ทำเนยี บทรัพยสนิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2561 INTELLECTUAL PROPERTY RMUTT Intellectual Property 2018
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี Rajamangala University of Technology Thanyaburi
สารจากอธกิ ารบดี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เปนมหาวิทยาลัยที่มุงเนนการพัฒนา กำลงั คนดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ใหม ีทักษะความชำนาญดานวชิ าชพี เสรมิ สราง ทุนมนุษยที่มีมูลคาเพิ่มใหแกประเทศ พรอมทั้งมุงหมายใหมหาวิทยาลัยเปนองคกร แหงนักปฏิบัติมืออาชีพชั้นนำดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรมในระดับประเทศ และระดับสากล โดยมีพันธกิจในการจัดการศึกษาวิชาชีพระดับอุดมศึกษาบนพื้นฐาน วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรมอยางมีคุณภาพรองรับประเทศไทย 4.0 รวมถึง การสรางงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และงานสรางสรรค สูการผลิตเชิงพาณิชยและ การถา ยทอดเทคโนโลยีเพื่อเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ ในโอกาสนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดเล็งเห็นและตระหนักถึง ความสำคัญของทรัพยสินทางปญญาที่เกิดจากการสรางสรรคของนักวิจัย อาจารย นักศึกษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ จึงมีนโยบายสงเสริมและสนับสนุนงานดาน ทรัพยสินทางปญญาเพื่อการคุมครองทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยฯ มาอยาง ตอเนื่อง เอกสารเผยแพรทำเนียบทรัพยสินทางปญญา ประจำป 2561 จัดทำขึ้นเพื่อ รวบรวมงานวิจัย สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม ของนักวิจัยในมหาวิทยาลัยฯ ที่ไดรับการ คุมครองดานทรัพยสินทางปญญาเพื่อเปนการเผยแพรและประชาสัมพันธผลงานวิจัย และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยฯ สูภาคอุตสาหกรรมเปาหมาย หนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนทม่ี คี วามสนใจ อกี ทง้ั เพอ่ื เปน การผลกั ดนั ใหเ กดิ งานวจิ ยั สง่ิ ประดษิ ฐ นวตั กรรม และงานสรางสรรคที่มีศักยภาพ สามารถนำไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยไดอยางเปน รูปธรรมและนำผลงานไปใชประโยชนตอไป รวมถึงเปนแนวทางในการพัฒนาและสราง ความเปนเลศิ ทางดา นทรัพยส ินทางปญญาสืบไป (รองศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ปนปฐมรัฐ) อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
สารจากรองอธกิ ารบดี
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนสิ่งสำคัญในการพัฒนาประเทศ แตการจะนำ เทคโนโลยีเหลานี้ไปใชนั้น ตองอาศัยปจจัยสำคัญหลายดาน ไดแก การคนควาวิจัย การพฒั นาวทิ ยาศาสตรบรสิ ุทธ์ใิ หเ ปน วิทยาศาสตร การถายทอดเทคโนโลยี และพัฒนา ไปสูเชิงพาณิชย ซึ่งการที่จะทำใหงานวิจัยนั้นพัฒนาไปสูเชิงพาณิชยไดอยางสมบูรณนั้น จะตองอาศัยผูประดิษฐ และผูสรางสรรคที่มีศักยภาพ รวมถึงหนวยงานที่ใหการสนับสนุน อยา งเตม็ ท่ี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เปนมหาวทิ ยาลัยทม่ี อี ัตลักษณด า นบณั ฑติ นักปราชญมืออาชีพ และมีพันธกิจที่สำคัญคือการวิจัยเพื่อสรางและพัฒนาองคความรู ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เราจึงตระหนักและใหความสำคัญในงานวิจัยและงาน ทรัพยส นิ ทางปญ ญาทีเ่ กิดจากการสรา งสรรคข องบคุ ลากรทกุ ทา นของมหาวิทยาลัยฯ ดังน้ัน ทางมหาวทิ ยาลยั ฯ จงึ จดั ทำเลม ทำเนยี บทรัพยส นิ ทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ป 2561 ข้ึน เพ่อื เปนการรวบรวมและนำเสนอผลงานอันเปน ทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัย ประเภทสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร ที่ไดรับการ จดทะเบียนคุมครองจากกรมทรัพยสินทางปญญาระหวางปงบประมาณ 2555 - 2561 จำนวน 88 ผลงาน ซึ่งเปนขอมูลเพื่อแสดงใหเห็นถึงผลการดำเนินงานดานทรัพยสิน ทางปญญาของมหาวิทยาลัยฯ และเพื่อเปนการประชาสัมพันธและเผยแพรผลงาน ทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยฯ สูเชิงพาณิชยในภาครัฐ ภาคเอกชน และ อุตสาหกรรม ที่มีความสนใจตอไป (ผูช ว ยศาสตราจารย ดร. สิรแิ ข พงษสวสั ดิ์) รองอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี
บทสรปุ ผูบรหิ าร
ทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประจำป 2561 เปนเอกสารเผยแพรในรูปแบบของเลมเอกสารและไฟลหนังสืออิเลคทรอนิกส (e-Book) ที่สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดดำเนินการรวบรวม จากผลงานวจิ ัย สง่ิ ประดิษฐ นวตั กรรมและงานสรา งสรรคของมหาวทิ ยาลัยฯ เพือ่ ชวยในการ สง เสรมิ และสนบั สนนุ การนำผลงานวจิ ยั ไปใชป ระโยชนใ นเชงิ พาณชิ ยใ หเ ปน รปู ธรรมมากยง่ิ ขน้ึ สถาบันวิจัยและพัฒนา จึงไดดำเนินการจัดทำเลมทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เปนประจำทุกป โดยเริ่มมาตั้งแตป 2555 – ปจจุบัน เพื่อเปน การรวบรวมและนำเสนอผลงานอันมีคุณคาและเปนทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัย ประเภทสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร ที่ไดรับการจดทะเบียนคุมครองจากกรมทรัพยสินทางปญญา ระหวา งป 2555 - 2561 รวมท้ังสิ้นจำนวน 88 ผลงาน ดงั นี้ ผลงานทรพั ยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2555 มีจำนวน 8 เรอ่ื ง ผลงานทรัพยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2556 มจี ำนวน 5 เรื่อง ผลงานทรพั ยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2557 มจี ำนวน 1 เรื่อง ผลงานทรัพยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2558 มีจำนวน 13 เรื่อง ผลงานทรพั ยส นิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2559 มีจำนวน 25 เรื่อง ผลงานทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2560 มีจำนวน 10 เรื่อง ผลงานทรพั ยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2561 มีจำนวน 26 เรือ่ ง ทั้งนี้ ขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยทุกทานที่ไดรับการจดทะเบียนคุมครองจากกรม ทรัพยสินทางปญญา ขอขอบคุณและขอชื่นชมในความวิริยะอุตสาหะของนักวิจัย บุคลากร และนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ที กุ ทา นทส่ี ามารถสรา งสรรคผ ลงานวจิ ยั สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม ใหเปนที่ยอมรับและแสดงใหเห็นถึงศักยภาพดานทรัพยสิน ทางปญ ญาของมหาวทิ ยาลยั ฯ สามารถเผยแพรแ ละประชาสมั พนั ธไ ปยงั กลมุ ทม่ี คี วามพรอ ม ในการขอรับการถายทอดเทคโนโลยี (Technology transfer) ออกสูภาคธุรกิจเชิงพาณิชย ภาครัฐ และภาคเอกชนที่มีความสนใจตอไป (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วารุณี อริยวิริยะนันท) ผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
สารบญั
ความรทู ่ัวไปดานทรพั ยสินทางปญ ญา หนา 1 ทรัพยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2555 5 1. เครื่องอัดชิ้นงานเซรามิกที่มีการควบคุมการทำงานดวยไมโครคอนโทรลเลอร 6 2. เครอ่ื งดัดโลหะขบั เคลือ่ นโดยชุดเฟอ งสะพานขบกับเฟองตรงควบคุมดว ยระบบ 7 8 ไฮดรอลิก 9 3. ชุดยกและเคลื่อนยา ยผปู วย ควบคุมดวยรีโมทคอนโทรล 10 4. เคก ขา วกลอ งน่งึ 11 5. เครอ่ื งผสมน้ำเคลอื บ ควบคมุ ดว ยไมโครคอนโทรลเลอร 12 6. อปุ กรณเสรมิ เหล็กพยุงขาสำหรบั ชว ยการเดินของผพู กิ าร 7. รถเขน็ คนพกิ ารแบบขับถา ยระบบไฟฟาควบคุมดว ยไมโครคอนโทรลเลอร 8. เครื่องจบั ช้ินทดสอบน้ำเคลอื บ ควบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอร ทรพั ยสินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2556 14 15 9. แบบพบั กลอ ง 16 10. แบบพบั กลอง 17 11. กรรมวิธีการผลติ ตะขบอบแหง 18 12. กอนดินทม่ี สี ว นผสมของน้ำยางธรรมชาติและกระบวนการผลิต 20 13. กาวรองพ้นื ผา ใบดินสอพองผสมกาวเมล็ดมะขาม สำหรับการสรางสรรคผลงาน ผลงานศิลปะดวยเทคนิคสีฝุน และกรรมวธิ ีการผลติ ทรพั ยส นิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2557 14. สตู รผสมของวนุ ผลไมและกรรมวิธกี ารผลติ ทรัพยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2558 22 23 15. กรรมวิธีการผลติ ผงไหม (ไฟโบรอินและเซรซิ นิ ) เพื่อใชใ นงานดานส่ิงทอ การแพทย 24 และเครือ่ งสำอาง 25 26 16. ผลติ ภณั ฑเกลอื สปาทม่ี ีใบสะเดาแหง บดเปน วสั ดุขัดผวิ 27 17. หมอนึง่ ลูกประคบสมุนไพรไทยแบบหยิบจบั งา ย 28 18. กรรมวธิ กี ารผลติ บล็อกประสานจากเศษหนิ บะซอลต 29 19. บลอ็ กปพู ื้นระบายนำ้ ชนิดควบคุมทิศทางการไหล 30 20. เคก ขาวธัญพืช 21. การใชน้ำยางธรรมชาติในงานเขียนผา บาติก 22. แบบพบั กลอ ง 23. แบบพบั กลอ ง
24. กรรมวธิ ใี นการผลติ กา นบัวแหง หนา 25. เครื่องใหบ รกิ ารกระจายสัญญาณอินเตอรเน็ตแบบหยอดเหรียญ 31 26. กรรมวิธีการผลติ บลอ กปพู ้ืนจากเศษหนิ บะซอลต 32 27. กรรมวธิ ีการผลิตคอนกรีตท่ีมีเศษหนิ บะซอลตเ ปนมวลรวม 33 34 ทรพั ยสินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2559 36 37 28. กระเบื้องหลังคา 38 29. ลวดลายผา 39 30. ลวดลายผา 40 31. ลวดลายผา 41 32. ลวดลายผา 42 33. ลวดลายผา 43 34. ลวดลายผา 44 35. ลวดลายผา 45 36. ลวดลายผา 46 37. ลวดลายผา 47 38. กรรมวธิ กี ารผลติ ผกั แผนทม่ี ีแคลเซยี มสงู 48 39. กรรมวิธีการเตรียมวัสดุนาโนจากแรแม็กเนติกลูโคซีน เพื่อใชเปนวัสดุลดทอน 49 50 และปอ งกันรงั สีเอก็ ซ (X-ray) 51 40. กรรมวธิ ีการเตรียมแผนบางขนาดนาโนจากแรอิลเมไนท เพือ่ ใชในการการขจัดสี 52 53 ในสยี อ มนำ้ เสยี จากสิง่ ทอ 54 41. กรรมวธิ กี ารเตรียมแผน บางขนาดนาโนจากแรแมก็ เนตกิ ลโู คซีน เพือ่ ใชเ ปน ตวั เรง 55 56 ปฏกิ ิรยิ าโดยใชแสง 57 42. โคมไฟ 58 43. อุปกรณเ พอ่ื การชมทัศนียภาพใตน ำ้ สำหรบั การดำน้ำตืน้ 59 44. ปยุ อนิ ทรยี จ ากขแี้ ดดนาเกลอื โดยใชจุลินทรียเ ปน ตัวเรง 60 45. กรรมวิธกี ารเตรียมกลอ งชนิ้ งานกลวงจากวัสดผุ สมพลาสตกิ รีไซเคิลพอลเิ อทิลนี ความหนาแนนสงู และกากกาแฟโดยวิธกี ารขึ้นรปู แบบหมนุ 46. ชดุ อปุ กรณผลติ กระแสไฟฟา จากการเคลอื่ นท่ีของลฟิ ต 47. กระเบื้องหลงั คา 48. กรรมวธิ กี ารผลิตกะหรป่ี ป จากแปง ขาวสาลผี สมแปง ขาวเจา ท่ีใหพ ลังงานตำ่ 49. กรรมวธิ ีการผลติ แยมนำ้ ผึ้งจากนำ้ ผงึ้ ทานตะวัน 50. กรรมวิธีการผลติ วนุ เสน แกน ตะวนั 51. กระเบ้ืองหลงั คา 52. เครอ่ื งวดั คา การยบุ ตวั ของผวิ ทางแบบก่ึงอัตโนมตั ิ
ทรัพยสินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2560 หนา 53. แบบพับกลอ ง 62 54. กรรมวิธีการผลติ เสน ดายจากเสนใยผกั ตบชวา 63 55. กรรมวิธีการผลิตไอศกรมี นม จากตนออ นขา วพันธหุ อมมะลิสตู รปราศจากนำ้ ตาล 64 56. เขม็ กลัด 65 57. กรรมวิธกี ารผลิตผลติ ภณั ฑขา วไรสเ บอรเ่ี พาะงอกพรอมบริโภค 66 58. ชดุ กระโปรง 67 59. ชุดกระโปรง 68 60. ชุดกระโปรง 69 61. กรรมวิธผี ลติ เสนดา ยจากเสนใยมะพรา วออน 70 62. กแลาระเวตัสรดยี นุ มาแโผนน /ไดมดู โซคับรจคาลก่ืนแแรมร ไูเหทลล็ก ไฟฟาโดยใชว สั ดรุ ีไซเคลิ ขวด HDPE 71 ทรพั ยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2561 73 74 63. แบบพับกลอ ง 75 64. กระปุก 76 65. แบบพบั กลอ ง 77 66. ลายพวงกญุ แจ 78 67. ลายพวงกญุ แจ 79 68. ลายพวงกุญแจ 80 69. ลายพวงกญุ แจ 81 70. ลายพวงกุญแจ 82 71. ลายพวงกุญแจ 83 72. ลายพวงกุญแจ 84 73. ลายพวงกญุ แจ 85 74. ลายพวงกญุ แจ 86 75. ลายพวงกญุ แจ 87 76. ลายพวงกญุ แจ 88 77. กรรมวธิ กี ารเตรยี มแคลเซียมคารบอเนตจากเปลือกหอยเชอรี่ 89 90 เพื่อใชเปน สารเตมิ แตง ในพอลิเมอร 91 78. กรรมวิธีการผลติ แผน ผนังดนิ อดั สำเร็จรปู ที่ตา นทานการชะลาง 92 93 ชนิดมรี ูทะลถุ งึ กนั สองดาน 94 79. กรรมวธิ ีการผลิตเตาหแู ข็งจากเมล็ดฟกทอง 95 80. ลวดลายผา 96 81. ลวดลายผา 97 82. ลวดลายผา 98 83. ลวดลายผา 84. ลวดลายผา 85. หุนยนตส ำหรบั ตรวจวัดและปรบั สภาพดินอัตโนมัติ 86. เคร่ืองแกะเปลือกเมลด็ บัวหลวง 87. กรรมวิธกี ารสกัดพลาสติกชีวภาพชนดิ โพลไี ฮดรอกซีอัลคาโนเอต จากแบคทีเรียดวยซลิ กิ าเจล 88. สตู รน้ำตรีผลานานาผลไม และกรรมวธิ ีการผลติ
ทรพั ยส ินทางปญ ญา Intellectual Property
ทรัพยส ินทางปญญา ทรพั ยส นิ ทางปญ ญา หมายถงึ ผลงานอนั เกดิ จากประดษิ ฐ คดิ คน หรือสรางสรรคของมนุษย ซึ่งเนนที่ผลผลิตของสติปญญาและความ ชำนาญ โดยไมจำกัดชนิดของการสรางสรรคหรือวิธีในการแสดงออก ทรัพยสินทางปญญาอาจแสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับตองได เชน สินคาตางๆ หรือในรูปแบบของสิ่งที่จับตองไมได เชน บริการแนวคิด ในการดำเนินธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม เปนตน ประเภทของทรพั ยสินทางปญญา ทรัพยสินทางปญญาแบงออกเปน 2 ประเภท ตามหลักสากล ไดแก ทรัพยสินทาง ปญญาทางอุตสาหกรรม และลิขสิทธิ์ ทรพั ยส นิ ทางปญญาทางอตุ สาหกรรม (Industrial Property) หมายถึง ความคิดสรางสรรคของมนุษยที่เกี่ยวกับสินคาอุตสาหกรรมตางๆ ซึ่งอาจ เปนความคิดในการประดิษฐคิดคน เชน กระบวนการหรือเทคนิคในการผลิตที่ได ปรับปรุงหรือคิดคนขึ้นใหม หรือการออกแบบผลิตภัณฑทางอุตสาหกรรมที่เปน องคประกอบและรูปรางของตัวผลิตภัณฑ เปนตน จึงสามารถแบงออกไดดังนี้ • สิทธิบัตร (Patent) o สิทธิบัตรการประดิษฐ (Invention Patent)/ อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) o สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ (Design Patent) • แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-design of Integrated Circuits) • เครื่องหมายการคา (Trademark) • ความลับทางการคา (Trade Secret) • สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical indications) ลิขสทิ ธิ์ (Copyright) หมายถงึ สทิ ธแิ ตเ พยี งผเู ดยี วของผสู รา งสรรคท จ่ี ะกระทำการใดๆ กบั งานทผ่ี สู รา งสรรค ไดทำขึ้น โดยประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ที่กฏหมายกำหนดไว ไดแก งานวรรณกรรม นาฎกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนต สิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียง แพรภาพ หรอื งานอนื่ ใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร หรือแผนกศิลปะ ไมวา งาน ดังกลาวจะแสดงออกโดยวธิ หี รอื รูปแบบอยา งใด การคุมครองลขิ สิทธ์ไิ มค รอบคลมุ ถึงความคิด ขนั้ ตอน กรรมวิธี ระบบวธิ ใี ชหรือวิธี ทำงาน แนวความคิด หลกั การ การคนพบ หรือทฤษฎที างวทิ ยาศาสตรหรอื คณติ ศาสตร ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญ ญา 1 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2561
แผนภูมทิ รพั ยส ินทางปญญา สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ สทิ ธิบัตรการประดิษฐ อนสุ ิทธิบัตร Design Patent Invention Patent Petty Patent สPทิ aธtบิenัตtร แบบผงั ภูมขิ องวงจรรวม InLtaeygoruatteDdeCsigircnuoitfs Cสoขิpสyrิทigธh์ิ t ทรัพยสนิ เครอ่ื Tงraหdมeาmยaกrาkรคา ทางปญ ญา Intellectual Property ควาTมraลdบั eทSาeงcกrาeรtคา Geสogง่ิ บraงpชh้ที icาaงlภInูมdศิ iaาcสaตtiรo ns การใหความคุมครองพนั ธุพ ชื ใหม Protection of New Varieties of Plant *อยภู การยะใทตรกวางรกดาูแรลเกขอษงตกรรแมลวะชิสาหกการรณเก ษตร เคร่ืองหมายการคา เครอ่ื งหมายบรกิ าร เคร่ืองหมายรบั รอง เครื่องหมายรว ม Trademark Service Mark Certification Mark Collective Mark (ท่มี า : ความรเู บื้องตนดา นทรพั ยสนิ ทางปญญา กรมทรพั ยสินทางปญญา กระทรวงพาณชิ ย, 2558) 2 RInMteUlleTcTtual Property 2018
ความหมายของทรพั ยส ินทางปญ ญาประเภทสิทธบิ ัตร (Patent) เปน การคมุ ครองการคดิ คน สรา งสรรคท เ่ี กย่ี วกบั การประดษิ ฐ (Invention) หรอื การออกแบบผลิตภัณฑ (Industrial Design) ทีม่ ลี ักษณะตามท่กี ฏหมาย กำหนด ซึ่งจำแนกไดเปน สิทธิบัตรการประดิษฐ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตร การออกแบบผลิตภัณฑ สิทธบิ ตั รการประดษิ ฐ (Invention Patent) หมายถึง การใหค วามคมุ ครอง การคิดคนเกีย่ วกบั ลกั ษณะองคประกอบ โครงสราง หรือกลไกของผลิตภัณฑ รวมทั้งกรรมวิธใี นการผลิต การ เกบ็ รักษา หรอื การปรบั ปรุงคณุ ภาพของผลิตภณั ฑ อนุสทิ ธบิ ัตร (Petty Patent) หมายถึง การใหการคุมครองการประดิษฐจากความคิดสรางสรรค ท่ีมีระดบั การพัฒนาเทคโนโลยไี มสูงมาก โดยอาจเปนการประดิษฐ คดิ คน ขึน้ ใหมหรือปรับปรงุ จากการประดษิ ฐที่มีอยูก อ นเพียงเล็กนอ ย สิทธิบัตรการออกแบบผลติ ภัณฑ (Design Patent) หมายถึง การใหความคุมครองความคิดสรางสรรคที่เกี่ยวกับรูปราง และลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ องคประกอบของลวดลายหรือ สขี องผลติ ภณั ฑ ซง่ึ สามารถใชเ ปน แบบสำหรบั ผลติ ภณั ฑอ ตุ สาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรมได และแตกตางไปจากเดิม ผูทรงสิทธิบัตรหรือ อนุสิทธิบัตรมีสิทธิเด็ดขาด (ท่มี า : ความรูเบ้ืองตน ดานทรพั ยส ินทางปญ ญา กรมทรพั ยส นิ ทางปญ ญา กระทรวงพาณชิ ย, 2558) ทำเนียบทรัพยสินทางปญญา 3 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2561
ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2555
7486อนุสทิ ธิบัตร เลขที่ เคร่อื งอัดชิ้นงานเซรามกิ ทีม่ ีการควบคมุ การทำงาน ดวยไมโครคอนโทรลเลอร วันท่จี ดทะเบยี น : 21 กนั ยายน 2555 ชือ่ ผูป ระดษิ ฐ : ผชู วยศาสตราจารย ดร.เบญจลกั ษณ เมอื งมีศรี สงั กดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การประดิษฐนี้จะทำใหสามารถอัดชิ้นงานเซรามิกที่มีลักษณะแบบเรียบ ไมวาจะ เปนทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม หรือทรงสี่เหลี่ยม สามารถกำหนดความหนาแนน ของชนิ้ งานไดจากการกำหนดความดันตง้ั แต 30, 40, 50, 60 บาร ดวยระบบไฟฟา ซึ่งจะสงผลใหการนำชิ้นงานไปใชในการเคลือบมีมาตรฐานในการบันทึกผลการ ทดลอง การประดิษฐเครื่องอัดชิ้นงานเซรามิกนี้ มีลักษณะของการทำงานที่ควบคุม ดวยไมโครคอนโทรลเลอร ซึ่งเปนโปรแกรมการสั่งงานดวยไมโครคอนโทรลเลอร ตัวโครงสรางเครื่องอัดชิ้นงานมีลักษณะเปนระบบไฮดรอลิกส การทำงานของระบบ กำหนดใหมีความเรว็ การเคลอื่ นที่ 2 ระดับ กอนถึงการอัดชิ้นงาน และสามารถปรับความดันของ แรงดันขณะกดอัดชิ้นทดสอบ ไดตามความตองการของผูใช เพื่อใหเกิดการแนนของเนื้อดิน ที่ใชในการกดอัด ทำเนยี บทรัพยสนิ ทางปญ ญา 5 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2561
อนสุ ทิ ธิบตั ร 7565เลขท่ี เครื่องดดั โลหะขับเคลือ่ นโดยชุดเฟอ งสะพานขบ กับเฟองตรงควบคุมดว ยระบบไฮดรอลิก วนั ทจี่ ดทะเบียน : 26 ตุลาคม 2555 ชื่อผูป ระดิษฐ : นายศริ ชิ ัย ตอ สกุล สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน เครื่องดัดโลหะขับเคลื่อนโดยชุดเฟองสะพานขบกับเฟองตรงควบคุมดวยระบบ ไฮดรอลิก เปนเครื่องที่สามารถทำการดัดโลหะที่มีรูปทรงกลมและโลหะแผน โดยใชแมพิมพมัลติฟงกชัน ที่สามารถถอดเปลี่ยนได ตามลักษณะชิ้นงานที่ ตอ งการดัด โดยมีแขนดดั ทีส่ ามารถปรบั ระยะเขา-ออก ของกระบอกสบู ไฮดรอลิก ขบั เคลอ่ื นชดุ เฟอ งตรงทข่ี บกบั เฟอ งสะพาน สามารถหมนุ ดดั ทำมมุ ในการดดั สงู สดุ 90 ดวยใชสวิตซกด 2 ระบบพรอมกัน คือ กดดวยมือและเทาเหยียบเพื่อความ ปลอดภัยในการทำงาน 6 RInMteUlleTcTtual Property 2018
7566อนสุ ิทธเบิลขตั ทรี่ ชุดยกและเคล่อื นยายผูปวย ควบคุมดวยรโี มทคอนโทรล วนั ที่จดทะเบยี น : 26 ตลุ าคม 2555 ช่อื ผูประดษิ ฐ : ดร.เดชฤทธิ์ มณีธรรม, ผศ.นพ.นิยม ละออปก ษิณ สังกดั : คณะครศุ าสตรอตุ สาหกรรม, ศนู ยก ารแพทย สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี รายละเอียดผลงาน แนวคิดขางตนทำใหมองเห็นถึงปญหาที่เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากการชวยเหลือ ผูปวยใหสามารถเคลื่อนที่หรือขับถายไดโดยสะดวก ซึ่งจากเดิมการชวยเหลือ ของญาติจะใชการอุม หรือการยกซึ่งอาจจะทำใหผูปวยกระทบกระเทือนจาก การใชวิธีการที่ไมถูกวิธี และเพื่อใหผูปวยไดเคลื่อนที่หรือขับถายโดยไมเปนภาระ กบั ญาตหิ รอื ผชู ว ย การใชช ดุ ยกและเคลอ่ื นยา ยผปู ว ย ควบคมุ ดว ยรโี มทคอนโทรล ซึ่งสามารถเคลื่อนยายผูปวยเพื่อนำไปขับถายทั้งรูปแบบอุจจาระ และปสสาวะ ดังนั้นจึงไดนำเทคโนโลยีเพื่อการชวยเหลือรูปแบบใหมในการชวยเหลือผูปวย คือ นำเอาไมโครคอนโทรลเลอร มาควบคุมการยกและเคลื่อนยาย ผปู ว ย โดยเฉพาะผทู ีป่ ระสบปญ หา การเคลื่อนไหว ตลอดจนผูที่มี นำ้ หนกั มากไมส ามารถเคลอ่ื นทไ่ี ด การพัฒนาชุดยกและเคลื่อนยาย และควบคุมดวยรีโมทคอนโทรล ซึ่งการประดิษฐงานชุดนี้สามารถ ทำใหผปู วยลดการกระทบกระเทอื น และสงผลถึงการบาดเจ็บรางกาย และบาดแผล ตลอดจนทำใหผูปวย มีสขุ ภาพจิตดีขนึ้ และญาติไมเ หน่อื ย อีกดวย ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญญา 7 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2561
7567อนุสิทธเิบลขตั ทร่ี เคก ขา วกลอ งน่ึง วันทีจ่ ดทะเบียน : 26 ตุลาคม 2555 ช่ือผูประดษิ ฐ : นางสาวเดอื นเตม็ ทิมายงค, ผูชวยศาสตราจารยส วิ ลี ไทยถาวร สงั กัด : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน เคกขาวกลองนึ่ง ประกอบดวย แปงสาลี ขาวกลอง น้ำตาล หัวกะทิ น้ำ ยีสต ไข และเกลือ เนื้อขนมมีลักษณะนุมฟู และมีความหนึบจากกากใยของขาวกลอง 8 IRnMteUlleTcTtual Property 2018
7619อนสุ ทิ ธเบิลขัตทรี่ เคร่ืองผสมนำ้ เคลือบ ควบคุมดว ยไมโครคอนโทรลเลอร วันที่จดทะเบียน : 19 พฤศจกิ ายน 2555 ช่อื ผปู ระดิษฐ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เบญจลักษณ เมืองมศี รี สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน เครื่องผสมน้ำเคลือบนี้มีลักษณะที่เปนเครื่องที่ปนหมุนใหน้ำเคลือบผสมกัน ในอัตราสวนที่ทำการทดลอง โดยมีอุปกรณควบคุมการเคลื่อนที่ดวยกดปุมสวิตซ หลงั จากน้ันจะสง สัญญาณอนิ พทุ ไปที่ไมโครคอนโทรลเลอร เพอื่ ทำการประมวลผล และสงสัญญาณเอาตพุทไปยังอุปกรณควบคุมความเร็วมอเตอร โดยระบบการ ขบั เคลอื่ นจะมที ั้งแนวดงิ่ และแนวราบ สำหรับการเคลื่อนท่ีจะเปน แบบ 2 แกน คอื แกนแซดและแกนวาย โดยจะทำงาน อสิ ระตอกนั ในการเคลือ่ นท่ี ซ่งึ เครอื่ ง ผสมน้ำเคลือบ ควบคุมดวยไมโคร คอนโทรลเลอร จะถูกออกแบบให เหมาะสมสำหรับการเคลือบน้ำยา ปริมาณนอย ลดขั้นตอนการทำงาน เคลื่อนยายสะดวกและสามารถปรับ ความเร็วของมอเตอรในขณะทำงาน ไดดวย ทำเนียบทรพั ยสนิ ทางปญญา 9 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2561
7695อนสุ ิทธเบิลขัตทร่ี อปุ กรณเสรมิ เหล็กพยงุ ขาสำหรับชว ยการเดินของผูพกิ าร วันท่ีจดทะเบยี น : 24 ธันวาคม 2555 ช่อื ผูประดษิ ฐ : ดร.เดชฤทธิ์ มณีธรรม สังกดั : คณะครศุ าสตรอ ุสาหกรรม รายละเอยี ดผลงาน การประดิษฐอุปกรณเสริมเหล็กพยุงขา สำหรับชวยการใชเหล็กพยุงขา ใหการเดิน ของผูพิการสะดวกขึ้น จะเปนเหล็กพยุงขา ท่ีมใี ชอ ยูแลว โดยอปุ กรณเสรมิ เหล็กพยงุ ขา นี้จะประกอบไปดวย 2 สวน คือ เบาสวม รองรบั สปรงิ และสปรงิ โดยสปรงิ จะมจี ำนวน ขด 4 ขด พับรอบนอกของเบาสวมรองรับ สปริง ทำใหสามารถพาอุปกรณพยุงปลาย เทาและนองยืดหดได ดังนั้นขณะที่ผูพิการ เดินจะสามารถงอหัวเขาและยืดหัวเขาได ในทวงทาที่ปกติหรือใกลเคียงกับคนปกติ ซึ่งจะแตกตางจากเหล็กพยุงขาของเดิม ที่ไมสามารถยืดหดหรือพับงอได 10 IRnMteUlleTcTtual Property 2018
7696อนสุ ทิ ธเบิลขัตทรี่ รถเข็นคนพกิ ารแบบขบั ถา ยระบบไฟฟา ควบคุมดว ยไมโครคอนโทรลเลอร วันที่จดทะเบยี น : 24 ธนั วาคม 2555 ช่อื ผูป ระดิษฐ : ดร.เดชฤทธ์ิ มณีธรรม, ผูชวยศาสตราจารย นพ.นิยม ละออปกษณิ สังกัด : คณะครศุ าสตรอ สุ าหกรรม, ศนู ยก ารแพทย สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รายละเอยี ดผลงาน รถเข็นคนพิการแบบขับถายนี้มีลักษณะที่เปนรถเข็นที่อาศัยพลังงานที่สะสมใน แบตเตอรี่มาขับเคลื่อน รถเข็นนี้สามารถใชงานได 2 ลักษณะคือ ใชเปนรถเข็น ที่สามารถขับถายได และใชเปนรถเข็นที่เปนพาหนะไปที่ตางๆ ตามที่ตองการได โดยมีอุปกรณควบคุมที่เปนโปรแกรม เมื่อไดรับสัญญาณควบคุมจากกดปุมสวิตช จะทำการประมวลผลและสงสัญญาณไปยังอุปกรณควบคุมความเร็วมอเตอร และ อุปกรณตางๆ โดยระบบการขับเคลื่อนจะมีการขับเคลื่อนแบบลอขับเคลื่อนหลัก แตละลอไมขึ้นตอกัน การเลี้ยวใชหลักการความแตกตางของความเร็วระหวางลอ ทั้งสองขาง และสามารถหมุนรอบตัวเอง 360 องศาได ใชหลักการการหมุนใน ทิศทางตรงกันขามของลอขับเคลื่อนทั้งสองขาง ทิศทางการเคลื่อนที่ของรถจะ อาศัยตำแหนงของการกดปุมสวิตชเปนตัวกำหนดทิศทาง ความเร็ว และลักษณะ การวิ่งของรถ ซึ่งรถเข็นคนพิการแบบขับถายจะถูกออกแบบใหเหมะสมสำหรับ เปนพาหนะสำหรับคนพิการที่ใชการ ขบั เคลอ่ื นในอาคารหรอื รอบบริเวณ ภายนอกอาคาร และที่สำคัญคือ รถเข็นนี้ ผูปวยสามารถนั่งขับถาย บนรถเข็นได โดยมีระบบการทำ ความสะอาดกน ระบบสเปรยน้ำ ระบบเปาทำความสะอาดกน และ ระบบจัดเกบ็ ถงุ อุจจาระและปสสาวะ ทำใหผูป ว ย ผูส ูงอายุ ตลอดจนผดู แู ล ผูปวยมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น 11ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2561
อนสุ ิทธิบัตร 7697เลขที่ เครื่องจบั ช้ินทดสอบน้ำเคลือบ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร วนั ที่จดทะเบียน : 24 ธนั วาคม 2555 ชอ่ื ผูประดิษฐ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เบญจลกั ษณ เมืองมศี รี สงั กดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน แนวคิดขางตนทำใหมองเห็นถึงปญหาของการทดลองเคลือบดวยการชุบหรือ จุมชิ้นทดลอง แตละครั้งที่ผูทดลองตองใชมือจุมอาจทำใหเกิดอันตรายกับผูชุบ เคลือบสำหรับผูแพสารบางชนิด และเพื่อใหไดมาตรฐานในการควบคุมความหนา ของการเคลือบ และพื้นที่ในการเคลือบใหไดที่ผูทดลองกำหนด จะสงผลใหการ ทดลองนำ้ เคลอื บมคี วามเทย่ี งตรงและมคี วามเชอ่ื มน่ั ตอ การทดลองซำ้ ในการละครง้ั ของการทดสอบ และอีกประการคือ การใชเ ครอ่ื งมอื จบั ชน้ิ ทดสอบนำ้ เคลอื บ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร จะชวยลดความเมื่อยลาของผูทดลอง ชิ้นงานจำนวนหลายชิ้นตลอดจนได ความเที่ยงตรงแมนยำกับตำแหนง ความเร็วที่คงที่ตลอดเวลา และลด อุบัติเหตุลงดวย 12 RInMteUlleTcTtual Property 2018
ทำเนยี บทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2556
สิทธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ 35100เลขท่ี แบบพับกลอง วนั ทีจ่ ดทะเบยี น : 18 กุมภาพนั ธ 2556 ชอ่ื ผอู อกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจรญิ พงษม าลา, นายคมสนั เรอื งโกศล สังกดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 14 IRnMteUlleTcTtual Property 2018
35101สิทธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภัณฑ เลขท่ี แบบพับกลอง วนั ที่จดทะเบียน : 18 กมุ ภาพันธ 2556 ชือ่ ผอู อกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจรญิ พงษมาลา, นายคมสัน เรอื งโกศล สังกัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 15ทำเนียบทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2561
อนสุ ิทธิบัตร 8106เลขที่ กรรมวิธกี ารผลติ ตะขบอบแหง วันที่จดทะเบียน : 20 มิถุนายน 2556 ชื่อผปู ระดษิ ฐ : ดร.อรวัลภ อปุ ถมั ภานนท สังกดั : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการผลิตตะขบอบแหง เปนการคัดเลือกผลตะขบที่มีสีแดงทั้งผล นำมา ลา งนำ้ สารละลายกรดแอสคอรบ คิ ผง่ึ ใหแ หง โดยใชล มเปา จากนน้ั เขา ตอู บลมรอ น (Tray Dryer) จนไดคา water activity (aw) เหมาะสม แลวจึงนำไปบรรจุแบบ สุญญากาศ ตะขบอบแหงที่ไดจะมีสีแดงเขมคลายลูกเกด เก็บรักษาไดนาน 16 IRnMteUlleTcTtual Property 2018
8107อนสุ ิทธเิบลขัตทร่ี กอ นดนิ ทมี่ ีสวนผสมของนำ้ ยางธรรมชาติ และกระบวนการผลติ วันท่จี ดทะเบียน : 20 มิถนุ ายน 2556 ชอื่ ผปู ระดษิ ฐ : นายประชมุ คำพฒุ , วา ท่ีรอ ยโทกิตตพิ งษ สวุ ีโร สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หนวยจัดการทรัพยส นิ ทางปญญา และถายทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน กอนดินที่มีสวนผสมของน้ำยางธรรมชาติ เปนการประดิษฐกอนดินสำหรับใชใน งานกอสรางอาคาร หรือสวนประกอบของอาคารที่ทำจากดิน โดยผสมน้ำยาง ธรรมชาติเพื่อชวยใหกอนดินมีคุณสมบัติในการปองกันการชะลางและการดูดซึม น้ำที่ดีขึ้น และมีคาความตานทานแรงอัดและความตานทานแรงดัดที่สูงขึ้น ซง่ึ สว นผสมประกอบดว ย ดนิ นำ้ นำ้ ยางธรรมชาติ สารลดแรงตงึ ผวิ วสั ดผุ สมเพม่ิ ผสมรวมกัน จากนั้นปนหรืออัดเปนกอนแลวทำใหแหงในสภาพอากาศปกติหรือ ใหความรอนที่อุณหภูมิ 30-120 องศาเซลเซียส 17ทำเนียบทรพั ยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2561
8218อนุสทิ ธเบิลขตั ทร่ี กาวรองพ้นื ผาใบดินสอพองผสมกาวเมล็ดมะขาม สำหรบั การสรา งสรรคผลงานศิลปะดว ยเทคนคิ สฝี นุ และกรรมวิธีการผลิต วนั ท่จี ดทะเบียน : 15 สิงหาคม 2556 ช่ือผปู ระดษิ ฐ : นายรตั นฤทธ์ิ จันทรรงั สี สังกดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน กาวรองพื้นผาใบดินสอพองผสมกาวเมล็ดมะขามสำหรับการสรางสรรคผลงาน ศิลปะดวยเทคนิคสีฝุน ประกอบดวย ดินสอพอง เมล็ดมะขามปน (ดินสอพอง รอ ยละ 18.7 เมล็ดมะขาม รอยละ 3.1 กาวกระถนิ รอ ยละ 0.3 นำ้ รอ ยละ 77.88) เตรียมกาวรองพื้นโดยนำเมล็ดมะขามมาคั่ว นาน 30 นาที กระเทาะเปลือกออก นำเนื้อเมล็ดมะขามแชน้ำ 1 คืน ตำใหละเอียด นำน้ำและเนื้อเมล็ดมะขามปน ใสภาชนะตม ใหเ ดอื ด 20 นาที ใสก าวกระถนิ ตมตอ 5 นาที เตมิ ดินสอพองตมอกี 10 นาที กรองกาวดวยผาขาวบาง นำกาวรองพื้นที่ไดไปทาบนพื้นผาใบหรือพื้น เฟรมผาใบไมอัดหรือเฟรมผาใบ จำนวน 3 ครั้ง โดยทาชั้นที่ 2 แหงแลวกวดดวย หอยเบี้ย แลวทาชั้นที่ 3 ทิ้งใหแหง จากนั้นนำผาใบหรือพื้นเฟรมผาใบไมอัดหรือ เฟรมผาใบที่ไดไปสรางสรรคผลงานศิลปะดวยเทคนิคสีฝุน 18 IRnMteUlleTcTtual Property 2018
ทำเนียบทรัพยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2557
8851อนุสทิ ธเิบลขัตทร่ี สตู รผสมของวุนผลไมและกรรมวธิ ีการผลิต วนั ท่ีจดทะเบยี น : 8 พฤษภาคม 2557 ชอื่ ผปู ระดิษฐ : นางสาวจรี วฒั น เหรยี ญอารีย, นายอภชิ าติ โคเวยี ง สังกัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการผลิตวุนผลไมสำหรับตกเเตงอาหาร เปนการนำเจลาติน ผงวุน น้ำสะอาด เเละนำ้ ผลไม มาผสมเเละตมเค่ยี ว นำไปใสถุงบีบลงบนนำ้ มนั จากนน้ั นำไปเเชในตูเย็น เทผานกระชอน พักไวใหสะเด็ด เเลวนำวุนผลไมที่ไดไปเเช นำ้ เชือ่ ม เเละนำไปเเชเ ย็นท่ีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ไดว นุ ผลไมส ำหรบั ตกเเตง อาหาร 20 RInMteUlleTcTtual Property 2018
ทำเนยี บทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2558
9418อนสุ ิทธเบิลขัตทรี่ กรรมวธิ ีการผลิตผงไหม (ไฟโบรอินและเซรซิ นิ ) เพื่อใชในงานดา นสิ่งทอ การแพทย และเครอ่ื งสำอาง วันที่จดทะเบียน : 6 มกราคม 2558 ช่อื ผปู ระดิษฐ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.อภิชาติ สนธสิ มบตั ิ สงั กดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ผงเสนใยไหม ไดรับจากกระบวนการละลายเสนใยไหมดิบ เศษเสนใยไหมดิบ หรือรังไหมดิบ ทำใหเปนของเหลวขน ทำใหของเหลวขนมีคา pH เปนกลาง ทำแหงในเครื่องอบแหง เมื่อไดแผนเสนใยไหม นำเขาเครื่องบด Ball Mill โดยตั้ง สภาวะการบดเปนเวลา 30 นาที เมื่อครบเวลา นำผงละเอียดไปถายภาพดวย กลอ งจลุ ทรรศนอ เิ ลก็ ตรอนแบบสอ งกราด (Scanning Electron Microscope, SEM) พบวาผงเสน ใยไหมมคี วามละเอียด 300-500 ไมโครเมตร สามารถนำไปใชส ำหรับ เคลือบวัสดุดานสิ่งทอ ดานการแพทย และผสมในเครื่องสำอาง เพื่อทำใหผิวหนัง ชุมชื้น ดูดความชื้นไดดี ปองกันรังสีอัลตราไวโอเลต (UV Protecting) และลดริ้วรอย บนใบหนาและผวิ หนังได 22 IRnMteUlleTcTtual Property 2018
9695อนสุ ทิ ธเบิลขตั ทร่ี ผลิตภณั ฑเ กลือสปาท่ีมใี บสะเดาแหงบดเปนวัสดุขัดผวิ วนั ที่จดทะเบยี น : 26 มนี าคม 2558 ช่อื ผูป ระดษิ ฐ : รองศาสตราจารย ดร.อญั ชลี สงวนพงษ สงั กดั : คณะเทคโนโลยีการเกษตร รายละเอยี ดผลงาน ผลิตภัณฑเกลือสปาที่มีใบสะเดาเปนวัสดุขัดผิว ประกอบดวย เฟสของสวนผสม 2 สวน คือ สวนที่ 1 เรียกวา เฟสของแข็ง ที่ประกอบดวยเกลือทะเล ผสมอยูกับ ใบสะเดาบดแหง เปน ผง และสว นท่ี 2 เรยี กวา เฟสของเหลว ประกอบดว ยสว นผสม 7 ชนิดคือ นำ้ มันเงา ผสมปรุงแตง นำ้ มันมะกอกฝรั่ง น้ำมันมะนาว น้ำมนั เจอราเนยี ม น้ำมันลาเวนเดอร น้ำมนั โรสแมรีและน้ำมันพัทโชลี เฟสทง้ั สองของสว นผสม บรรจุ ในภาชนะแยกกนั สามารถนำมาผสมกนั ไดต ามตอ งการ 23ทำเนยี บทรัพยสินทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2561
9721อนสุ ิทธเบิลขตั ทร่ี หมอนงึ่ ลกู ประคบสมนุ ไพรไทยแบบหยิบจบั งาย วนั ที่จดทะเบียน : 27 มีนาคม 2558 ชือ่ ผปู ระดิษฐ : นางสุวรินทร ปท มวรคุณ, นายจตุรพิธ เกราะแกว , นายไกรมน มณีศลิ ป สงั กัด : คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน หมอนึ่งลูกประคบสมุนไพรแบบหยิบจับงาย เปนภาชนะที่มีลักษณะพิเศษคือ ใชนึ่งลูกประคบสมุนไพรไดจำนวนหนึ่งตามชองที่ใสลูกประคบ โดยไมขึ้นตอกัน สำหรับลูกประคบขนาดมาตรฐานที่มีการผลิตทั้งโดยชุมชนเพื่อการจำหนาย หรือการผลิตในครัวเรือนเพื่อใชสวนตัว โดยมีการประดิษฐใหฝาหมอนึ่งมีชอง ใหดามลูกประคบอยูพอดีตรงชองและฝาหมอออกมาได และโผลพนชองได ขึ้นกับความยาวดามลูกประคบ ทำใหลูกประคบเมื่อไดรับความรอนจากไอน้ำ ตรงดา มจับจะไมรอ นเทาตวั ลกู ประคบ ทำใหผใู ชเ ปดฝาหมอแปลงจบั ลูกประคบ สมนุ ไพรไดง าย 24 RInMteUlleTcTtual Property 2018
9970อนสุ ิทธเิบลขตั ทร่ี กรรมวิธกี ารผลติ บลอ็ กประสานจากเศษหนิ บะซอลต วันที่จดทะเบยี น : 10 มิถุนายน 2558 ชอ่ื ผปู ระดษิ ฐ : นายประชมุ คำพุฒ, วา ทีร่ อยเอกกิตติพงษ สุวโี ร, นายอมเรศ บกสวุ รรณ สงั กดั : คณะวิศวกรรมศาสตร, หนวยจัดการทรพั ยสนิ ทางปญ ญา และถา ยทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการผลิตบล็อกประสานจากเศษหินบะซอลต เปนกระบวนการผลิต วสั ดกุ อ ผนงั ทม่ี สี ว นประกอบของปนู ซเี มนตป อรต แลนดป ระเภท 1 เศษหนิ บะซอลต เนื้อโพรงขาย และน้ำประปา ผสมสวนประกอบใหเขากันกอนอัดขึ้นรูปดวยเครื่อง อัดบล็อกประสาน ไดบล็อกประสานจากเศษหินบะซอลตที่มีลักษณะภายนอก สมบูรณไมแตกหักงาย ความตานทานแรงอัดสูง การดูดกลืนน้ำต่ำ น้ำหนักเบา และเปนฉนวนปองกันความรอนที่ดี สำหรับนำไปใชประโยชนในอุตสาหกรรม การกอสราง และการจัดสวนทั่วไป 25ทำเนียบทรพั ยสนิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2561
10063อนุสทิ ธเบิลขตั ทร่ี บล็อกปพู นื้ ระบายน้ำชนดิ ควบคุมทศิ ทางการไหล วนั ทจ่ี ดทะเบยี น : 7 กรกฎาคม 2558 ชื่อผปู ระดษิ ฐ : นายประชุม คำพุฒ, นายกติ ติพงษ สวุ โี ร สงั กัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หจก. สยามอนิ โนเวชน่ั แอสโซซเิ อชน่ั รายละเอียดผลงาน บล็อกปูพื้นระบายน้ำชนิดควบคุมทิศทางการไหล เปนวัสดุ 2 ชั้น คือ ชั้นบน เปนคอนกรีตพรุนจากปูนซีเมนต ทราย หิน และน้ำ โดยใหมีปริมาณของหินมาก เพื่อใหเกิดชองวางของเนื้อวัสดุเมื่อแข็งตัว สำหรับใหน้ำระบายลงไปได ชั้นลาง เปนคอนกรีตกำลังสูงจากปูนซีเมนต ทราย หิน และน้ำ โดยใหมีปริมาณของ ปนู ซเี มนตและทรายมากกวา ช้นั บน เพอื่ ใหทึบน้ำและแขง็ แรง โดยข้นึ รปู ใหชั้นลาง ลาดเอยี งใหน ้ำไหลไปในทศิ ทางท่ีตองการ 26 IRnMteUlleTcTtual Property 2018
10199อนุสิทธเิบลขตั ทร่ี เคกขาวธญั พชื วนั ที่จดทะเบยี น : 7 สิงหาคม 2558 ชื่อผูประดิษฐ : นางสาวเดอื นเตม็ ทิมายงค, วาทีร่ อ ยเอกกติ ติพงษ สุวีโร สงั กัด : กรมพลาธิการทหารอากาศ, หนว ยจดั การทรัพยส ินทางปญญา และถา ยทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน เคกขาวธัญพืช ประกอบดวย เเปงสาลี ขาวหุงสุก น้ำตาลทราย หัวกะทิ น้ำ ไขไก ยีสต และธัญพืชตมสุก เนื้อขนมมีลักษณะนุมฟู และมีกากใย รสชาติ กลิ่น สี และเนอ้ื สมั ผัสจากธญั พืช 27ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2561
10634อนุสทิ ธเิบลขตั ทรี่ การใชน ้ำยางธรรมชาติในงานเขยี นผาบาตกิ วนั ทจ่ี ดทะเบยี น : 26 ตลุ าคม 2558 ชื่อผูประดษิ ฐ : ผูช ว ยศาสตราจารยสาคร ชลสาคร สงั กดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การใชน้ำยางธรรมชาติในงานเขียนผาบาติก เปนการนำน้ำยางธรรมชาติมาผสม เขากับแบะแซ และกาวลาเทกซ ใหเขากัน กอนนำไปใสในภาชนะทรงกรวยที่ สวนแหลมมีชองเปด-ปด แลวจึงนำไปเขียนเปนลวดลายบนผาเพื่อกั้นสำหรับ ทำผาบาติก กอนลางออกไดดวยน้ำ ซึ่งการใชน้ำยางธรรมชาตินี้ สามารถชวยให การเขียนลวดลายผาบาติก มีขั้นตอนที่งายและสะดวกมากกวาการเขียนลวดลาย บาตกิ ดวยน้ำเทียนทั่วไป รวมท้ังกระบวนการเขยี นไมต อ งใชค วามรอน จึงประหยัด พลงั งานและชว ยลดภาวะโลกรอ นได 28 IRnMteUlleTcTtual Property 2018
47102สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภเลัณขฑท่ี แบบพบั กลอ ง วนั ที่จดทะเบียน : 23 พฤศจกิ ายน 2558 ชื่อผอู อกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจรญิ พงษมาลา, นายคมสัน เรืองโกศล สงั กัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 29ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2561
47103สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภเลณั ขฑที่ แบบพับกลอ ง วันทจ่ี ดทะเบยี น : 23 พฤศจิกายน 2558 ชื่อผอู อกแบบ : นางสาวจฑุ ามาศ เจรญิ พงษมาลา, นายคมสนั เรอื งโกศล สงั กัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 30 IRnMteUlleTcTtual Property 2018
10783อนุสิทธบิ ัตร เลขที่ กรรมวิธใี นการผลติ กา นบัวแหง วนั ที่จดทะเบียน : 23 พฤศจกิ ายน 2558 ช่ือผปู ระดิษฐ : นางรุจริ า เดชสูงเนนิ สงั กัด : กองกลาง รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีในการผลิตกานบัวแหง เปนการรักษาสภาพกานบัวสำหรับใชประดับ ตกแตง รว มกบั ดอกบวั แหง หรอื ไมด อกแหง ชนดิ ตา งๆ โดยใชก ระบวนการ ประกอบ ดว ย การแชก า นบวั ในกลเี ซอรนี และนำ้ อนุ กอ นนำไปผง่ึ ในทร่ี ม และเกบ็ ไวใ นกลอ ง ทใี่ สซิลกิ า เจล ไดกานบัวแหง สำหรับนำไปใชงาน 31ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2561
อนุสทิ ธิบตั ร 10882เลขท่ี เครอ่ื งใหบริการกระจายสัญญาณอนิ เตอรเ น็ต แบบหยอดเหรยี ญ วันทีจ่ ดทะเบียน : 14 ธันวาคม 2558 ชอื่ ผปู ระดิษฐ : ผชู ว ยศาสตราจารยชุติมา ประสาทแกว , นายสทิ ธชิ ัย หยองใหญ, นายแมคเครน สขุ ใจ, นายภมร บุญพันธ, นางสาวขวัญฤทัย อำนวยศิลป, นางสาวกันยารตั น ลชี วนคา สังกัด : คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน เหคลรักอ่ื ปงใรหะบกรอกิ บาดรวกยระกจาารยรสับญั ขญอมาณูลแอบนิ บเตจออรสเ ัมนผต็ ัสแบทบำหหยนอาดทเี่รหับรคยี ำญสั่งทจม่ี าสี กว ผนูรปับรบะรกิกอาบร สามารถติดตั้งอุปกรณปุมสำหรับรับคาโดยเชื่อมตอกับโปรแกรมประมวลผล หรอื ใชก ารแสดงผลทางเสยี งผา นลำโพงโดยเชอ่ื มตอ กบั โปรแกรมประมวลผลแทน สง เขา ระบบพรอ มใสเ หรียญในเคร่ืองหยอดเหรยี ญตรงกัน สามารถเพ่มิ เติมอปุ กรณ รับธนบัตรสำหรับรับธนบัตรจากผูใชได สงผานขอมูลไปยังแผงวงจรแปลงสัญญาณ อนาล็อกเปนดิจิตอล เพื่อสงสัญญาณการตรวจสอบการรับเหรียญ โดยโปรแกรม ปทห่ีระยมอวดลเหผรลยี ตญรวกจนั สหอรบอื ยไมอ ดแเลงะินททำี่ผงูราับนปบรระิกสาารนสกั่งผนั ากนบั หโปนราแจกอรแมบคบวบสคัมมุผเัสปกน ับโยปอรแดกเงรินม ใชค วบคมุ แผงวงจรแปลงสญั ญาณอนาล็อกเปน ดิจิตอล ทำงานไดถูกตองตามเงื่อนไขที่กำหนด ทอ่ี ยภู ายในคอมพวิ เตอร มหี นา ทป่ี ระมวลผลรวม เพื่อสงผานขอมูลไปยังเครื่องพิมพ ที่ใชพิมพ Username และ Password ใหผูรับบริการไดใช ในการเขาใชบริการสัญญาณอินเตอรเน็ตของ เครื่องหลายคนในเวลาเดียวกัน หรือใชอุปกรณ ออกบัตรเพื่อออกบัตรชื่อผูใชและรหัสผานสำหรับ ใชง านในระบบโดยทไ่ี มผ า น โปรแกรมประมวลผล การเชื่อมตออินเตอรเน็ตผานเครือขายไรสาย Wireless LAN (WLAN) ทม่ี อี ปุ กรณ Access Point ชวยกระจายสัญญาณไดชัดเจน เพื่อขยายระบบ สไดญั กญวาางณอใอหกบ ไปรกิ ารอยใู นบรเิ วณท่ไี ดรบั สญั ญาณ 32 RInMteUlleTcTtual Property 2018
10959อนสุ ทิ ธิบัตร เลขที่ กรรมวธิ ีการผลิตบลอ กปพู น้ื จากเศษหินบะซอลต วันท่จี ดทะเบยี น : 30 ธันวาคม 2558 ชอื่ ผปู ระดิษฐ : นางสมพิศ ตนั ตวรนาท, วา ท่รี อยเอกกติ ติพงษ สุวโี ร, นายประชมุ คำพุฒ สังกัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หนวยจดั การทรัพยสนิ ทางปญญา และถายทอดเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการผลิตบลอกปูพื้นจากเศษหินบะซอลต เปนกระบวนการผลิตวัสดุ ปูพื้นที่มีสวนประกอบของปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภท 1 ปูนซีเมนตขาวชนิด ผสมซิลิกา เศษหินบะซอลต และน้ำประปา ผสมสวนประกอบใหเขากัน กอนอัด ขน้ึ รปู เปน 2 ชน้ั ดว ยเครอ่ื งอดั บลอ กปพู น้ื (ชน้ั ลา ง ) และแบบหลอ บลอ กปพู น้ื แบบ ถอดประกอบได (ชั้นบน) ไดบล็อกปูพื้นจากเศษหินบะซอลต ที่มีลักษณะภายนอก สมบรู ณไ มแ ตกหกั งา ย ตา นทานแรงดดั ดี รบั แรงอดั สงู มอี ณุ หภมู ผิ วิ หนา ตำ่ นำ้ หนกั เบาและซมึ ผานน้ำได สำหรับนำไปใชประโยชนในอุตสาหกรรมการกอสรา ง 33ทำเนียบทรพั ยสนิ ทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2561
อนสุ ิทธบิ ัตร 10960เลขที่ กรรมวธิ กี ารผลิตคอนกรตี ที่มีเศษหนิ บะซอลตเปนมวลรวม วันทจ่ี ดทะเบียน : 30 ธันวาคม 2558 ช่อื ผูประดิษฐ : นางสาวนิรมล ปนลาย, วาทีร่ อยเอกกติ ตพิ งษ สวุ โี ร, นายประชมุ คำพฒุ สังกดั : คณะสถาปตยกรรมศาสตร, คณะวิศวกรรมศาสตร, หนวยจดั การทรัพยสินทางปญญาและถายทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการผลิตคอนกรีตที่มีเศษหินบะซอลตเปนมวลรวม เปนกระบวนการผลิต วัสดุคอนกรีตที่มีสวนประกอบของปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภท 1 ทรายหยาบ เศษหนิ บะซอลต และนำ้ ประปา ผสมสว นประกอบใหเ ขา กนั ไดค อนกรตี ทม่ี เี ศษหนิ บะซอลตเปนมวลรวม ที่มีน้ำหนักเบา แข็งแรง และเปนฉนวนปองกันความรอน สำหรับนำไปใชประโยชนในอุตสาหกรรมกอสราง 34 IRnMteUlleTcTtual Property 2018
ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2559
สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ 49608เลขท่ี กระเบื้องหลังคา วนั ที่จดทะเบียน : 31 พฤษภาคม 2559 ชอ่ื ผูออกแบบ : นายประชมุ คำพุฒ, วา ท่ีรอยตรกี ิตติพงษ สุวโี ร สังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร, หนว ยจัดการทรพั ยส นิ ทางปญ ญา และถายทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน 36 RInMteUlleTcTtual Property 2018
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116