายใยทถ่ี กั ทอไวอ ยางประณีต จากตำนานกาลเวลาและคุณคาอันนายกยอง การเพิ่มสมบัติพิเศษกลิ่นหอมอโรมาเทอราปลงบนผืนผาดวยเทคโนโลยเี อนแคปซเู ลชนั เพอ่ื ชว ยลดความตงึ เครย� ดจากการสวมใส การพฒั นาชดุ ลำลองผชู าย สมยั ในยคุ Thailamd 4.0การนำไปใชป ระโยชนเชง� พาณิชย การพัฒนาองคความรูจากภูมิปญญา เปนแนวทางการสรางมูลคาเพิ่มดานการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑชุดลำลองบุรุษดวยรูปแบบที่ทันสมัย เปนแนวทางในการสง เสรม� การใชแ ละพฒั นาผลติ ภณั ฑด า นสง่ิ ทอและสนบั สนนุ การใชภ มู ปิ ญ ญา การตดั เยบ็โดยใชผ าไทย สง เสร�มใหสวมใสผาไทยการตดั เยบ็ ท่สี วมใสไดจร�งทรัพยส ินทางปญญา นายกรณัท สุขสวสั ด์ิ อยรู ะหวา งดำเนินการ สาขาวช� าสิง่ ทอและเครอ�่ งนงุ หม คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3179 73

34 ซอสหอยขม ช�่อผลงานนวตั กรรม และส่งิ ประดษิ ฐ “ นายณฐั ชรัฐ แพกุล ” บทสรุปดา นนวตั กรรม และความสำคญั ผลติ ภณั ฑซ อสหอยขมสำหรบั ประกอบอาหาร โดยการนำหอยขมมาใชท ดแทนหอยนางรม 100% โดยหอยขมเปนสัตวน้ำจ�ดที่พบไดงายในประเทศไทยและเอเช�ยตะวันออกเฉียงใต สามารถนำมาประกอบอาหารไดมีราคาถูก มปี ร�มาณคลอเรสเตอรอลต่ำ เพาะเลีย้ งไดงาย เจร�ญเติบโตไว ทนตอสภาพดินฟาอากาศที่เปลี่ยนแปลง และเมื่อเทียบกับหอยนางรม ที่มีราคาสูง มีปร�มาณคลอเรสเตอรอลสูง เพาะเลี้ยงไดยาก ไมทนตอสภาพน้ำทะเล เมื่อมีอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงและเปนสัตวน้ำที่มีการสะสมของสารพิษกลุมโลหะหนัก ที่ปนเปอนในน้ำทะเล จ�งอาจมีผลอันตรายตอสุขภาพหากมีการบร�โภคเปนเวลานาน74 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดน ของผลงาน การนำหอยขม ซ�่งเปนสัตวน้ำพื้นเมืองของประเทศไทย และเอเช�ยตะวันออกเฉียงใตสามารถหาไดงายตามแหลงน้ำจ�ดทั่วไปและมีราคาต่ำมาใชแทนหอยนางรมที่มีราคาแพงและเปนสัตวน้ำที่มีการสะสมสารพิษกลุมโลหะหนักในน้ำทะเลสูง ผลิตภัณฑซ อสหอยขมมโี ปรตนี สงู กวาซอสหอยนางรม 12 % ผลิตภัณฑซอสหอยขมมีปร�มาณคอลเรสเตอรอลเพียง 50 มิลลิกรัม/100 กรัมซ�่งต่ำกวาผลิตภัณฑซอสหอยนางรมตามทองตลาดมีปร�มาณคลอเรสเตอรอลสูงถึง550 มิลลิกรัม/100 กรัม ผลติ ภัณฑซ อสหอยขมมีราคาตน ทุนตำ่ กวาซอสหอยนางรมตามทอ งตลาด 60%การนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ยผลิตภัณฑซอสหอยขมสามารถใชท ดแทนซอสหอยนางรมได 100%ผลิตภัณฑซอสหอยขมสามารถนำไปใชกับวัตถุดิบอาหารไดหลายประเภท เชน ขาวผัก เนื้อสัตว เปนตน และสามารถใชว�ธ�การประกอบอาหารไดหลากหลาย เชน ผัด ตุนตม นึ่ง ยาง หมัก เปนตน สามารถนำไปผลติ ในรปู แบบของอสุ าหกรรมไดงา ยและเรว็เนอื่ งจากหอยขมเปนสัตวน ำ้ โตไวและทนตอสภาพอากาศ นายณฐั ชรัฐ แพกุล ภาคว�ชาอาหารและโภชนาการทเี่ ปล่ียนแปลง คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected]ทรัพยสินทางปญ ญา โทรศัพท 0 2549 3161คำขอรับสทิ ธ�บตั ร เลขที่ 1703001965 75

35 ซอสผดั ไทย สตู รปราศจากน้ำตาล และโซเดยี มต่ำ ช่อ� ผลงานนวัตกรรม และสิง่ ประดิษฐ “ ผชู วยศาสตราจารย พงษศักด์ิ ทรงพระนาม ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคญั เปน ซอสใชส ำหรบั กว ยเตย๋ี วผดั ไทย (สำหรบั 1 หนว ยบรโ� ภค) เปน ซอสผดั ไทยสำเรจ็ รปู ซ�่งใชสารทดแทนความหวาน “ซูคราโรส” แทนน้ำตาล จ�งไมมีน้ำตาลเปนสวนประกอบ และใชน ้ำปลาที่มีโซเดียมต่ำ (40%) จง� เปนผลิตภัณฑที่เหมาะสำหรบั บุคคลทวั่ ไป ผทู ี่รกั สุขภาพ และผทู ต่ี อ งควบคมุ ปรม� าณนำ้ ตาลและโซเดยี ม อกี ทง้ั ยงั เปน ผลติ ภณั ฑท ่ีใชส ะดวกรวดเรว็ และไดรสชาติท่ีคงเดิมทกุ ครง้ั ทที่ ำผดั ไทย76 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวัตกรรมเช�งพาณชิ ย 2561 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดน ของผลงาน เปน ผลติ ภณั ฑซอสผดั ไทยสำเรจ็ รูป โดยใชส ารทดแทนความหวาน “ซคู ราโรส” แทนน้ำตาล จ�งไมมีน้ำตาลเปนสวนประกอบ และใชน้ำปลาที่โซเดียมต่ำ (40%) เปนผลิตภัณฑทเ่ี หมาะกบั คนทวั่ ไปและกลุม คนทีร่ ักสุขภาพ หรอ� ผทู ีเ่ ปน โรคเบาหวานและโรคไตการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย- สามารถพัฒนาในเช�งพาณิชย โดยบรรจ�ในรูปแบบถุง ทำใหสะดวก ขนสงงายไดเปนจำนวนมาก เพื่อนำไปจำหนายตางประเทศ- การผลิตในเช�งอุตสาหกรรม การใชสารทดแทนความหวาน (ซูคารโรส) สามารถควบคุมไดง า ย ชวยลดตนทนุ ในการผลติ - ประกอบงา ย สะดวก ครบรส รสชาตคิ งเดมิ ผชู ว ยศาสตราจารย พงษศ ักด์ิ ทรงพระนามทรัพยสนิ ทางปญ ญา ภาคว�ชาอาหารและโภชนาการ อยูร ะหวางดำเนินการ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3166 77

36การออกแบบลวดลาย และการพัฒนาผลิตภัณฑ กระเปา จากผาขาวมา The Developments of Designing and Processing of Fabric Bags Produced from Pa-Kao-Ma ช�่อผลงานนวตั กรรม และสิ่งประดิษฐ “ นายกรณทั สุขสวสั ด์ิ ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคญั เพื่อพัฒนาภมู ปิ ญญาการทอผาขาวมาภายในชุมชน โดยผลิตผาขาวมาเปน สินคา หลัก สรางสรรคผ ลิตภัณฑมากไปกวา ผนื ผา การแปรรูปผลติ ภัณฑต นแบบกระเปา ผลิตภัณฑ เคหะสิ่งทอฯ ทั้งยังสรางสรรคลวดลายเปนเอกลักษณลายน้ำไหลซ�่งเกิดจากเทคนิคการ มัดยอมสีเสนดาย กอนนำไปทอจนไดลวดลายสลับสีคลายน้ำไหล การตอยอดพัฒนา จากวัตถุดิบผาขาวมา เพื่อใหมรดกภูมิปญญานี้ยังคงอยู78 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ัย และนวัตกรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดนของผลงาน การพัฒนาการออกแบบลวดลายผาขาวมา เทรนสีลายนำ้ ไหล ซ่�งเปนเทคนิคกอนจะไปทอเปนผืนผา เพื่อพัฒนาลวดลายผาขาวมาใหดูโดดเดนเปนเอกลักษณและทันสมัยสอดคลองกับยุคปจจ�บัน ตลอดจนนำผาขาวมาที่ไดจากการพัฒนามาตอยอดเปนผลิตภัณฑกระเปาจากผาขาวมาลายน้ำไหล เปนผลิตภัณฑ ตนแบบกระเปา 6 รูปแบบการนำไปใชประโยชนเ ช�งพาณชิ ย1. เพื่อสงเสร�มการสรา งสรรคผ ลงานท่ีมเี อกลกั ษณเฉพาะโดยใชแ นวคดิ จากภมู ิปญญาวถ� ชี ว� ต� ศลิ ปวัฒนธรรม ที่มีความหลากหลายมาประยุกตใชและสรางความแตกตา งใหก ับผลิตภณั ฑส่ิงทอที่มเี อกลกั ษณข องแตละภมู ิภาค2. เพ่ือตอ ยอดพฒั นาจากวตั ถดุ ิบผาขาวมา ใหมีมูลคาการแปรรูปผลติ ภัณฑแ ละความหลากหลายของผลติ ภัณฑในเช�งพาณชิ ย นายกรณทั สุขสวัสด์ิทรพั ยสินทางปญ ญา สาขาวช� าสิ่งทอและเคร่�องนุงหม คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร อยรู ะหวางดำเนินการ มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3179 79

80

กลุม งานวจ� ัยเพ่อื งานอุตสาหกรรม สรา งสรรค 81

37 เสือ้ อเนกประสงค ช่�อผลงานนวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ “ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ออ ยทพิ ย ผูพฒั น ” บทสรุปดา นนวตั กรรม และความสำคัญ “เสื้อเอนกประสงค” เกิดจากโครงการยกระดับผลติ ภณั ฑห นงึ่ ตำบล หน่งึ ผลติ ภณั ฑ (OTOP) โดยไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกระทรวงว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยมี จด� มุงหมายหลักเพ่อื พฒั นาศักยภาพดวยวท� ยาศาสตร เทคโนโลยี และนวตั กรรมประเภท ผาและเคร�่องแตงกายของใช ของตกแตงและของที่ระลึกจ�งเกิดแรงบันดาลใจในการ ออกแบบเคร�่องแตงกาย สำหรับกลุมผูบร�โภคที่ตองทำงานกลางแจง เชน กลุมผูมีอาช�พ เกษตรกรรม เพื่อปองกันภัยจากแสงแดดไดในขั้นตน คือ การสวมใสเสื้อผา และ สวนประกอบการแตงกายอื่นๆ เชน หมวก ถุงมือ เปนตน82 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ัย และนวตั กรรมเช�งพาณชิ ย 2561 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ �Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดนของผลงาน “เสอ้ื อเนกประสงค” มลี กั ษณะการออกแบบเปน เสอ้ื ทรงหลวม สไตลแ จก เกต็ (Jacket)มีสว นประกอบทเ่ี ปน หมวก ตัวเสื้อเปน เสือ้ แขนยาว ปลายแขนเส้ือออกแบบใหมีสว นประกอบที่ทำหนาที่เสมือนถุงมือ ตอเนื่องจากปลายแขนเสื้อเปนสวนเดียวกัน และที่แนวคอเสื้อดา นหนา ออกแบบใหม สี ว นประกอบทท่ี ำหนา ทเ่ี สมอื นหนา กากอนามยั (Mask) เพอ่ื ปกปดจมูกปอ งกนั ฝุนละอองและกล่ินอันไมพ ึงประสงคการนำไปใชป ระโยชนเ ช�งพาณชิ ย “เสื้ออเนกประสงค” สามารถนำไปใชประโยชนในแนวทางที่หลากหลาย ดวยรูปแบบที่ทันสมัย เนนการใชผาฝายยอมสีจากวัสดุธรรมชาติเปนหลัก และเปนเคร�่องแตงกายที่ใชประโยชนไดจร�งกับสภาพการดำเนินช�ว�ตประจำวัน เปนเคร�่องแตงกายสำหรับกลุมผมู ีอาช�พเกษตรกรรม หรอ� กลมุ คนทำงานกลางแจงเปนเวลานานๆ เชน แคดด้สี นามกอลฟซง่� ผปู ระกอบการหรอ� เจาของธุรกิจ สามารถนำไปผลติ เปนยูนิฟอรม ไดทรพั ยส นิ ทางปญญา ผูชวยศาสตราจารย ดร.ออยทิพย ผูพฒั น คำขอรับสทิ ธบ� ัตร เลขท่ี 1702003191 สาขาวช� าสงิ่ ทอและเคร่อ� งนุงหม คำขอรับสทิ ธ�บัตร เลขท่ี 1702003192 คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3153 83

การพฒั นา 38 สอ่ื การสอนจากดนิ ไทย เพื่อวัดผลสัมฤทธ์� ทางการเรย� น ของเดก็ ปฐมวยั ช�่อผลงานนวัตกรรม และส่งิ ประดิษฐ “ ผชู ว ยศาสตราจารย วส� ิฏฐศ ร� ตงั ครโยธ�น ” บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคัญ การศึกษาผลสัมฤทธ�์ทางการเร�ยนโดยการพัฒนาสื่อการสอนจากดินไทยปนเปน ตุกตาสัตวและตุกตาคนในการจัดกิจกรรมเสร�มประสบการณในหนวยการเร�ยนรู เร�่อง “สัตวนารัก” และเร�่อง “อาช�พบุคคลที่ควรรูจัก” ซ�่งเด็กไดมีโอกาสหยิบจับสื่อการสอน และใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 ประกอบกับมีการจัดการเร�ยนการสอนที่เปนระบบสอดคลอง เหมาะสมกบั การพัฒนาตามวัยวฒุ ิ ภาวะ และขด� ความสามารถของเด็กพบวา คะแนนเฉลี่ย หลังเร�ยนสูงข�้น จ�งอาจกลาวไดวาเปนทางเลือกหนึ่งในการพัฒนาสื่อการสอนที่เด็ก มีความชอบและสนใจเร�ยนรูอยางมีความสุขตามความตองการของเด็กในยุคปจจ�บัน84 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ยั และนวัตกรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดนของผลงาน 1 ) เปนสอ่ื การสอนที่ถูกออกแบบโดยใชด นิ ไทยปน เปน ตกุ ตาสัตวและตกุ ตาคนอาชพ�ตางๆ เจาะจงในหนวยการเรย� นรูของเด็กปฐมวัย ทีผ่ วู �จยั คดิ รเ� รม่� ดวยตนเอง 2 ) ชวยสรางบรรยากาศในการเร�ยนการสอนใหนาสนใจ มีช�ว�ตช�วา สนุกสนานเพลิดเพลิน อีกทั้งเปนการกระตุนใหผูเร�ยนมีความกระตือร�อรนในการเร�ยนรู ไมรูสึกเบื่อหนายตอการเร�ยน สามารถพัฒนาผูเร�ยนใหมีพัฒนาการดานสติปญญาไดจร�งการนำไปใชประโยชนเ ชง� พาณชิ ย สามารถผลติ เปน ส่อื การเรย� นการสอนเฉพาะหนว ยทมี่ คี วามเหมาะสมสอดคลอ งกับเน้อื หา เพื่อจัดจำหนายแกผ ูสนใจและผูเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาปฐมวัย อีกท้ังเปนทางเลือกในการผลติ ส่ือการสอนใหมีความหลากหลายมากข้�นทรพั ยส ินทางปญญา ผูชวยศาสตราจารย อยูในระหวา งดำเนินการ ว�สฏิ ฐศร� ตังครโยธน� ภาคว�ชาคหกรรมศาสตร คณะคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3161 85

39 การออกแบบ เขม็ กลดั และพวงกญุ แจ ชอ่� ผลงานนวตั กรรม และส่ิงประดิษฐ “ ผูชว ยศาสตราจารย ว�สิฏฐศ ร� ตังครโยธ�น ” บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคญั เปลือกหอยมีรูปรางลักษณะและสีสันแตกตางกัน เราสามารถนำเปลือกหอยที่เหลือ จากการบร�โภคเนอื้ แลวมาสรา งสรรคงานประดิษฐเพ่อื สรางมลู คา เพ่ิม โดยการออกแบบ ที่ลงตัวทำใหสิ่งประดิษฐมีคุณคาสรางความประหลาดใจแกผูพบเห็น สามารถนำมาเปน เคร�่องประดับสตร�หร�อของชำรวย ประเภทเข็มกลัด จ�้หอยคอ พวงกุญแจ ฯลฯ ผูว�จัย จ�งไดออกแบบโดยใชวสั ดตุ กแตง ทม่ี ีความเหมาะสมกับช�น้ งาน โดยมีการศกึ ษาความพงึ พอใจ ของผูบร�โภคที่มีตอรูปแบบผลิตภัณฑ เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงใหมีคุณภาพและ เปน ทีย่ อมรบั ของผบู รโ� ภคตอไป86 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดน ของผลงาน 1) เปน ผลติ ภัณฑเ คร�่องประดับ ของชำรว ย ทไี่ ดจากเปลอื กหอยเหลือใช 2) มีความแปลกใหมซ่ง� เกิดจากความคิดสรา งสรรคข องผูวจ� ัยไมม ีใครทำมากอน 3) ไดรับการจดสทิ ธบ� ัตรการออกแบบผลติ ภัณฑการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย อาจนำไปใชในกิจการภาคอุตสาหกรรม ตามนโยบายเศรษฐกิจ เปนการสรางสินคาเพ่ือเพม่ิ มลู คา และคมุ ครองทรพั ยส นิ ทางปญ ญาใหแ กส ินคา ที่ผลิตในประเทศไทย เปนการเผยแพรนวัตกรรมใหมแกผูสนใจในการทำเคร�่องประดับสตร� ของชำรวยและสรางความม่ันคงของเศรษฐกิจชุมชน เพิม่ ประสทิ ธภ� าพการบรห� ารจดั การดานผลติ ภณั ฑของชำรว ยและของทีร่ ะลกึ ใหก บั มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร�ทรัพยสนิ ทางปญ ญา1. สทิ ธ�บตั รการออกแบบผลิตภณั ฑ เลขที่ 569972. สทิ ธ�บตั รการออกแบบผลติ ภัณฑ เลขท่ี 61438, 61439,61440, 61441, 61442, 61443, 61444, 61445, 61446, ผูชวยศาสตราจารย ว�สิฏฐศร� ตังครโยธน�61447, 61448 ภาควช� าคหกรรมศาสตร คณะคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3161 87

การพฒั นา 40 สื่อการสอนจาก เปลือกหอยเชลส เพ่อื พัฒนาทางดา นคณติ ศาสตร สำหรบั เดก็ ปฐมวยั ชอ�่ ผลงานนวัตกรรม และส่งิ ประดษิ ฐ “ ผูช ว ยศาสตราจารย ว�สฏิ ฐศ ร� ตังครโยธน� ” บทสรุปดา นนวตั กรรม และความสำคญั เราสามารถนำเปลอื กหอยเชลลท่เี หลือจากการบรโ� ภคเน้ือแลว มาสรา งสรรคงานประดษิ ฐ เพ่อื ใชเปนส่อื การเรย� นการสอนสำหรบั เดก็ ปฐมวยั โดยการออกแบบที่สนองความตองการ ของเด็ก และสามารถสง เสรม� พฒั นาการทางดานคณิตศาสตรไดเปน อยา งดีในเรอ่� งของ การเปร�ยบเทียบ การนับ การแยกประเภท ผลไม สัตว สิ่งของเคร�่องใชฯลฯ ผูว�จัยจ�งได ออกแบบส่อื โดยใชเ ปลอื กหอยเชลล ตดั แตง เปน รูปรางตา งๆตามความตอ งการ แลวใช ดนิ ขาวผสมสีที่ปลอดภัยมาตกแตงหุม หอ ใหค งรปู สวยงาม88 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook