Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RMUTT Intellectual Property 2017

RMUTT Intellectual Property 2017

Published by IRD RMUTT, 2018-05-24 02:45:40

Description: RMUTT Intellectual Property 2017

Search

Read the Text Version

P IRNOTEPLELERCTTUYALทำเนยี บทรัพยสนิ ทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2560 RMUTT Intellectual Property 2017



มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีRajamangala University of Technology Thanyaburi

สารจากอธกิ ารบดี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เปนมหาวิทยาลัยที่มุงเนนการพัฒนากำลงั คนดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ใหม ที กั ษะความชำนาญดา นวชิ าชพี เสรมิ สรา งทุนมนุษยที่มีมูลคาเพิ่มใหแกประเทศ พรอมทั้งมุงหมายใหมหาวิทยาลัยเปนองคกรแหงการเรียนรู เผยแพรความรูวิชาการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสรางงานวิจัยสิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และงานสรางสรรค ที่ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรมและตอบสนองความตองการของประเทศ และการนำผลงานวิจัยไปใชใหเกิดประโยชนตอชุมชน สังคมภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติตอไป ในโอกาสนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดเล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยสินทางปญญาที่เกิดจากการสรางสรรคของนักวิจัย อาจารยนักศึกษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ จึงมีนโยบายสงเสริมและสนับสนุนงานดานทรัพยสินทางปญญาเพื่อการคุมครองทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยฯ มาอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เพื่อเปนการผลักดันใหเกิดงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และงานสรางสรรคที่มีศักยภาพ ใหสามารถนำไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยไดอยางเปนรูปธรรมพรอมทั้งเปนการพัฒนาระบบนวัตกรรมของการทำวิจัยที่ยั่งยืนที่เปนธรรมตอผูประดิษฐคิดคน และผูท ่ตี อ งการนำผลงานไปใชประโยชนสืบไป (รองศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ปนปฐมรัฐ) อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

สารจากรองอธกิ ารบดี

การนำวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยมี าใชเ พอื่ การพฒั นาประเทศนน้ั ตองอาศัยปจจัยในหลายดา นที่สำคัญ ไดแ ก การคน ควาวจิ ัย การพัฒนาเทคโนโลยี การถา ยทอดเทคโนโลยีการคนควาและพัฒนาไปสูเชิงพาณิชย เปนตน ซึ่งความสำเร็จของงานวิจัยและพัฒนาจะเกิดข้ึนได ตองอาศัยกลุมนักประดษิ ฐท ่มี ีความคิดเชิงสรา งสรรค รวมทงั้ แหลงทุนภายนอกทั้งจากภาครัฐและเอกชน และผูประกอบการที่นำผลงานวิจัยไปใชประโยชนเชิงพาณิชยจงึ จะสามารถพฒั นาระบบการจดั การทรพั ยส นิ ทางปญ ญาไปสเู ชงิ พาณชิ ยไ ดอ ยา งสมบรู ณและครบถวน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เปนมหาวิทยาลัยท่มี ีอัตลักษณด า นบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพ และมีพันธกิจที่สำคัญ คือ การวิจัยเพื่อสรางและพัฒนาองคความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยสินทางปญญาที่เกิดจากการสรางสรรคของนักวิจัย คณาจารย นักศึกษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ โดยใหการสนับสนุนงานดานทรัพยสินทางปญญามาอยางตอเนื่อง การรวบรวมและนำเสนอผลงานอันเปนทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยทไี่ ดรบั การจดทะเบียนคมุ ครองจากกรมทรัพยส นิ ทางปญ ญาแลว นนั้ จงึ เปนชอ งทางหนึ่งในการผลักดัน สงเสริม สนับสนุน และประชาสัมพันธใหเกิดการเผยแพรแกผูสนใจทุกภาคสวน โดยเฉพาะสถานประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และชุมชนเพ่อื ยกระดบั ความสามารถในการแขง ขนั ของภาคธรุ กจิ ของอุตสาหกรรมและชุมชนใหดำเนนิไปอยา งยง่ั ยนื (ผูชวยศาสตราจารย ดร. สมหมาย ผวิ สอาด) รองอธิการบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

บทสรปุ ผูบรหิ าร

ทำเนียบทรัพยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ประจำป 2560เปนเอกสารเผยแพรในรูปแบบของเลมเอกสารและไฟลหนังสืออิเลคทรอนิกส (e-Book)ที่สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดดำเนินการรวบรวมจากผลงานวิจัย สิ่งประดษิ ฐ นวัตกรรมและงานสรา งสรรคของมหาวทิ ยาลัยฯ เพ่ือชวยในการสงเสรมิ และสนับสนุนการนำผลงานวจิ ัยไปใชป ระโยชนในเชิงพาณชิ ยใหเปน รปู ธรรมมากย่ิงขึ้นสถาบันวจิ ยั และพัฒนา จึงไดดำเนินการจดั ทำเลมทำเนียบทรัพยส ินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เปนประจำทุกป โดยเริ่มมาตั้งแตป 2559 – ปจจุบัน เพื่อเปนการรวบรวมและนำเสนอผลงานอันมีคุณคาและเปนทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยประเภทสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร ที่ไดรับการจดทะเบียนคุมครองจากกรมทรัพยสินทางปญญาระหวางป 2550 - 2560 รวมทั้งสน้ิ จำนวน 68 ผลงาน ดงั นี้ ผลงานทรพั ยสนิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2550 มีจำนวน 1 เรอื่ ง ผลงานทรพั ยส ินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2551 มีจำนวน 4 เรื่อง ผลงานทรพั ยสนิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2555 มจี ำนวน 8 เรื่อง ผลงานทรัพยสินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2556 มีจำนวน 5 เรอื่ ง ผลงานทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2557 มจี ำนวน 2 เรื่อง ผลงานทรพั ยส ินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2558 มจี ำนวน 13 เรื่อง ผลงานทรพั ยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2559 มจี ำนวน 25 เรอื่ ง ผลงานทรัพยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2560 มจี ำนวน 10 เรือ่ ง ทั้งนี้ ขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยทุกทานที่ไดรับการจดทะเบียนคุมครองจากกรมทรัพยสินทางปญญา ขอขอบคุณและขอชื่นชมในความวิริยะอุตสาหะของนักวิจัย บุคลากรและนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ที กุ ทา นทส่ี ามารถสรา งสรรคผ ลงานวจิ ยัสิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม ใหเปนที่ยอมรับและแสดงใหเห็นถึงศักยภาพดานทรัพยสินทางปญ ญาของมหาวทิ ยาลยั ฯ สามารถเผยแพรแ ละประชาสมั พนั ธไ ปยงั กลมุ ทม่ี คี วามพรอ มในการขอรับการถายทอดเทคโนโลยี (Technology transfer) ออกสูภาคธุรกิจเชิงพาณิชยภาครัฐ และภาคเอกชนที่มีความสนใจตอไป (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วารุณี อริยวิริยะนันท) ผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

สารบญั

หนาความรทู ั่วไปดา นทรัพยสินทางปญญา 1 5ทรพั ยส ินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 25501. เครื่องระเหยแบบเอช พี วี สำหรับการผลิตสารสกัดสมุนไพรกำจัดศัตรูพืช ชนดิ เขมขนทรพั ยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2551 7 82. บล็อกปพู น้ื ลดอณุ หภูมิภายนอกอาคาร 93. กระเบอื้ งตกแตง โพลิเอทธลิ นี ผสมใยมะพรา ว 104. กระเบ้ืองปูพนื้ -ผนัง ยางพาราผสมใยมะพรา ว5. แผนยางพารารองปลายแทง ตัวอยางคอนกรตี ทดสอบทรัพยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 25556. เครื่องอัดชิ้นงานเซรามิกที่มีการควบคุมการทำงานดวยไมโครคอนโทรลเลอร 127. เครือ่ งดัดโลหะขบั เคลื่อนโดยชุดเฟอ งสะพานขบกับเฟอ งตรงควบคมุ ดว ยระบบ 13ไฮดรอลิก8. ชดุ ยกและเคลือ่ นยา ยผูป ว ย ควบคมุ ดว ยรีโมทคอนโทรล 149. เคกขาวกลอ งนงึ่ 1510. เคร่อื งผสมน้ำเคลอื บ ควบคมุ ดว ยไมโครคอนโทรลเลอร 1611. อุปกรณเสริมเหลก็ พยงุ ขาสำหรบั ชวยการเดนิ ของผพู ิการ 1712. รถเข็นคนพกิ ารแบบขับถายระบบไฟฟาควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร 1813. เครอ่ื งจับชน้ิ ทดสอบนำ้ เคลอื บ ควบคมุ ดว ยไมโครคอนโทรลเลอร 19ทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 255614. แบบพับกลอ ง 2115. แบบพับกลอ ง 2216. กรรมวิธกี ารผลติ ตะขบอบแหง 2317. กอนดินที่มสี ว นผสมของน้ำยางธรรมชาติและกระบวนการผลิต 2418. กาวรองพ้ืนผาใบดินสอพองผสมกาวเมล็ดมะขาม สำหรบั การสรางสรรคผ ลงาน 25ผลงานศลิ ปะดว ยเทคนิคสีฝุนและกรรมวธิ ีการผลติ

หนาทรัพยส นิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2557 27 2819. ขวด20. สตู รผสมของวุนผลไมแ ละกรรมวธิ ีการผลิตทรัพยสนิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 255821. กรรมวิธกี ารผลติ ผงไหม (ไฟโบรอินและเซริซิน) เพอ่ื ใชใ นงานดา นสง่ิ ทอ การแพทย 30และเคร่ืองสำอาง22. ผลติ ภณั ฑเ กลอื สปาท่ีมใี บสะเดาแหงบดเปนวสั ดขุ ดั ผิว 3123. หมอ น่งึ ลกู ประคบสมุนไพรไทยแบบหยบิ จบั งาย 3224. กรรมวิธีการผลิตบล็อกประสานจากเศษหนิ บะซอลต 3325. บล็อกปพู น้ื ระบายน้ำชนดิ ควบคมุ ทิศทางการไหล 3426. เคกขาวธญั พืช 3527. การใชน ำ้ ยางธรรมชาตใิ นงานเขียนผา บาตกิ 3628. แบบพับกลอง 3729. แบบพับกลอง 3830. กรรมวิธใี นการผลิตกา นบัวแหง 3931. เคร่อื งใหบริการกระจายสัญญาณอนิ เตอรเน็ตแบบหยอดเหรยี ญ 4032. กรรมวธิ ีการผลติ บลอ กปพู น้ื จากเศษหินบะซอลต 4133. กรรมวิธกี ารผลติ คอนกรตี ที่มเี ศษหนิ บะซอลตเปนมวลรวม 42ทรัพยสนิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2559 44 4534. กระเบ้อื งหลงั คา 4635. ลวดลายผา 4736. ลวดลายผา 4837. ลวดลายผา 4938. ลวดลายผา 5039. ลวดลายผา 5140. ลวดลายผา 5241. ลวดลายผา 5342. ลวดลายผา43. ลวดลายผา

หนา45. กรรมวธิ ีการผลติ ผักแผน ทมี่ แี คลเซยี มสูง 5446. กรรมวิธีการเตรียมวัสดุนาโนจากแรแม็กเนติกลูโคซีน เพื่อใชเปนวัสดุลดทอน 55และปอ งกนั รงั สเี อ็กซ (X-ray)47. กรรมวิธกี ารเตรียมแผน บางขนาดนาโนจากแรอิลเมไนท เพือ่ ใชใ นการการขจดั สี 56ในสยี อ มน้ำเสียจากส่ิงทอ48. กรรมวธิ ีการเตรียมแผน บางขนาดนาโนจากแรแมก็ เนติกลูโคซีน เพ่อื ใชเ ปนตวั เรง 57ปฏกิ ริ ิยาโดยใชแสง49. โคมไฟ 5850. อุปกรณเพ่ือการชมทัศนียภาพใตนำ้ สำหรบั การดำนำ้ ต้ืน 5951. ปยุ อนิ ทรยี จ ากขี้แดดนาเกลอื โดยใชจ ลุ ินทรียเปนตวั เรง 6052. กรรมวธิ กี ารเตรียมกลองชิ้นงานกลวงจากวสั ดผุ สมพลาสติกรไี ซเคิลพอลิเอทิลนี 61ความหนาแนนสูงและกากกาแฟโดยวธิ กี ารขึ้นรูปแบบหมุน53. ชุดอุปกรณผ ลิตกระแสไฟฟา จากการเคลือ่ นทข่ี องลิฟต 6254. กระเบือ้ งหลงั คา 6355. กรรมวิธีการผลิตกะหร่ปี ป จากแปงขา วสาลผี สมแปง ขาวเจาที่ใหพลงั งานต่ำ 6456. กรรมวธิ ีการผลติ แยมนำ้ ผ้ึงจากนำ้ ผ้งึ ทานตะวัน 6557. กรรมวธิ ีการผลิตวนุ เสนแกน ตะวนั 6658. กระเบ้อื งหลงั คา 6759. เครอ่ื งวัดคา การยบุ ตวั ของผวิ ทางแบบกงึ่ อัตโนมัติ 68ทรพั ยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2560 70 7160. แบบพบั กลอง 7261. กรรมวิธีการผลติ เสนดา ยจากเสน ใยผักตบชวา 7362. กรรมวิธกี ารผลิตไอศกรีมนม จากตนออนขา วพนั ธหุ อมมะลิ 74 75 สูตรปราศจากน้ำตาล 7663. เข็มกลัด 7764. กรรมวธิ ีการผลิตผลิตภณั ฑข าวไรสเ บอรเี่ พาะงอกพรอมบรโิ ภค 7865. ชุดกระโปรง 7966. ชุดกระโปรง67. ชุดกระโปรง68. กรรมวิธีผลิตเสนดายจากเสนใยมะพราวออน69. การเตรียมแผนดูดซับคลื่นแมเหล็กไฟฟาโดยใชวัสดุรีไซเคิลขวด HDPE และวัสดุนาโน/ไมโครจากแรรูไทล

ทรพั ยส ินทางปญ ญาIntellectualProperty

ทรพั ยสินทางปญญา ทรัพยสนิ ทางปญ ญา หมายถงึ ผลงานอนั เกิดจากประดษิ ฐ คิดคนหรือสรางสรรคของมนุษย ซึ่งเนนที่ผลผลิตของสติปญญาและความชำนาญ โดยไมจำกัดชนิดของการสรางสรรคหรือวิธีในการแสดงออกทรัพยสินทางปญญาอาจแสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับตองได เชนสินคาตางๆ หรือในรูปแบบของสิ่งที่จับตองไมได เชน บริการแนวคิดในการดำเนินธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม เปนตน ประเภทของทรัพยส นิ ทางปญญา ทรัพยสินทางปญญาแบงออกเปน 2 ประเภท ตามหลักสากล ไดแก ทรัพยสินทางปญญาทางอุตสาหกรรม และลิขสิทธิ์ ทรพั ยสนิ ทางปญ ญาทางอุตสาหกรรม (Industrial Property) หมายถึง ความคิดสรางสรรคของมนุษยที่เกี่ยวกับสินคาอุตสาหกรรมตางๆ ซึ่งอาจ เปนความคิดในการประดิษฐคิดคน เชน กระบวนการหรือเทคนิคในการผลิตที่ได ปรับปรุงหรือคิดคนขึ้นใหม หรือการออกแบบผลิตภัณฑทางอุตสาหกรรมที่เปน องคประกอบและรูปรางของตัวผลิตภัณฑ เปนตน จึงสามารถแบงออกไดดังนี้ • สิทธิบัตร (Patent) o สิทธิบัตรการประดิษฐ (Invention Patent)/ อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) o สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ (Design Patent) • แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-design of Integrated Circuits) • เครื่องหมายการคา (Trademark) • ความลับทางการคา (Trade Secret) • สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical indications) ลิขสทิ ธิ์ (Copyright) หมายถงึ สทิ ธแิ ตเ พยี งผเู ดยี วของผสู รา งสรรคท จ่ี ะกระทำการใดๆ กบั งานทผ่ี สู รา งสรรค ไดทำขึ้น โดยประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ที่กฏหมายกำหนดไว ไดแก งานวรรณกรรม นาฎกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนต สิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียง แพรภ าพ หรอื งานอนื่ ใดในแผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยาศาสตร หรือแผนกศลิ ปะ ไมว างาน ดงั กลา วจะแสดงออกโดยวธิ ีหรือรูปแบบอยา งใด การคุมครองลขิ สิทธิ์ไมครอบคลมุ ถงึ ความคิด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบวิธีใชหรือวิธี ทำงาน แนวความคิด หลักการ การคน พบ หรอื ทฤษฎที างวทิ ยาศาสตรห รือคณิตศาสตร ทำเนียบทรพั ยส นิ ทางปญ ญา 1มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2560

แผนภูมิทรัพยส ินทางปญญาสิทธิบัตรการออกแบบผลติ ภัณฑ สทิ ธิบัตรการประดิษฐ อนสุ ิทธิบัตรDesign Patent Invention Patent Petty Patent สPิทaธtบิenัตtร แบบผงั ภูมขิ องวงจรรวม InLtaeygoruatteDdeCsigircnuoitfsCสoขิpสyrิทigธhิ์ t ทรัพยสนิ เครอ่ื Tงraหdมeาmยaกrาkรคา ทางปญญา Intellectual PropertyควาTมraลdบั eทSาeงcกrาeรtคา Geสog่ิงบraง pชh้ีทicาaงlภInูมdศิ iaาcสaตtiรo ns การใหความคุมครองพนั ธุพ ชื ใหม Protection of New Varieties of Plant *อยภู การยะใทตรกวางรกดาูแรลเกขอษงตกรรแมลวะชิสาหกการรณเก ษตรเคร่อื งหมายการคา เครอื่ งหมายบรกิ าร เคร่ืองหมายรบั รอง เครื่องหมายรว มTrademark Service Mark Certification Mark Collective Mark (ท่ีมา : ความรเู บือ้ งตนดานทรัพยสินทางปญญา กรมทรพั ยสินทางปญญา กระทรวงพาณชิ ย, 2558)2 RInMteUlleTcTtual Property 2017

ความหมายของทรพั ยส ินทางปญ ญาประเภทสิทธบิ ัตร (Patent) เปน การคมุ ครองการคดิ คน สรา งสรรคท เ่ี กย่ี วกบั การประดษิ ฐ (Invention) หรอื การออกแบบผลิตภัณฑ (Industrial Design) ทีม่ ลี ักษณะตามท่กี ฏหมาย กำหนด ซึ่งจำแนกไดเปน สิทธิบัตรการประดิษฐ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตร การออกแบบผลิตภัณฑ สิทธบิ ตั รการประดษิ ฐ (Invention Patent) หมายถึง การใหค วามคมุ ครอง การคิดคนเกีย่ วกบั ลกั ษณะองคประกอบ โครงสราง หรือกลไกของผลิตภัณฑ รวมทั้งกรรมวิธใี นการผลิต การ เกบ็ รักษา หรอื การปรบั ปรุงคณุ ภาพของผลิตภณั ฑ อนุสทิ ธบิ ัตร (Petty Patent) หมายถึง การใหการคุมครองการประดิษฐจากความคิดสรางสรรค ท่ีมีระดบั การพัฒนาเทคโนโลยไี มสูงมาก โดยอาจเปนการประดิษฐ คดิ คน ขึน้ ใหมหรือปรับปรงุ จากการประดษิ ฐที่มีอยูก อ นเพียงเล็กนอ ย สิทธิบัตรการออกแบบผลติ ภัณฑ (Design Patent) หมายถึง การใหความคุมครองความคิดสรางสรรคที่เกี่ยวกับรูปราง และลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ องคประกอบของลวดลายหรือ สขี องผลติ ภณั ฑ ซง่ึ สามารถใชเ ปน แบบสำหรบั ผลติ ภณั ฑอ ตุ สาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรมได และแตกตางไปจากเดิม ผูทรงสิทธิบัตรหรือ อนุสิทธิบัตรมีสิทธิเด็ดขาด (ท่มี า : ความรูเบ้ืองตน ดานทรพั ยส ินทางปญ ญา กรมทรพั ยส นิ ทางปญ ญา กระทรวงพาณชิ ย, 2558) ทำเนียบทรัพยสินทางปญญา 3มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2560

ทำเนยี บทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ.2550

3043อนสุ ทิ ธเบิลขัตทร่ี เครอ่ื งระเหยแบบเอช พี วี สำหรับการผลติ สารสกัดสมุนไพรกำจัดศตั รูพืชชนดิ เขมขนวนั ที่จดทะเบียน : 15 มกราคม 2550ชื่อผปู ระดษิ ฐ : ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัญชลี สงวนพงษ, นายปณ ณธร ภัทรสถาพรกุล, นายขนุ พล สังขอ ารียกุลสงั กดั : คณะเทคโนโลยีการเกษตร, คณะวิศวกรรมศาสตรรายละเอยี ดผลงาน เครื่องระเหยแบบ เฮช พี วี เปนเครื่องระเหยที่ใชปมความรอนเปนแหลงพลังงาน อุณหภูมิสูงและอุณหภูมิต่ำพรอมกัน เพื่อเปนการนำความรอนทิ้งกลับมาใชใหม (Waste Heat Recovery) โดยใชเครื่องควบแนน (Condenser) ของปมความรอน เปนแหลงพลังงานอุณหภูมิสูง (High-temperature energy source) ในการระเหย สารสกัดใหเปลี่ยนสถานะกลายเปนไอและใช เครื่องระเหย (Evaporator) ของปม ความรอนเปนแหลงพลังงานอุณหภูมิต่ำ (Low-temperature energy source) ในการควบแนนไอระเหยใหเปลี่ยนสถานะกลายเปนของเหลวซึ่งการระเหยและ การควบแนนของสารสกัดจะอยูภายใตสภาวะสุญญากาศ เพื่อใหสารสกัดที่ถูก ระเหยมีจุดเดือดต่ำลง สงผลทำใหรักษาคุณภาพของสารสกัดที่ถูกระเหยได ทำเนียบทรพั ยส ินทางปญ ญา 5มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2560

ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ.2551

4106อนุสิทธิบัตร เลขท่ี บลอ็ กปูพ้ืนลดอุณหภูมิภายนอกอาคารวนั ที่จดทะเบยี น : 14 มีนาคม 2551ช่อื ผูป ระดษิ ฐ : นายประชมุ คำพฒุสงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตรรายละเอยี ดผลงาน บลอ็ กปพู น้ื ลดอณุ หภมู ภิ ายนอกอาคาร คดิ คน และพฒั นาขน้ึ จากบลอ็ กปพู น้ื ทว่ั ไป ท่เี ปนเนือ้ เดยี ว จึงมปี ญหาในเร่ืองของการดูดความรอนสูง ผลติ ภณั ฑบลอ็ กปพู ื้น ลดอุณหภูมิภายนอกอาคารไดทำการผสมผสานระหวางวัสดุ 2 ชนิด โดยใหวัสดุ ชั้นลางมีสมบัติในการดูดซับน้ำและสงผานความชื้นไดดี คือ อิฐมวลเบาหรือ อิฐมอญ นำมาประกอบกับวัสดุชั้นบนที่มีสมบัติในการสะสมความรอนไดนอย และสะทอนความรอนไดสูง คือ การทำหินลางที่ใชปูนซีเมนตขาวและใชหิน เกล็ดสีออนเปนวัสดุผสม โดยผลิตภัณฑ บล็อกปูพื้นลดอุณหภูมิผลิตภัณฑ บล็อกปูพื้นลดอุณหภูมิภายนอกอาคาร สามารถนำมาใชเปนวัสดุบล็อกปูพื้น บริเวณภายนอกอาคารที่ตองการประกอบกิจกรรมกลางแจงในตอนกลางวัน ไดโดยไมรอนเทา และชวยลดการกระจายรังสีความรอนเขาสูตัวอาคาร เพื่อเปน การประหยัดพลังงานได ทำเนียบทรัพยส ินทางปญญา 7มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2560

อนสุ ทิ ธิบัตร 4107เลขที่ กระเบื้องตกแตง โพลเิ อทธิลีนผสมใยมะพรา ว วันทจี่ ดทะเบยี น : 14 มนี าคม 2551 ชอื่ ผูป ระดิษฐ : นายประชมุ คำพุฒ สังกดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน กระเบื้องตกแตงโพลิเอทธิลีนผสมใยมะพราว คิดคนและพัฒนาขึ้นจากกระเบื้อง บุพื้นและผนังแบบเดิม โดยใชสวนผสมตามสูตรที่คิดคนขึ้น มาทำการบดและผสม ใหเ ขา กนั แลว นำไปบดอกี ครง้ั และใชก รรมวธิ กี ารอดั แบบรอ นชว ยใหเ กดิ การขน้ึ รปู เปนแผน ผลิตเปนกระเบื้องตกแตงโพลิเอทธิลีนผสมใยมะพราวที่มีความแข็งแรง ไมแตกหัก ไมดูดซึมน้ำ สามารถทำลวดลายที่ผิวหนาได ซึ่งสามารถนำมาใชเปน กระเบื้องปูพื้นหรือผนังของอาคารที่ตองการลวดลายและสีสันแบบธรรมชาติได8 IRnMteUlleTcTtual Property 2017

4108อนุสิทธบิ ตั ร เลขที่ กระเบื้องปพู ืน้ -ผนัง ยางพาราผสมใยมะพรา ว วนั ที่จดทะเบยี น : 14 มนี าคม 2551 ช่อื ผปู ระดษิ ฐ : นายประชุม คำพุฒ สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตรรายละเอยี ดผลงาน กระเบื้องปูพื้น-ผนัง ยางพาราผสมใยมะพราว คือ กระเบื้องยางสำหรับปูพื้น และผนัง ทั้งภายในและภายนอกอาคารที่มีสีสันแบบธรรมชาติ ประกอบดวย กรรมวิธีการบดยางเอสทีอาร 20 ดวยเครื่องบดผสมแบบ 2 ลูกกลิ้ง แลวเติม เสนใยหรือขุยมะพราว บดเขากับยาง จากนั้นเติมซิงคออกไซดและกรดสเตียริก ตามดวย ได-เมอรแคบโตเบนโซไทเอซอล และ ไดฟนิลกัวนิดีน รวมทั้งกำมะถัน ใชเวลาในขั้นตอนการบด ผสมประมาณ 15-30 นาที แลวทำการอัดขึ้นรูปดวย เครื่องอัดแบบรอนที่อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส เปนแผนกระเบื้องยางตาม ขนาดกำหนดที่มีความแข็งแรง เหนียวนุม ไมแตกหัก ผิวไมลื่น และไมดูดซึมน้ำ ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญ ญา 9มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2560

อนุสทิ ธบิ ตั ร 4109เลขท่ี แผน ยางพารารองปลายแทง ตวั อยา งคอนกรีตทดสอบ วันที่จดทะเบียน : 14 มนี าคม 2551 ชอื่ ผูประดษิ ฐ : นายประชมุ คำพฒุ สังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน แผนยางพารารองปลายแทงตัวอยางคอนกรีตทดสอบ คือวัสดุสำหรับรองปลาย แทงทดสอบคอนกรีต เพื่อปรับผิวหนาคอนกรีตใหเรียบ ชวยใหการสงถายแรงอัด ไดเต็มผิวหนาคอนกรีต จึงทำใหไดผลการทดสอบกำลังรับแรงอัดที่ถูกตอง โดย ออกสูตรเฉพาะของยางพาราใหเปนแผนวงกลมขนาดความหนา 1 เซนติเมตร มีเสนผานศูนยกลาง 15 เซนติเมตร และ 10 เซนติเมตร ประกอบดวย ยางแทง เอสทีอาร 20 บดผสมกับเขมาดำ แคลเซียมคารบอเนต และกำมะถัน ดวยเครื่อง ผสมระบบเปด แลว ทำการขน้ึ รปู ดว ย วธิ กี ารอดั รอ นโดยใชแ มพ มิ พแ บบอดั ไดเ ปน ผลิตภัณฑแผนยางพารารองปลายแทงตัวอยางคอนกรีตทดสอบ สำหรับนำมาใช ประกอบกับครอบเบาเหล็กหลอ ในกระบวนการทดสอบกำลังรับแรงอัดของแทง ตัวอยางคอนกรีตในหองปฏิบัติการ10 IRnMteUlleTcTtual Property 2017

ทำเนียบทรพั ยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ.2555

อนุสทิ ธบิ ัตร 7486เลขที่ เครือ่ งอัดช้นิ งานเซรามิกท่มี ีการควบคมุ การทำงาน ดว ยไมโครคอนโทรลเลอร วนั ทีจ่ ดทะเบยี น : 21 กนั ยายน 2555 ช่ือผปู ระดิษฐ : ผูชวยศาสตราจารย ดร.เบญจลกั ษณ เมอื งมีศรี สังกัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การประดิษฐนี้จะทำใหสามารถอัดชิ้นงานเซรามิกที่มีลักษณะแบบเรียบ ไมวาจะ เปนทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม หรือทรงสี่เหลี่ยม สามารถกำหนดความหนาแนน ของชนิ้ งานไดจ ากการกำหนดความดันตั้งแต 30, 40, 50, 60 บาร ดวยระบบไฟฟา ซึ่งจะสงผลใหการนำชิ้นงานไปใชในการเคลือบมีมาตรฐานในการบันทึกผลการ ทดลอง การประดิษฐเครื่องอัดชิ้นงานเซรามิกนี้ มีลักษณะของการทำงานที่ควบคุม ดวยไมโครคอนโทรลเลอร ซึ่งเปนโปรแกรมการสั่งงานดวยไมโครคอนโทรลเลอร ตัวโครงสรางเครื่องอัดชิ้นงานมีลักษณะเปนระบบไฮดรอลิกส การทำงานของระบบ กำหนดใหม ีความเรว็ การเคลอื่ นที่ 2 ระดับ กอนถึงการอัดชิ้นงาน และสามารถปรับความดันของ แรงดันขณะกดอัดชิ้นทดสอบ ไดตามความตองการของผูใช เพื่อใหเกิดการแนนของเนื้อดิน ที่ใชในการกดอัด12 IRnMteUlleTcTtual Property 2017

7565อนุสิทธบิ ตั ร เลขที่ เครอ่ื งดดั โลหะขับเคลอ่ื นโดยชดุ เฟองสะพานขบ กบั เฟอ งตรงควบคุมดวยระบบไฮดรอลกิ วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 26 ตลุ าคม 2555 ชื่อผูป ระดิษฐ : นายศิริชัย ตอ สกลุ สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตรรายละเอียดผลงาน เครื่องดัดโลหะขับเคลื่อนโดยชุดเฟองสะพานขบกับเฟองตรงควบคุมดวยระบบ ไฮดรอลิก เปนเครื่องที่สามารถทำการดัดโลหะที่มีรูปทรงกลมและโลหะแผน โดยใชแมพิมพมัลติฟงกชัน ที่สามารถถอดเปลี่ยนได ตามลักษณะชิ้นงานที่ ตอ งการดัด โดยมีแขนดดั ทสี่ ามารถปรับระยะเขา -ออก ของกระบอกสูบไฮดรอลิก ขบั เคลอ่ื นชดุ เฟอ งตรงทข่ี บกบั เฟอ งสะพาน สามารถหมนุ ดดั ทำมมุ ในการดดั สงู สดุ 90 ดวยใชสวิตซกด 2 ระบบพรอมกัน คือ กดดวยมือและเทาเหยียบเพื่อความ ปลอดภัยในการทำงาน 13ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2560

อนสุ ทิ ธบิ ัตร 7566เลขท่ี ชุดยกและเคลื่อนยา ยผปู ว ย ควบคมุ ดวยรีโมทคอนโทรล วนั ทจ่ี ดทะเบยี น : 26 ตุลาคม 2555 ชือ่ ผูประดษิ ฐ : ดร.เดชฤทธ์ิ มณีธรรม, ผศ.นพ.นยิ ม ละออปกษณิ สังกดั : คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม, ศนู ยก ารแพทย สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รายละเอยี ดผลงาน แนวคิดขางตนทำใหมองเห็นถึงปญหาที่เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากการชวยเหลือ ผูปวยใหสามารถเคลื่อนที่หรือขับถายไดโดยสะดวก ซึ่งจากเดิมการชวยเหลือ ของญาติจะใชการอุม หรือการยกซึ่งอาจจะทำใหผูปวยกระทบกระเทือนจาก การใชวิธีการที่ไมถูกวิธี และเพื่อใหผูปวยไดเคลื่อนที่หรือขับถายโดยไมเปนภาระ กบั ญาตหิ รอื ผชู ว ย การใชช ดุ ยกและเคลอ่ื นยา ยผปู ว ย ควบคมุ ดว ยรโี มทคอนโทรล ซึ่งสามารถเคลื่อนยายผูปวยเพื่อนำไปขับถายทั้งรูปแบบอุจจาระ และปสสาวะ ดังนั้นจึงไดนำเทคโนโลยีเพื่อการชวยเหลือรูปแบบใหมในการชวยเหลือผูปวย คือ นำเอาไมโครคอนโทรลเลอร มาควบคุมการยกและเคลื่อนยาย ผูปว ย โดยเฉพาะผูท่ีประสบปญ หา การเคลื่อนไหว ตลอดจนผูที่มี นำ้ หนกั มากไมส ามารถเคลอ่ื นทไ่ี ด การพัฒนาชุดยกและเคลื่อนยาย และควบคุมดวยรีโมทคอนโทรล ซึ่งการประดิษฐงานชุดนี้สามารถ ทำใหผ ปู ว ยลดการกระทบกระเทือน และสงผลถึงการบาดเจ็บรางกาย และบาดแผล ตลอดจนทำใหผูปวย มสี ุขภาพจิตดีขนึ้ และญาติไมเหนอ่ื ย อีกดวย14 RInMteUlleTcTtual Property 2017

7567อนุสทิ ธิบตั ร เลขท่ี เคกขา วกลอ งนงึ่วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 26 ตลุ าคม 2555ชื่อผปู ระดษิ ฐ : นางสาวเดือนเต็ม ทมิ ายงค, ผูชว ยศาสตราจารยส ิวลี ไทยถาวรสงั กัด : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตรรายละเอยี ดผลงาน เคกขาวกลองนึ่ง ประกอบดวย แปงสาลี ขาวกลอง น้ำตาล หัวกะทิ น้ำ ยีสต ไข และเกลือ เนื้อขนมมีลักษณะนุมฟู และมีความหนึบจากกากใยของขาวกลอง 15ทำเนียบทรพั ยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2560

อนสุ ิทธบิ ัตร 7619เลขที่ เครอ่ื งผสมนำ้ เคลอื บ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 19 พฤศจิกายน 2555 ชื่อผูประดิษฐ : ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.เบญจลกั ษณ เมืองมีศรี สังกัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เครื่องผสมน้ำเคลือบนี้มีลักษณะที่เปนเครื่องที่ปนหมุนใหน้ำเคลือบผสมกัน ในอัตราสวนที่ทำการทดลอง โดยมีอุปกรณควบคุมการเคลื่อนที่ดวยกดปุมสวิตซ หลังจากนัน้ จะสงสญั ญาณอนิ พทุ ไปท่ไี มโครคอนโทรลเลอร เพ่ือทำการประมวลผล และสงสัญญาณเอาตพุทไปยังอุปกรณควบคุมความเร็วมอเตอร โดยระบบการ ขบั เคลอื่ นจะมที งั้ แนวดง่ิ และแนวราบ สำหรับการเคล่อื นทจ่ี ะเปนแบบ 2 แกน คือ แกนแซดและแกนวาย โดยจะทำงาน อสิ ระตอกนั ในการเคล่อื นที่ ซ่งึ เคร่ือง ผสมน้ำเคลือบ ควบคุมดวยไมโคร คอนโทรลเลอร จะถูกออกแบบให เหมาะสมสำหรับการเคลือบน้ำยา ปริมาณนอย ลดขั้นตอนการทำงาน เคลื่อนยายสะดวกและสามารถปรับ ความเร็วของมอเตอรในขณะทำงาน ไดดวย16 IRnMteUlleTcTtual Property 2017

7695อนสุ ิทธเิบลขตั ทร่ีอุปกรณเ สริมเหล็กพยุงขาสำหรบั ชวยการเดินของผูพิการ วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 24 ธนั วาคม 2555 ชอ่ื ผูประดิษฐ : ดร.เดชฤทธิ์ มณีธรรม สังกัด : คณะครุศาสตรอสุ าหกรรม รายละเอียดผลงาน การประดิษฐอุปกรณเสริมเหล็กพยุงขา สำหรับชวยการใชเหล็กพยุงขา ใหการเดิน ของผูพิการสะดวกขึ้น จะเปนเหล็กพยุงขา ทม่ี ีใชอยแู ลว โดยอุปกรณเ สริมเหล็กพยุงขา นี้จะประกอบไปดวย 2 สวน คือ เบาสวม รองรบั สปรงิ และสปรงิ โดยสปรงิ จะมจี ำนวน ขด 4 ขด พับรอบนอกของเบาสวมรองรับ สปริง ทำใหสามารถพาอุปกรณพยุงปลาย เทาและนองยืดหดได ดังนั้นขณะที่ผูพิการ เดินจะสามารถงอหัวเขาและยืดหัวเขาได ในทวงทาที่ปกติหรือใกลเคียงกับคนปกติ ซึ่งจะแตกตางจากเหล็กพยุงขาของเดิม ที่ไมสามารถยืดหดหรือพับงอได 17ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2560

7696อนุสทิ ธเบิลขตั ทร่ี รถเขน็ คนพกิ ารแบบขับถา ยระบบไฟฟา ควบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอร วนั ที่จดทะเบียน : 24 ธันวาคม 2555 ช่อื ผูประดิษฐ : ดร.เดชฤทธ์ิ มณีธรรม, ผชู วยศาสตราจารย นพ.นิยม ละออปกษิณ สงั กัด : คณะครุศาสตรอ สุ าหกรรม, ศนู ยการแพทย สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี รายละเอียดผลงาน รถเข็นคนพิการแบบขับถายนี้มีลักษณะที่เปนรถเข็นที่อาศัยพลังงานที่สะสมใน แบตเตอรี่มาขับเคลื่อน รถเข็นนี้สามารถใชงานได 2 ลักษณะคือ ใชเปนรถเข็น ที่สามารถขับถายได และใชเปนรถเข็นที่เปนพาหนะไปที่ตางๆ ตามที่ตองการได โดยมีอุปกรณควบคุมที่เปนโปรแกรม เมื่อไดรับสัญญาณควบคุมจากกดปุมสวิตช จะทำการประมวลผลและสงสัญญาณไปยังอุปกรณควบคุมความเร็วมอเตอร และ อุปกรณตางๆ โดยระบบการขับเคลื่อนจะมีการขับเคลื่อนแบบลอขับเคลื่อนหลัก แตละลอไมขึ้นตอกัน การเลี้ยวใชหลักการความแตกตางของความเร็วระหวางลอ ทั้งสองขาง และสามารถหมุนรอบตัวเอง 360 องศาได ใชหลักการการหมุนใน ทิศทางตรงกันขามของลอขับเคลื่อนทั้งสองขาง ทิศทางการเคลื่อนที่ของรถจะ อาศัยตำแหนงของการกดปุมสวิตชเปนตัวกำหนดทิศทาง ความเร็ว และลักษณะ การวิ่งของรถ ซึ่งรถเข็นคนพิการแบบขับถายจะถูกออกแบบใหเหมะสมสำหรับ เปน พาหนะสำหรบั คนพิการทใี่ ชก าร ขับเคลื่อนในอาคารหรือรอบบรเิ วณ ภายนอกอาคาร และที่สำคัญคือ รถเข็นนี้ ผูปวยสามารถนั่งขับถาย บนรถเข็นได โดยมีระบบการทำ ความสะอาดกน ระบบสเปรยน้ำ ระบบเปาทำความสะอาดกน และ ระบบจัดเกบ็ ถุงอุจจาระและปสสาวะ ทำใหผูปวย ผสู ูงอายุ ตลอดจนผูดแู ล ผูปวยมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น18 IRnMteUlleTcTtual Property 2017

7697อนสุ ิทธิบัตร เลขท่ี เคร่อื งจบั ช้ินทดสอบนำ้ เคลือบ ควบคุมดว ยไมโครคอนโทรลเลอรวนั ที่จดทะเบียน : 24 ธันวาคม 2555ช่ือผปู ระดษิ ฐ : ผชู วยศาสตราจารย ดร.เบญจลักษณ เมอื งมศี รีสังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตรรายละเอยี ดผลงาน แนวคิดขางตนทำใหมองเห็นถึงปญหาของการทดลองเคลือบดวยการชุบหรือ จุมชิ้นทดลอง แตละครั้งที่ผูทดลองตองใชมือจุมอาจทำใหเกิดอันตรายกับผูชุบ เคลือบสำหรับผูแพสารบางชนิด และเพื่อใหไดมาตรฐานในการควบคุมความหนา ของการเคลือบ และพื้นที่ในการเคลือบใหไดที่ผูทดลองกำหนด จะสงผลใหการ ทดลองนำ้ เคลอื บมคี วามเทย่ี งตรงและมคี วามเชอ่ื มน่ั ตอ การทดลองซำ้ ในการละครง้ั ของการทดสอบ และอีกประการคือ การใชเ ครอ่ื งมอื จบั ชน้ิ ทดสอบนำ้ เคลอื บ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร จะชวยลดความเมื่อยลาของผูทดลอง ชิ้นงานจำนวนหลายชิ้นตลอดจนได ความเที่ยงตรงแมนยำกับตำแหนง ความเร็วที่คงที่ตลอดเวลา และลด อุบัติเหตุลงดวย 19ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2560

ทำเนยี บทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ.2556

35100สทิ ธิบัตรการออกแบบผลิตภเลัณขฑท่ี แบบพับกลองวนั ทจ่ี ดทะเบียน : 18 กุมภาพันธ 2556ชอ่ื ผอู อกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจรญิ พงษม าลา, นายคมสัน เรืองโกศลสงั กดั : คณะศิลปกรรมศาสตรรายละเอยี ดผลงาน 21ทำเนยี บทรพั ยสนิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2560

35101สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภเลัณขฑที่ แบบพับกลอง วันท่ีจดทะเบยี น : 18 กมุ ภาพันธ 2556 ชือ่ ผูออกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจริญพงษมาลา, นายคมสนั เรืองโกศล สังกดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน22 RInMteUlleTcTtual Property 2017

8106อนุสิทธิบตั ร เลขที่ กรรมวธิ กี ารผลิตตะขบอบแหงวันทจ่ี ดทะเบยี น : 20 มิถุนายน 2556ชอ่ื ผูประดษิ ฐ : ดร.อรวัลภ อปุ ถัมภานนทสงั กดั : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตรรายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการผลิตตะขบอบแหง เปนการคัดเลือกผลตะขบที่มีสีแดงทั้งผล นำมา ลา งนำ้ สารละลายกรดแอสคอรบ คิ ผง่ึ ใหแ หง โดยใชล มเปา จากนน้ั เขา ตอู บลมรอ น (Tray Dryer) จนไดคา water activity (aw) เหมาะสม แลวจึงนำไปบรรจุแบบ สุญญากาศ ตะขบอบแหงที่ไดจะมีสีแดงเขมคลายลูกเกด เก็บรักษาไดนาน 23ทำเนียบทรัพยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2560

อนสุ ิทธิบัตร 8107เลขที่ กอนดนิ ทมี่ สี ว นผสมของน้ำยางธรรมชาติ และกระบวนการผลติ วนั ท่ีจดทะเบยี น : 20 มถิ ุนายน 2556 ช่ือผปู ระดิษฐ : นายประชมุ คำพฒุ , วาทีร่ อยโทกติ ตพิ งษ สุวีโร สงั กัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หนวยจัดการทรพั ยส นิ ทางปญ ญา และถายทอดเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน กอนดินที่มีสวนผสมของน้ำยางธรรมชาติ เปนการประดิษฐกอนดินสำหรับใชใน งานกอสรางอาคาร หรือสวนประกอบของอาคารที่ทำจากดิน โดยผสมน้ำยาง ธรรมชาติเพื่อชวยใหกอนดินมีคุณสมบัติในการปองกันการชะลางและการดูดซึม น้ำที่ดีขึ้น และมีคาความตานทานแรงอัดและความตานทานแรงดัดที่สูงขึ้น ซง่ึ สว นผสมประกอบดว ย ดนิ นำ้ นำ้ ยางธรรมชาติ สารลดแรงตงึ ผวิ วสั ดผุ สมเพม่ิ ผสมรวมกัน จากนั้นปนหรืออัดเปนกอนแลวทำใหแหงในสภาพอากาศปกติหรือ ใหความรอนที่อุณหภูมิ 30-120 องศาเซลเซียส24 IRnMteUlleTcTtual Property 2017

8218อนสุ ิทธิบตั ร เลขที่ กาวรองพนื้ ผาใบดินสอพองผสมกาวเมล็ดมะขาม สำหรับการสรางสรรคผ ลงานศิลปะดว ยเทคนคิ สีฝนุ และกรรมวธิ กี ารผลิต วันท่จี ดทะเบยี น : 15 สิงหาคม 2556 ช่อื ผปู ระดิษฐ : นายรัตนฤทธิ์ จนั ทรรังสี สังกัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน กาวรองพื้นผาใบดินสอพองผสมกาวเมล็ดมะขามสำหรับการสรางสรรคผลงาน ศิลปะดวยเทคนิคสีฝุน ประกอบดวย ดินสอพอง เมล็ดมะขามปน (ดินสอพอง รอยละ 18.7 เมลด็ มะขาม รอยละ 3.1 กาวกระถินรอ ยละ 0.3 น้ำรอ ยละ 77.88) เตรียมกาวรองพื้นโดยนำเมล็ดมะขามมาคั่ว นาน 30 นาที กระเทาะเปลือกออก นำเนื้อเมล็ดมะขามแชน้ำ 1 คืน ตำใหละเอียด นำน้ำและเนื้อเมล็ดมะขามปน ใสภาชนะตมใหเดือด 20 นาที ใสก าวกระถนิ ตมตอ 5 นาที เตมิ ดนิ สอพองตม อกี 10 นาที กรองกาวดวยผาขาวบาง นำกาวรองพื้นที่ไดไปทาบนพื้นผาใบหรือพื้น เฟรมผาใบไมอัดหรือเฟรมผาใบ จำนวน 3 ครั้ง โดยทาชั้นที่ 2 แหงแลวกวดดวย หอยเบี้ย แลวทาชั้นที่ 3 ทิ้งใหแหง จากนั้นนำผาใบหรือพื้นเฟรมผาใบไมอัดหรือ เฟรมผาใบที่ไดไปสรางสรรคผลงานศิลปะดวยเทคนิคสีฝุน 25ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2560

ทำเนียบทรพั ยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ.2557

39963สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ เลขที่ ขวดวนั ทีจ่ ดทะเบยี น : 8 พฤษภาคม 2557ช่ือผอู อกแบบ : นางสาวจฑุ ามาศ เจริญพงษม าลา, นายคมสนั เรอื งโกศลสังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตรรายละเอียดผลงาน 27ทำเนียบทรัพยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2560

อนุสทิ ธิบตั ร 8851เลขที่ สูตรผสมของวุนผลไมแ ละกรรมวธิ ีการผลติ วันทจี่ ดทะเบียน : 8 พฤษภาคม 2557 ชือ่ ผูประดิษฐ : นางสาวจรี วัฒน เหรียญอารยี , นายอภชิ าติ โคเวยี ง สังกัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการผลิตวุนผลไมสำหรับตกเเตงอาหาร เปนการนำเจลาติน ผงวุน นำ้ สะอาด เเละน้ำผลไม มาผสมเเละตมเคี่ยว นำไปใสถ ุงบีบลงบนน้ำมนั จากน้ัน นำไปเเชในตูเย็น เทผานกระชอน พักไวใหสะเด็ด เเลวนำวุนผลไมที่ไดไปเเช นำ้ เชื่อม เเละนำไปเเชเยน็ ทอ่ี ุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ไดว ุน ผลไมสำหรับตกเเตง อาหาร28 RInMteUlleTcTtual Property 2017

ทำเนยี บทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ.2558

อนสุ ทิ ธบิ ัตร 9418เลขที่ กรรมวิธีการผลติ ผงไหม (ไฟโบรอนิ และเซริซิน) เพอื่ ใชในงานดา นส่งิ ทอ การแพทย และเครอ่ื งสำอาง วันทีจ่ ดทะเบียน : 6 มกราคม 2558 ชอ่ื ผปู ระดิษฐ : ผูช วยศาสตราจารย ดร.อภิชาติ สนธสิ มบตั ิ สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ผงเสนใยไหม ไดรับจากกระบวนการละลายเสนใยไหมดิบ เศษเสนใยไหมดิบ หรือรังไหมดิบ ทำใหเปนของเหลวขน ทำใหของเหลวขนมีคา pH เปนกลาง ทำแหงในเครื่องอบแหง เมื่อไดแผนเสนใยไหม นำเขาเครื่องบด Ball Mill โดยตั้ง สภาวะการบดเปนเวลา 30 นาที เมื่อครบเวลา นำผงละเอียดไปถายภาพดวย กลอ งจลุ ทรรศนอ เิ ลก็ ตรอนแบบสอ งกราด (Scanning Electron Microscope, SEM) พบวาผงเสน ใยไหมมีความละเอียด 300-500 ไมโครเมตร สามารถนำไปใชสำหรบั เคลือบวัสดุดานสิ่งทอ ดานการแพทย และผสมในเครื่องสำอาง เพื่อทำใหผิวหนัง ชุมชื้น ดูดความชื้นไดดี ปองกันรังสีอัลตราไวโอเลต (UV Protecting) และลดริ้วรอย บนใบหนาและผวิ หนังได30 RInMteUlleTcTtual Property 2017

9695อนสุ ิทธิบตั ร เลขที่ผลติ ภณั ฑเกลอื สปาท่ีมใี บสะเดาแหงบดเปน วัสดุขดั ผิววนั ทจี่ ดทะเบยี น : 26 มนี าคม 2558ชอ่ื ผูประดิษฐ : รองศาสตราจารย ดร.อญั ชลี สงวนพงษสงั กดั : คณะเทคโนโลยีการเกษตรรายละเอยี ดผลงาน ผลิตภัณฑเกลือสปาที่มีใบสะเดาเปนวัสดุขัดผิว ประกอบดวย เฟสของสวนผสม 2 สวน คือ สวนที่ 1 เรียกวา เฟสของแข็ง ที่ประกอบดวยเกลือทะเล ผสมอยูกับ ใบสะเดาบดแหง เปน ผง และสว นท่ี 2 เรยี กวา เฟสของเหลว ประกอบดว ยสว นผสม 7 ชนิดคอื นำ้ มันเงา ผสมปรุงแตง น้ำมนั มะกอกฝรั่ง นำ้ มนั มะนาว นำ้ มนั เจอราเนียม นำ้ มันลาเวนเดอร นำ้ มนั โรสแมรแี ละนำ้ มันพัทโชลี เฟสทั้งสองของสว นผสม บรรจุ ในภาชนะแยกกนั สามารถนำมาผสมกันไดต ามตอ งการ 31ทำเนียบทรัพยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2560

อนสุ ิทธิบัตร 9721เลขท่ี หมอ น่งึ ลูกประคบสมุนไพรไทยแบบหยบิ จบั งาย วันท่ีจดทะเบยี น : 27 มีนาคม 2558 ชอ่ื ผปู ระดิษฐ : นางสวุ รนิ ทร ปทมวรคุณ, นายจตุรพิธ เกราะแกว , นายไกรมน มณีศลิ ป สังกดั : คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน หมอนึ่งลูกประคบสมุนไพรแบบหยิบจับงาย เปนภาชนะที่มีลักษณะพิเศษคือ ใชนึ่งลูกประคบสมุนไพรไดจำนวนหนึ่งตามชองที่ใสลูกประคบ โดยไมขึ้นตอกัน สำหรับลูกประคบขนาดมาตรฐานที่มีการผลิตทั้งโดยชุมชนเพื่อการจำหนาย หรือการผลิตในครัวเรือนเพื่อใชสวนตัว โดยมีการประดิษฐใหฝาหมอนึ่งมีชอง ใหดามลูกประคบอยูพอดีตรงชองและฝาหมอออกมาได และโผลพนชองได ขึ้นกับความยาวดามลูกประคบ ทำใหลูกประคบเมื่อไดรับความรอนจากไอน้ำ ตรงดามจบั จะไมร อนเทา ตวั ลูกประคบ ทำใหผ ใู ชเ ปดฝาหมอ แปลงจบั ลูกประคบ สมุนไพรไดงา ย32 IRnMteUlleTcTtual Property 2017

9970อนุสิทธิบตั ร เลขท่ี กรรมวิธกี ารผลติ บลอ็ กประสานจากเศษหนิ บะซอลต วนั ทีจ่ ดทะเบยี น : 10 มิถุนายน 2558 ชอื่ ผปู ระดิษฐ : นายประชุม คำพฒุ , วา ทีร่ อ ยเอกกิตติพงษ สวุ โี ร, นายอมเรศ บกสวุ รรณ สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หนว ยจัดการทรพั ยสินทางปญญา และถายทอดเทคโนโลยีรายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการผลิตบล็อกประสานจากเศษหินบะซอลต เปนกระบวนการผลิต วสั ดกุ อ ผนงั ทม่ี สี ว นประกอบของปนู ซเี มนตป อรต แลนดป ระเภท 1 เศษหนิ บะซอลต เนื้อโพรงขาย และน้ำประปา ผสมสวนประกอบใหเขากันกอนอัดขึ้นรูปดวยเครื่อง อัดบล็อกประสาน ไดบล็อกประสานจากเศษหินบะซอลตที่มีลักษณะภายนอก สมบูรณไมแตกหักงาย ความตานทานแรงอัดสูง การดูดกลืนน้ำต่ำ น้ำหนักเบา และเปนฉนวนปองกันความรอนที่ดี สำหรับนำไปใชประโยชนในอุตสาหกรรม การกอสราง และการจัดสวนทั่วไป 33ทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2560

อนสุ ิทธิบัตร 10063เลขที่ บล็อกปูพน้ื ระบายน้ำชนดิ ควบคุมทิศทางการไหล วนั ทจี่ ดทะเบียน : 7 กรกฎาคม 2558 ช่อื ผูป ระดิษฐ : นายประชมุ คำพฒุ , นายกิตตพิ งษ สวุ โี ร สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หจก. สยามอนิ โนเวชน่ั แอสโซซเิ อชน่ั รายละเอียดผลงาน บล็อกปูพื้นระบายน้ำชนิดควบคุมทิศทางการไหล เปนวัสดุ 2 ชั้น คือ ชั้นบน เปนคอนกรีตพรุนจากปูนซีเมนต ทราย หิน และน้ำ โดยใหมีปริมาณของหินมาก เพื่อใหเกิดชองวางของเนื้อวัสดุเมื่อแข็งตัว สำหรับใหน้ำระบายลงไปได ชั้นลาง เปนคอนกรีตกำลังสูงจากปูนซีเมนต ทราย หิน และน้ำ โดยใหมีปริมาณของ ปนู ซเี มนตแ ละทรายมากกวา ชน้ั บน เพ่อื ใหท ึบน้ำและแข็งแรง โดยขึน้ รปู ใหช น้ั ลา ง ลาดเอยี งใหน้ำไหลไปในทิศทางทีต่ อ งการ34 RInMteUlleTcTtual Property 2017

10199อนสุ ิทธิบตั ร เลขท่ี เคกขา วธัญพชืวันท่ีจดทะเบยี น : 7 สงิ หาคม 2558ชอ่ื ผปู ระดษิ ฐ : นางสาวเดือนเตม็ ทมิ ายงค, วา ทรี่ อยเอกกติ ติพงษ สุวีโรสังกดั : กรมพลาธกิ ารทหารอากาศ, หนวยจดั การทรัพยส นิ ทางปญ ญา และถา ยทอดเทคโนโลยีรายละเอียดผลงาน เคกขาวธัญพืช ประกอบดวย เเปงสาลี ขาวหุงสุก น้ำตาลทราย หัวกะทิ น้ำ ไขไก ยีสต และธัญพืชตมสุก เนื้อขนมมีลักษณะนุมฟู และมีกากใย รสชาติ กลิ่น สี และเนอ้ื สมั ผสั จากธญั พชื 35ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2560

อนุสิทธบิ ตั ร 10634เลขที่ การใชน้ำยางธรรมชาติในงานเขยี นผา บาติก วันที่จดทะเบยี น : 26 ตุลาคม 2558 ชอื่ ผปู ระดษิ ฐ : ผชู ว ยศาสตราจารยสาคร ชลสาคร สงั กดั : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน การใชน้ำยางธรรมชาติในงานเขียนผาบาติก เปนการนำน้ำยางธรรมชาติมาผสม เขากับแบะแซ และกาวลาเทกซ ใหเขากัน กอนนำไปใสในภาชนะทรงกรวยที่ สวนแหลมมีชองเปด-ปด แลวจึงนำไปเขียนเปนลวดลายบนผาเพื่อกั้นสำหรับ ทำผาบาติก กอนลางออกไดดวยน้ำ ซึ่งการใชน้ำยางธรรมชาตินี้ สามารถชวยให การเขียนลวดลายผาบาติก มีขั้นตอนที่งายและสะดวกมากกวาการเขียนลวดลาย บาตกิ ดว ยนำ้ เทียนทั่วไป รวมทั้งกระบวนการเขยี นไมตองใชค วามรอน จึงประหยัด พลงั งานและชวยลดภาวะโลกรอนได36 RInMteUlleTcTtual Property 2017


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook