Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Thailand Research Expo 2017

Thailand Research Expo 2017

Published by IRD RMUTT, 2017-09-12 02:46:47

Description: Thailand Research Expo 2017

Search

Read the Text Version

Thailand Research Expo 2017 August 25, 2017 Centara Grand and Bangkok Convention Centre @ Central World Institute of Research and Development

THAILAND RESEARCH EXPO 2017หัวข้อ มหกรรมงานวจิ ยั แห่งชาติ 2560 (Thailand Research Expo 2017)วันท่ี วันศุกร์ที่ 25 สงิ หาคม 2560 เวลา 9.00 น. – 16.30 น.สถานท่ี โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ และบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรงุ เทพฯจัดโดย สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)จดั ทาโดย นางมยุรี จอยเอกา นางสาวฉัตรวดี สายใยทอง ฝา่ ยวิจัยและนวตั กรรม สถาบนั วิจัยและพฒั นา …………………………………………………………………………………………………………กาหนดการจดั งาน ระหว่างวนั ท่ี 23 - 27 สิงหาคม 2560Theme การนาเสนอผลงาน 1. งานวิจัยเพอ่ื ความมัน่ คง 2. งานวิจัยเพื่อการเกษตร 3. งานวจิ ัยเพอื่ อตุ สาหกรรม 4. งานวจิ ยั เพอ่ื สังคม 5. งานวิจยั เพื่อการแพทย์และสาธารณสุข 6. งานวจิ ัยเพอ่ื พลังงาน 7. งานวิจัยเพือ่ ทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ มวิทยากรเรอ่ื งที่ 1 งานวจิ ยั และนวตั กรรม เพือ่ ขับเคล่อื นเศรษฐกจิ ชุมชนอยา่ งม่ังค่ังและย่ังยนื 1.1 ผศ. ดร. กนั ต์ อิทุวงศ์ คณบดคี ณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์ 1.2 ผศ. ไพโรจน์ นะเทีย่ ง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์เรอ่ื งที่ 2 การเสวนา “ลขิ สิทธยิ์ คุ เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล” 2.1 ดร. พณชิต กิตติปัญญางาม ผู้อานวยการฝ่ายนวัตกรรม สานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 2.2 นางสาวเขมะศิริ นชิ ชากร ผ้เู ชีย่ วชาญเฉพาะดา้ นลิขสทิ ธ์ิ กรมทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาMAYUREE JOY-A-KA 1

THAILAND RESEARCH EXPO 2017เรื่องที่ 3 The promotion of inventions and innovations to commercialization and success case study in Republic of Korea By Dr. Joon Seok Leeภาพรวมของ มหกรรมงานวิจัยแหง่ ชาติ 2560 (Thailand Research Expo 2017)สรุปสาระสาคัญ: งานมหกรรมงานวิจัยแหง่ ชาติ 2560 ถูกจัดขึน้ โดยสานักงานคณะกรรมการวิจยัแห่งชาติ และความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่ายในระบบวจิ ัยท่ัวประเทศ (.วช) โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี 1. เพื่อนอ้ มราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ผ้ทู รงเปน็ “พระบิดาแหง่ การวิจยั ไทย” และนทิ รรศการเฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ ัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 และพระบรมวงศานุวงศ์ ท่ที รงพระมหากรุณาธคิ ุณต่องานวิจัยไทย 2. เพอื่ เปน็ การสร้างสรรค์ สร้างแรงขับเคล่ือน และพัฒนาให้เกิดการนาองค์ความรู้ ผลผลิต เทคโนโลยี และนวตั กรรมจากการวจิ ยั ไปสู่การใช้ประโยชน์ ตอบโจทยก์ ารแก้ไขปัญหาของ ประเทศ 3. เพ่ือเปน็ เวทีระดับชาติ ในการนาเสนองานวจิ ัยที่มีประสิทธิภาพพร้อมใชป้ ระโยชน์ และเป็น กลไกสาคัญใน การ เช่ือมโยงการ วิจัยของไทยที่มีศักยภา พไปสู่กลุ่มผู้ใช้ปร ะ โย ชน์ ระดบั ประเทศและนานาชาติ โดยการบูรณาการความร่วมมอื ระหว่างองค์กรและเครือข่ายใน ระบบวิจยั ทวั่ ประเทศกจิ กรรมที่จดั ภายในงาน ประกอบด้วย 2 สว่ น คอื 1. ภาคการประชุม/สัมมนา 2. ภาคนิทรรศการMAYUREE JOY-A-KA 2

THAILAND RESEARCH EXPO 2017รูปที่ 1 ภาพเวทีหลักของสว่ นนทิ รรศการในงาน Thailand Research Expo 2017MAYUREE JOY-A-KA 3

THAILAND RESEARCH EXPO 2017 รปู ท่ี 2 ภาพบรรยากาศในงาน Thailand Research Expo 2017สรุปเนอื้ หาการเขา้ ร่วมประชุมของทั้ง 3 เร่ือง ดังน้ีเรอ่ื งที่ 1 งานวจิ ยั และนวัตกรรม เพ่อื ขบั เคล่อื นเศรษฐกิจชุมชนอย่างมงั่ คัง่ และยง่ั ยืนสรปุ สาระสาคัญ ผศ. ดร. กนั ต์ อทิ ุวงศ์ คณบดีคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถ์ ไดก้ ล่าวเปดิ การนาเสนอ โดยยกจดุ เดน่ ของจงั หวัดและโอกาสของการพัฒนางานวจิ ัยและนวัตกรรมในชุมชน ดังนี้โอกาส (Opportunity) ของจงั หวดั อตุ รดิตถ์ 1. นโยบายรัฐบาลสนบั สนุนใหจ้ ังหวดั มีงบประมาณแก้ไขปัญหาได้มากขนึ้ 2. Logistic ภายในประเทศ เป็นจุดเชื่อมภาคเหนือตอนบนกับภาคเหนือตอนล่าง และภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ที่ใกล้และ สะดวกมาก 3. Logistic ออกสปู่ ระเทศเพื่อนบ้าน การพัฒนาเสน้ ทางเศรษฐกจิ เชอื่ มโยงตะวันออก-ตะวัน ตก (East-West Economic Corridor) แมส่ อด-ภูดู่ และระเบยี งเศรษฐกิจจาก เชยี งใหม่-เวียง จนั ทร์ 4. มขี องดขี องจังหวัด ได้แก่ มะมว่ งหมิ พานต์ ถวั่ ลิสง มะขามหวาน เหล็กนา้ พี้ (มคี ณุ สมบตั ิแข็ง นอกอ่อนใน ซ่ึงใช้ตีเปน็ ดาบกษตั รยิ ์ในสมยั กอ่ น) เปน็ ต้นกระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยี KM: ภาคปฏิบัติชมุ ชน กิจกรรมที่ 4 กจิ กรรมท่ี 5 กิจกรรมที่ 1 กจิ กรรมท่ี 2 กจิ กรรมท่ี 3Education Knowledge Cooperative Mind Evaluation Of Work Rally Work Shop Mapping Program Work ShopKnowledgeKnowledge Skill Attitude Behavior VisionMAYUREE JOY-A-KA 4

THAILAND RESEARCH EXPO 2017งานวิจัยและนวตั กรรมทีจ่ ะนาออกส่ชู มุ ชน ควรมอี งคป์ ระกอบ คือ 1. Cheap: ราคาถกู เพราะมกี ารตอบรับท่ีดจี ากชาวบา้ นมากกว่างานวจิ ยั ที่มรี าคาสูง อีกท้ัง ชาวบ้านไมม่ ีกาลังซือ้ มากพอ 2. Rapid: เห็นผลเร็ว เม่อื นางานวิจยั ออกสชู่ มุ ชน ตอ้ งมกี ระบวนการตดิ ตามผลการดาเนินงาน อย่างต่อเนือ่ ง เพอื่ ใหง้ านดาเนินการอย่างคล่องตัว รวมทงั้ ได้เห็นปัญหาและอุปสรรคอย่าง ชัดเจน 3. Not complex: ไมซ่ บั ซ้อนมากเกินไป เคร่อื งมอื ต้องไม่มีกลไกการทางานทซ่ี ับซ้อน มาก เพอื่ ใหช้ าวบ้านไดเ้ ข้าใจง่าย เชน่ มปี ่มุ เปิด-ปิด และหมุน/ตดั เป็นตน้ 4. Safety and Environment: ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อม มกี ารวางแผนการดูแล เครื่องมือจากตัวแทนในชุมชนอย่างน้อย 1 คน รวมท้ังหยอดกระปุกเป็นค่าบารุงรักษา เคร่อื งมอืหลักสาคัญของงานวิจัยเชงิ พน้ื ที่ คอื การมีความยั่งยืน ไดแ้ ก่ 1. การมีสว่ นร่วมในการทางานระหว่างนกั วจิ ยั และชมุ ชน 2. งานวิจัยท่ีเกิดขนึ้ ตอ้ งสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ รงิ ในพืน้ ท่ีนั้นๆ 3. อยา่ ใชก้ ลมุ่ เป้าหมายฟ่มุ เฟอื ยยกตัวอยา่ งความรว่ มมอื ระหวา่ งนกั วิจัยและชาวบา้ นเคร่อื งหยอดเมลด็ พันธุ์ข้าวสาหรับนาน้าตม เทคโนโลยจี ากภูมปิ ัญญาปราชญ์ชาวบ้าน เพือ่ การลดต้นทนุ การผลติ และพฒั นาศักยภาพของชาวนาไทยโดย คุณลงุ ประเทือง ศรสี ุข ผู้ประดษิ ฐค์ ดิ คน้ ผศ. ดร. กันต์ อทิ ุวงศ์ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ ผศ. ไพโรจน์ นะเท่ียง คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ รูปที่ 3 เครื่องหยอดเมลด็ พนั ธ์ุขา้ วสาหรับนาน้าตม 5MAYUREE JOY-A-KA

THAILAND RESEARCH EXPO 2017เรอื่ งท่ี 2 ลิขสทิ ธยิ์ ุคเทคโนโลยีดจิ ิทัลสรปุ สาระสาคัญ การเสวนา เรอ่ื ง ลิขสิทธ์ิยุคเทคโนโลยีดจิ ิทัล โดยวิทยากร 2 ทา่ น คอื ดร. พณชิตกิตติปัญญางาม และนางสาวเขมะศริ ิ นิชชากร ดงั น้ีความสาคัญของกฎหมายลิขสิทธ์ิ 1. สนับสนนุ การสรา้ งสรรค์องคค์ วามร้แู ละศลิ ปะวทิ ยาการที่หลากหลาย 2. สง่ เสริมการเผยแพรข่ ้อมลู สารสนเทศและงานลิขสิทธิท์ ี่เป็นประโยชน์ 3. ตอบแทนการลงแรงปญั ญา เวลา และทุนแกผ่ สู้ รา้ งสรรค์ 4. สรา้ งความเป็นธรรมระหวา่ งเจา้ ของลขิ สิทธ์แิ ละผใู้ ช้ 5. เสริมสรา้ งความมน่ั ใจทางธุรกิจลักษณะของงานอันมีลขิ สทิ ธิ์ที่กฎหมายคมุ้ ครอง 1. แสดงออกซง่ึ ความคิด 2. มีลกั ษณะการสร้างสรรคท์ ่ีเพียงพอ 3. เปน็ งานสร้างสรรคท์ ก่ี ฎหมายคุ้มครอง 4. ไม่ขดั ตอ่ ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอนั ดขี องประชาชนงานลขิ สทิ ธ์ิเป็นการแสดงออกซงึ่ ความคดิ และเป็นงานที่กฎหมายคมุ้ ครอง มี 9 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. งานวรรณกรรม เชน่ หนังสือ จุลสาร ส่ิงเขยี น สิ่งพิมพ์ คาปราศรยั โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 2. งานนาฏกรรม เช่น งานที่เกี่ยวกับการรา การเต้น การทาท่า หรือแสดงโดยวิธีใบด้ ้วย 3. งานศิลปกรรม เช่น งานจติ รกรรม งานประตมิ ากรรม ภาพพมิ พ์ งานสถาปตั ยกรรม ภาพถา่ ย ภาพประกอบ หรืองานสรา้ งสรรค์รูปทรงสามมิติเกี่ยวกบั ภูมิประเทศ หรอื วทิ ยาศาสตร์ งาน ศลิ ปะประยกุ ต์ ซึ่งรวมถงึ ภาพถา่ ยและแผนผงั 4. งานดนตรีกรรม เช่น คารอ้ ง ทานอง การเรียบเรียงเสียงประสานรวมถงึ โน้ตเพลงท่ีแย กและ เรียบเรยี งเสยี งประสานแล้ว 5. งานสิง่ บนั ทึกเสียง เชน่ เทปเพลง แผน่ คอมแพค็ ดิสก์ (ซีดี) ทบ่ี นั ทึกขอ้ มลู เสยี ง ท้ังนไี้ ม่รวมถึง เสยี งประกอบภาพยนตร์ หรอื เสยี งประกอบโสตทัศนวสั ดอุ ย่างอนื่ 6. งานโสตทศั นวสั ดุ เชน่ วีดีโอเทป วซี ีดี ดีวีดี แผ่นเลเซอรด์ ิสกท์ ี่บันทึกข้อมูลประกอบด้วย ลาดบั ของภาพหรอื ภาพและเสยี งอันสามารถทจี่ ะนามาเลน่ ซ้าได้อกี 7. งานภาพยนตร์ เชน่ ภาพยนตร์ รวมทง้ั เสยี งประกอบของภาพยนตรน์ ัน้ ด้วย (ถา้ มี) 8. งานแพร่เสยี งแพรภ่ าพ เชน่ การกระจายเสียงวทิ ยุ การแพร่เสียง หรือภาพทางโทรทัศน์ 9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรอื แผนกศิลป์MAYUREE JOY-A-KA 6

THAILAND RESEARCH EXPO 2017สิ่งท่ไี ม่ใช่ งานลขิ สิทธ์ิ 1. ขา่ วประจาวันและข้อเทจ็ จริงต่างๆ ท่มี ลี กั ษณะเปน็ เพียงขา่ วสาร เชน่ วัน เวลา สถานที่ ชือ่ บคุ คล จานวนคน ปรมิ าณ เปน็ ต้น 2. ท้งั นี้ หากมกี ารนาขอ้ มูลดังกลา่ วมาเรียบเรียงจนมีลักษณะเป็นงานวรรณกรรม อาทิ การ วเิ คราะหข์ ่าว บทความ ผลงานนนั้ อาจจะไดร้ ับความคุ้มครองในลกั ษณะของงานวรรณกรรม 3. รฐั ธรรมนญู และกฎหมาย 4. ระเบยี บ ขอ้ บังคับ ประกาศ คาส่ัง คาชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหนว่ ยงานอ่ืนใดของรฐั หรอื ของท้องถ่ิน 5. คาพพิ ากษา คาสั่ง คาวนิ ิจฉัย และรายงานของทางราชการ 6. คาแปลและการรวบรวมส่ิงต่างๆ ซง่ึ กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอนื่ ใดของรัฐหรือ ของทอ้ งถนิ่ จัดทาขึ้น 7. ความคิด ข้ันตอน กรรมวิธี ระบบ วธิ ใี ช้หรอื ทางาน แนวความคดิ หลักการ การคน้ พบ หรอื ทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื คณติ ศาสตร์เจา้ ของลขิ สิทธ์ิ คือ ผสู้ ร้างสรรคแ์ ละเจ้าของลขิ สิทธ์ิ ซงึ่ อาจเป็นคนเดียวกันหรือคนละคน ขน้ึ อย่กู บั“การสรา้ งสรรคง์ าน” อาจได้ลขิ สทิ ธ์มิ าโดยการดัดแปลงงานของผู้อน่ื การรวบรวม และการรบั โอนลขิ สิทธิ์สิทธขิ องเจา้ ของลิขสทิ ธิ์ สามารถทาซา้ ดัดแปลง เผยแพร่ต่อสาธารณชน ให้เช่า ใหป้ ระโยชนอ์ ันเกดิจากลิขสทิ ธ์แิ กผ่ อู้ นื่ และอนุญาตให้ผ้อู นื่ ใช้งานลิขสิทธ์ิ ได้ลักษณะของการอนญุ าตใหใ้ ช้สทิ ธิ แบง่ ได้ 3 ประเภท ดังน้ี 1. สญั ญาอนุญาตให้ใช้ลิขสทิ ธิไ์ มเ่ ดด็ ขาด (non-exclusive copyright licensing agreement) เป็นสัญญาที่เจ้าของลิขสิทธิ์จะอนญุ าตให้บุคคลอ่ืนใช้งานลิขสิทธิข์ องตนได้โดยไม่จากัด จานวนครง้ั และจานวนบุคล และเจ้าของลิขสิทธก์ิ ย็ ังมสี ทิ ธดิ ังกล่าวอยู่ เชน่ สญั ญาอนญุ าตให้ เผยแพร่งานเพลงของบรษิ ทั เพลง เปน็ ตน้ 2. สัญญาอนุญาตให้ใช้ลิขสิทธ์ิแต่เพียงผู้เดียว แต่ไม่จากัดเจ้าของสิทธิ (sole copyright licensing agreement) เปน็ สญั ญาทเ่ี จา้ ของลิขสิทธ์ิอนญุ าตให้ผู้ใดผูห้ น่ึงใช้งานลขิ สิทธิ์แต่ เพียงผู้เดยี ว แตเ่ จ้าของลิขสิทธยิ์ งั มสี ทิ ธิในการใชง้ านของตนได้ 3. สญั ญาอนุญาตให้ใช้ลิขสิทธ์ิแตเ่ พียงผเู้ ดียว (exclusive copyright licensing agreement) เป็นสญั ญาท่ีกาหนดให้ผู้รบั อนญุ าตแต่เพยี งผู้เดยี ว มีสิทธใิ นงานลขิ สิทธิ์ดังกล่าว และผูเ้ ป็น เจา้ ของลขิ สิทธเิ์ องกไ็ ม่มสี ิทธิในงานของตนเองระหว่างอายสุ ญั ญาดงั กลา่ วการค้มุ ครองลขิ สทิ ธ์ิ ได้รับความคุ้มครองทง้ั ในประเทศไทยและตา่ งประเทศทีเ่ ปน็ ภาคีอนสุ ัญญา กรุงเบิรน์ วา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม จานวน 174 ประเทศMAYUREE JOY-A-KA 7

THAILAND RESEARCH EXPO 2017อายุการค้มุ ครองลิขสทิ ธทิ์ ั่วไป - บคุ คลธรรมดา ตลอดอายุของผ้สู รา้ งสรรค์ + 50 ปี - นติ ิบุคคล 50 ปี หลงั จากสร้างสรรคห์ รอื โฆษณาคร้งั แรก - กรณีมกี ารสรา้ งสรรคร์ ว่ มกัน ตลอดอายขุ องผู้สร้างสรรคร์ ่วม + 50ปีการละเมิดลขิ สทิ ธ์ิละเมิดขั้นต้น: การกระทาแก่งานโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธ์ิ ได้แก่ ทาซ้า ดัดแปลงเผยแพรต่ ่อสาธารณชน ใหเ้ ช่าต้นฉบับหรือสาเนาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ สง่ิ บันทึกเสยี ง โสตทัศนวัสดุและภาพยนตร์บทกาหนดโทษ 1. ทาซ้า ดดั แปลง เผยแพร่ตอ่ สาธารณชน ใหเ้ ชา่ ปรบั 20,000 - 200,000 บาท 2. กระทาเพื่อการคา้ จาคกุ 6 เดอื น-4 ปี หรอื ปรบั 100,000 บาท - 800,000 บาท หรือ ทง้ั จาทั้งปรบัละเมดิ ขัน้ รอง: การกระทาแก่งานเพื่อหากาไร โดยผกู้ ระทารูห้ รือมีเหตุอันควรรู้วา่ งานนนั้ เปน็ งานละเมิด เชน่ ขาย ให้เช่า ใหเ้ ช่าซื้อ เผยแพร่ตอ่ สาธารณชน แจกจ่ายในลกั ษณะท่อี าจกอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายแก่เจ้าของลขิ สิทธ์ิ นาหรือสง่ั เขา้ มาในราชอาณาจักรบทกาหนดโทษ 1. รู้หรอื มเี หตอุ ันควรรู้วา่ งานทาขึ้นโดยละเมดิ ลิขสิทธิ์หรือกระทาเพ่ือหากาไร โดยขาย ใหเ้ ชา่ เผยแพร่ต่อสาธารณชน แจกจ่าย นาหรือสง่ั เขา้ มาในราชอาณาจักรปรับ10,000-100,000 บาท 2. กระทาเพื่อการค้า จาคกุ 3 เดือน - 2 ปี หรอื ปรบั 50,000 - 400,000 บาท หรือท้งั จาทัง้ ปรับข้อยกเว้นการละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ 1. ไม่ขดั ตอ่ การแสวงหาประโยชนจ์ ากงานอนั มลี ิขสิทธ์ติ ามปกติของเจ้าของสิทธิ 2. ไม่กระทบกระเทอื นถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจา้ ของสิทธิเกนิ สมควร 3. วจิ ัยหรอื ศกึ ษา ไม่ใช่เพอื่ หากาไร 4. ใชเ้ พือ่ หาประโยชน์ของตนเอง 5. ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงาน 6. ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง 7. ทาให้ปรากฏโดยผสู้ อน เพอ่ื ใช้สอน ไมห่ ากาไร 8. เสนอรายงานข่าวทางสอ่ื สารมวลชนโดยมกี ารรบั ร้ถู ึงความเป็นเจ้าของลขิ สิทธิ์ 9. ทาซา้ ดัดแปลงบางส่วนของงาน ตดั ทอนหรือทาบทสรุปโดยผู้สอนหรือสถาบันการ ศึกษา เพ่ือแจกจา่ ยหรือจาหนา่ ยแกผ่ ู้เรียนในชั้นเรียนหรอื ในสถาบนั การศึกษาโดยไมห่ ากาไรฯลฯ 10. ใชเ้ ป็นสว่ นหนงึ่ ในการถามและตอบในการสอบMAYUREE JOY-A-KA 8

THAILAND RESEARCH EXPO 2017 รปู ที่ 4 ภาพบรรยายกาศในห้องประชุม เรือ่ งท่ี 3 The promotion of inventions and innovations to commercialization and success case study in Republic of Koreaสรุปสาระสาคัญ: การปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรมนัน้ เกิดขนึ้ มาแลว้ ถึง 4 ครง้ั แต่ละคร้ังก่อใหเ้ กดิ ความเปล่ยี นแปลงต่อโลกอย่างมาก จนอาจะเรียกได้ว่าการเปลี่ยนยุค โดยในการปฏิวัติคร้ังแรกน้ัน มนุษย์ได้รู้จกั การใช้พลังงานถ่านหิน และมีการผลิตพลังงานไอนา้ นอกจากน้ันยงั มีการผลติ เครอื่ งจกั รโดยมีพลังงานไอน้าเปน็ พ้นื ฐาน จะเรยี กยคุ นีว้ า่ Steam engine ต่อมาจะเป็นยุคของพลังงานไฟฟ้า เรียกวา่ Electricity ในยคุ นี้มนุษยร์ ูจ้ ักการใชเ้ ครอื่ งจักรในการผลิตสนิ ค้าในคราวละมากๆ โดยการอาศยั พลังงานไฟฟา้ ก่อนจะก้าวเขา้ ส่ยู ุคตอ่ ไปคอื ยคุ Automation ในยุคน้จี ะเปน็ ยคุ ของการใชอ้ นิ เตอร์เน็ต และการใช้เครอื่ งจักรแบบอตั โนมตั โิ ดยใชค้ อมพิวเตอร์ มนุษย์เริ่มมบี ทบาทในการใชแ้ รงงานผลิตสินค้าน้อยลง จนมาถงึ ยคุปจั จุบนั ท่ีเรียกวา่ Convergence ในยุคนี้มกี ารปฏวิ ตั อิ ปุ กรณอ์ นิ เตอรเ์ นต็ โดยการเช่อื มโยงผลติ ภัณฑ์อปุ กรณ์ และมนุษยเ์ ข้าด้วยกนั ซึง่ จะเห็นได้วา่ เม่ือเช่ือมโยงการปฏิวัติอุตสาหกรรมในแตล่ ะคร้ังเข้าด้วยกนั จะเหน็ วา่ สงั คมมวี วิ ฒั นาการเขา้ สู่ “ยุคภูมิปัญญา”MAYUREE JOY-A-KA 9

THAILAND RESEARCH EXPO 2017 การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมคร้ังท่ี 1: Steam engine การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมครง้ั ที่ 2: Electricity การปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรมครงั้ ที่ 3: Automation การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมครัง้ ที่ 4: Convergence รปู ท่ี 5 แสดงแผนผังการวิวฒั นาการของภาคอุตสาหกรรม เม่อื ถึงยคุ น้จี ะทาให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงกบั สงั คมมนุษย์เปน็ อยา่ งมาก คือ หลายอาชีพทีม่ ีอยูน่ ้นั จะเรม่ิ หายไปเพราะมีการทางานทดแทนไดด้ ้วยเครื่องจกั ร และหุ่นยนต์ เชน่ พนักงานสง่ ของพนกั งานขายประจาเคาน์เตอร์ นักวเิ คราะหต์ ่างๆ ในทางตรงกันข้ามก็จะมีอาชพี ใหม่ๆ เกนิ ขน้ั มากมายโดยเฉพาะอาชพี ที่ตอ้ งอาศัย ความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรคท์ รี่ ะบบคอมพิวเตอรไ์ ม่สามารถทาได้ เชน่ นกัออกแบบผลิตภณั ฑ์ และการบรกิ าร ซง่ึ ส่ิงเหลา่ น้เี องคือพนื้ ฐานของทรัพย์สนิ ทางปญั ญา การจดั การทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา (IP Management) คือการนาทรัพย์สนิ ทางปญั ญามาทาใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุดต่อองคก์ ร หรอื บคุ คลผู้เปน็ เจา้ ของทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาน้ันๆ โดยอาศยั การลงทนุการตลาด การวิจัยและพัฒนา รวมถึงทรพั ยากรบคุ คล โดยจะประกอบไปดว้ ย 3 ขัน้ ตอน ดงั น้ีMAYUREE JOY-A-KA 10

THAILAND RESEARCH EXPO 2017Step 1 • R&D อยา่ งมีกลยุทธ์ โดยการศึกษาคน้ ควา้ เทคนิคทม่ี ีความล้าหนา้ เปรยี บเทยี บและวิเคราะห์ IP ของคแู่ ข่งอย่างสมา่ เสมอ • ซ่ึงจะทาใหอ้ งคก์ รประหยดั เวลาในการทาวิจัยได้ และยงั เป็นการประหยัดคาใช้จา่ ยในการทาวจิ ยั อกี ดว้ ยStep 2 • เลยี่ ง IP ของบรษิ ัทค่แู ข่ง โดยทาการศกึ ษา IP ของคแู่ ข่ง เพ่อื หลีกเลีย่ งความเส่ยี งในการละเมิด สิทธบิ ตั รของผู้อืน่ และหาช่องทางในการพฒั นางานขององคก์ รStep3 • การบรหิ ารจัดการ IP โดยการทาการตลาดทีด่ ี เจาะกลุ่มเปา้ หมายใหต้ รงกบั ชนิดของสินค้า และ ต้องดาเนินการดา้ นกลยทุ ธด์ ้านปริมาณและคณุ ภาพไปควบคู่กัน รูปที่ 6 แสดงแผนผัง IP Management การใช้ประโยชนข์ องทรัพย์สนิ ทางปัญญานั้นยงั มีอีกหลายวิธี เชน่ การซื้อ-ขายทรัพย์สินทางปัญญา หรอื แมแ้ ตก่ ารนาทรัพย์สนิ ทางปัญญาเป็นหลักทรพั ย์คา้ ประกนั เพ่ือกู้-ยืมเงิน ท้ังนี้ การเขา้ ร่วมประชุมดังกล่าว สามารถนาประโยชน์ที่ได้รับมาประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบตั ิงานได้ และสามารถนามาเป็นแนวในการปฏิบัตทิ ่ัวทง้ั องคก์ รเพือ่ ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขึ้นได้MAYUREE JOY-A-KA 11


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook