Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมผลงานวิจัยเชิงพาณิชย์ Update 13 พย 60

รวมผลงานวิจัยเชิงพาณิชย์ Update 13 พย 60

Published by IRD RMUTT, 2017-11-19 23:16:07

Description: รวมผลงานวิจัยเชิงพาณิชย์ Update 13 พย 60

Search

Read the Text Version

จดเดน ของผลงาน อุปกรณผลิตน้ำบริโภคแบบพกพา มีขนาดเล็ก สะดวกตอการพกพา ไมตอ งใชไฟฟา และสามารถผลิตน้ำสำหรบั บริโภคได 1.0 ลิตรตอครั้ง ซึ่งสามารถตอบสนองการใชงานในสภาวะการเกิดอุทกภัยหรือภาวะขาดแคลนน้ำสะอาดสำหรับบริโภคการนำไปใชประโยชนเชงพาณิชย อุปกรณผลิตน้ำบริโภคแบบพกพาเปนอุปกรณที่นำไปพัฒนาตอยอด รวมทั้งสามารถผลติ และใชป ระโยชนเชิงพาณิชยได เนอื่ งจากมีการใชอปุ กรณสวนประกอบตา งๆจำนวนนอยชิ้นและขั้นตอนการทำงานไมยุงยากซับซอน หากมีการผลิตโดยใชวัสดุอื่นๆที่มีราคาตนทุนต่ำลงและผลิตในจำนวนมาก สามารถใชประโยชนเชิงพาณิชยไดทรพั ยส นิ ทางปญ ญา คำขอรบั สทิ ธิบัตร/ อนุสิทธิบัตร เลขท่ี 1702000171 และ 1703000078ดร.ธรรมศกั ด์ิ โรจนวิรฬุ ห 49คณะวศิ วกรรมศาสตรมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ีโทรศพั ท 0 2549 3410 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected]

19 ผลงานวจยั และนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม สิง่ ประดษิ ฐ ผนงั ประกอบเสรจ็ เพอ่ื เปน ฉนวนความรอ น และปองกันเสยี งคณุ ภาพสูง Build-in wall for insulation and high quality soundproof. นายประชุม คำพุฒ และคณะ บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคัญ ผนังสำเร็จรูปในปจจุบันสวนใหญทำการเทหลอจากโรงงานซึ่งมีน้ำหนักมาก ตองใช เครื่องจักรราคาสูงและแรงงานคนจำนวนมากในการติดตั้ง และเมื่อติดตั้งแลวตองทำ การทาสีเพื่อความสวยงาม แมวาในปจจุบันจะมีผนังสำเร็จรูปมวลเบาแบบฟองอากาศ- อบไอน้ำ ที่แข็งแรงและน้ำหนักเบาออกจำหนายแลวก็ตาม แตกระบวนการผลิตก็ยังมี ตนทุนที่สูง และยังตองทำการทาสีผิวหนาเชนเดิม การผลิตผนังสำเร็จรูปที่มีตนทุนต่ำ โดยใชเทคนิคผนังสำเร็จรูปน้ำหนักเบาที่เปนลักษณะการตกแตงภายในแบบสำเร็จรูป จากโรงงาน มีคุณสมบัติเดนดานการเปนฉนวนความรอนและปองกันเสียงในตัว อีกทั้ง ไมตอ งทาสีตกแตง ผิวหนา จะเปน การตอบโจทยอาคารสำเร็จรปู ในปจจุบนั ผลจากงานวจิ ยั สามารถถายทอดเทคโนโลยีใหกับภาคเอกชน นำไปใชผลิตและจำหนายเปนผลิตภัณฑ ผนังสำเร็จรูปสำหรับใชงานภายนอกและภายในอาคารไดเปนอยางดี50 มหาวทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน ผนังประกอบเสร็จเพื่อเปนฉนวนความรอนและปองกันเสียงคุณภาพสูง มีลักษณะเปนผนังสำเร็จรูปที่ภายในผนังเปนฉนวนความรอน 3 ชั้น โดยชั้นที่ 1 เปนชองอากาศชั้นที่ 2 เปนโฟม และชั้นที่ 3 เปนชองอากาศการนำไปใชประโยชนเ ชงพาณชิ ย นำไปใชในงานกอ สรางจริงเน่อื งจากเปนฉนวนความรอนและฉนวนปอ งกันเสยี งทด่ี กี วาการติดตง้ั ฉนวนความรอ นทวั่ ไป สำหรับ บา นพกั อาศัย หา งสรรพสนิ คา คอนโดมเิ นยี มทต่ี อ งการความรวดเร็วทรัพยสนิ ทางปญญา คำขอรับอนสุ ิทธบิ ัตร เลขท่ี 1603002059นายประชุม คำพุฒ, นายกิตตพิ งษ สวุ ีโร, นายธวชั ชยั อริยะสทุ ธิ 51และนางสาวชลธิชา เดชทองคำคณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ีโทรศพั ท 0 2549 4032 โทรสาร 0 2549 4033E-mail : [email protected]

20 ผลงานวจยั และนวตั กรรมเชงพาณชิ ย 2560 ช่อผลงาน นวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ เคร่องทดสอบเสนใยเดีย่ ว สำหรบั ทดสอบความรสู ึกทเ่ี ทา ของผปู วยโรคเบาหวาน ดร.ณรงคชัย โอเจรญิ และ ดร.นที ศรีสวัสดิ์ Fig. 1 Monofilament Force Test Machine บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคญั ผูปวยโรคเบาหวานมักพบกับปญหาเรื่องการสูญเสียความรูสึกที่เทา จึงจำเปนตอง ไดรับการทดสอบภาวะในการรับรูความรูสึกตามมาตรฐานทางการแพทย ในการพัฒนา เสนใยเดี่ยวเพื่อการทดสอบดังกลาว จำเปนที่จะตองมีเครื่องมือเพื่อใชในการทดสอบ เสนใยเดี่ยวที่พัฒนาขึ้น เพื่อใหตรงกับความตองการและมาตรฐานทางการแพทย ในงานวจิ ยั น้ีจงึ มวี ัตถปุ ระสงคเพื่อสรา งเครื่องมอื ทดสอบเสน ใยเดีย่ วอยา งงายในประเทศไทย เพือ่ ใชใ นการผลิตและวิจัยเก่ียวกบั เสนใยเดีย่ วในประเทศไทย52 มหาวทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

Fig. 2 Monofilament from single screw extruder Fig. 3 Monofilament Force Test Machineจดเดนของผลงาน เครอ่ื งมือทดสอบทจ่ี ัดสรา งข้นึ มรี าคาถูก สามารถหาอุปกรณทกุ ช้ินไดในประเทศไทยทำใหงายตอการใชงานและบำรุงรักษา ดานซอฟตแวรควบคุมการทำงานก็ถูกพัฒนาขึ้นมาใชงานเอง ทำใหไมมีปญหาทางลิขสิทธิ์ใด ๆการนำไปใชป ระโยชนเ ชงพาณชิ ย เครื่องมือทดสอบเสนใยเดี่ยวนี้ จัดสรางและพัฒนาขึ้นเองในประเทศ ใชงานและบำรุงรักษาไดงาย นอกจากนี้ยังสามารถนำไปประยุกตใชในการทดสอบเสนใยอื่นๆที่ตองการทดสอบดานความเปนอีลาสติก (Elastic) ของวัสดุ ดังนั้นหากมีผูสนใจพรอมนำไปผลติ ในเชงิ พาณชิ ยไดทันทีทรัพยสนิ ทางปญ ญา อยรู ะหวางการดำเนนิ การดร.ณรงคชัย โอเจรญิ และ ดร.นที ศรสี วัสด์ิ 53คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีโทรศัพท 0 2549 3480 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected]

21 ผลงานวจัยและนวัตกรรมเชงพาณชิ ย 2560 ชอ่ ผลงาน นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ แมพิมพข ้นรปู ดว ยความรอ นจากผงแกว ทบ่ี ดจากแกว รไซเคิลเสรมแรง ในอีพอกซเรซ่น ดร.อนินท มมี นต, ผูชวยศาสตราจารย ศุภเอก ประมูลมาก, ดร.มนทพิ ย ลอสรุ ยิ นต บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคัญ การเลือกใชวัสดุเศษแกวที่เหลือใช หางาย ที่ไดจากขวดแกวที่ผานการใชงานมาแลว โดยมีลักษณะเปนขวดแกวใส ที่มีลักษณะบิ่น แตกราว แลวนำไปผานกระบวนการบด ใหเปนผง และนำมาผสมกับอีพอกซี่เรซินดวยอัตราสวนที่เหมาะสม จากนั้นนำไปทำการ หลอโดยใชแมพิมพมาสเตอรโมเดล จากนั้นหลอสวนผสมทั้งหมดในเบาแมพิมพ และนำ เบาแมพิมพที่ไดไปทำการตัดเฉือนหรือเจาะรูดูดอากาศ เพื่อนำไปใชสำหรับผลิตเปน แมพิมพงานขึ้นรูปดวยความรอน สามารถนำไปใชขึ้นรูปบรรจุภัุณฑที่มีการเปลี่ยนแปลง รูปรางบอยครั้ง ชวยทำใหลดตนทุนในการทำแมพิมพ โดยพบวาชิ้นงานที่ขึ้นรูปดวย แมพิมพผงแกวจากขวดแกวรีไซเคิลเสริมแรงในอีพอกซี่เรซิ่น มีอัตราการขยายตัวอยูใน ชวงประมาณ 0.05-0.35%54 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน แมพ มิ พโ ดยใชอ พี อกซเี รซนิ เตมิ ผงแกว ขน้ึ มา ซง่ึ จะสามารถลดตน ทนุ ของวสั ดใุ หต ำ่ ลงโดยการนำเศษแกวที่ไดจากการรีไซเคิลมาผสมดวยอัตราสวนที่เหมาะสม ทำใหไดทำแมพิมพที่สามารถจะใชงานไดจริง ซึ่งการนำผงแกวนี้มาเปนสวนผสมสามารถเพิ่มคุณสมบัติตางๆ ที่เหมาะสมตอการสรางแมพิมพซึ่งจะลดการนำเหล็กและอลูมิเนียมมาเปนวัสดุ และยังสามารถใชกับบรรจุภัณฑที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางบอยครั้ง ทำใหลดตนทุนในการทำแมพิมพการนำไปใชประโยชนเชงพาณชิ ย ในปจจุบันแมพิมพเทอรโมฟอรมมิ่งสามารถสรางโดยการหลอดวยอีพอกซีเรซิ่นไดเมอ่ื มวี สั ดผุ งแกว เขา ไปเสรมิ แรงในอพี อกซเี รซน่ิ จะชว ยเพม่ิ สมบตั ติ า งๆ ใหด ขี น้ึ ไปจากเดมิอีกทั้งยังสามารถนำมาผานกระบวนการตัดเฉือนเพื่อตกแตงผิวสำเร็จ หรือทำการเจาะรูไดโ ดยงา ย และสามารถใชง านไดน านขน้ึ ทำใหช ว ยลดตน ทนุ ดา นการผลติ แมพ มิ พส ำหรบังานขน้ึ รูปดวยกระบวนการทางความรอนเพื่อสรางบรรจภุ ัณฑท ต่ี องปรบั เปลีย่ นรปู ลักษณตามสมยั นิยม หรือความตองการของลูกคาทรพั ยส ินทางปญญา อยูระหวา งการดำเนินการดร.อนินท มมี นต, ผชู ว ยศาสตราจารย ศภุ เอก ประมลู มาก, ดร.มนทิพย ลอสรุ ิยนตคณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 3440 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected] 55



กลุม งานวจยัเพื่อสรา งธรุ กิจวสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

22 ผลงานวจยั และนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ ผลิตภณั ฑเจล สเปรยเ ซร่ัมสำหรับบำรงุ เสน ผม ผูชวยศาสตราจารย ดร.กรวนิ ทว ิชญ บุญพิสทุ ธนิ ันท บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคัญ ผลติ ภณั ฑ เจลสเปรยเ ซรม่ั นไ้ี ดน ำสว นผสมของสารสกดั จากบวั ผนั มาเปน สว นประกอบ สำคัญ ซึ่งจากงานวิจัยพบวา สารสกัดบัวผันมีสารกลุมฟนอลิกและฟลาโวนอยดเปน องคประกอบ ซึ่งสารสกัดบัวผันมีฤทธิ์ตานออกซิเดชั่น นอกจากนี้ยังพบวาสารสกัดไมมี ความเปนพิษตอเซลลเสนผม (Follicle Dermal Papilla) และสามารถกระตุนการเจริญ เติบโตของเซลลเสนผมได สุดทายไดมีการพัฒนาเปนผลิตภัณฑเซรั่มบำรุงเสนผม ในรูปแบบเจลสเปรย ที่มีสารสกัดจากบัวผันที่อุดมไปดวยสารฟลาโวนอยด อีกทั้งยังมี สว นผสมของวติ ามินบี 5 ซึง่ ชวยลดการขาดหลุดรว งและชวยกระตนุ การเจรญิ ของเสน ผม ชว ยลดการแหง ฟขู องเสนผม ทำใหเสน ผมมสี ุขภาพดียง่ิ ขึ้น58 มหาวทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน 1. ผลิตภัณฑนี้มีสารสกัดจากบัวผันที่มีฤทธิ์ในการตานอนุมูลอิสระ มีฤทธิ์ตานเชื้อแบคทเี รีย สามารถกระตุน การงอกของเซลลรากผมได และยงั มคี วามปลอดภยั ตอ การนำไปใชบรเิ วณเสน ผมและหนงั ศีรษะ 2. ผลิตภัณฑอยูในรูปแบบใหม ไมเคยมีในทองตลาด โดยมีลักษณะเปนเนื้อเจลใสแตส ามารถสเปรยอ อกเปน ละอองนำ้ ได ซมึ เขา สเู สน ผมไดอ ยา งดี ไมท ำใหเ หนยี วเหนอะหนะและมีกล่ินหอมออนของสารสกดั จากธรรมชาติการนำไปใชป ระโยชนเ ชงพาณิชย เจลสเปรยเซรั่มสำหรับบำรุงเสนผมที่มีสวนผสมของสารสกัดจากบัวผัน สามารถถา ยทอดเทคโนโลยที ไ่ี ดแ ละสง เสรมิ การปลกู บวั เพอ่ื เปน รายไดเ สรมิ รองจากพชื เศรษฐกจิซึ่งสามารถนำไปตอยอดในเชิงพาณิชยไ ดทรัพยส ินทางปญญา อยูระหวางการดำเนินการผูชว ยศาสตราจารย ดร.กรวนิ ทว ชิ ญ บุญพิสุทธนิ ันท 59วทิ ยาลยั การแพทยแ ผนไทยมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ีโทรศัพท 0 2592 1999 โทรสาร 0 2592 1900E-mail : [email protected]

23 ผลงานวจยั และนวัตกรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม สิ่งประดษิ ฐ พรง้ แรมบู มาสก ผูชว ยศาสตราจารย ดร.กรวินทว ิชญ บุญพิสุทธนิ นั ท บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคัญ เงาะพนั ธสุ ชี มพนู เ้ี ปน พนั ธพุ น้ื เมอื งทม่ี ถี น่ิ กำเนดิ ท่ี อำเภอขลงุ จงั หวดั จนั ทบรุ ี ใหผ ลดก มผี ิวและขนเปนสชี มพสู ด เน้อื หนา แตฉำ่ น้ำ ทำใหบอบช้ำงา ยและไมท นทานตอ การขนสง จึงไมเปนที่นิยมปลูกเพื่อเชิงพาณิชย จึงทำใหเงาะพันธุสีชมพูเปนผลไมที่คอนขางหายาก และมีแนวโนมทจ่ี ะสูญพันธใุ นอนาคต จากภูมปิ ญ ญาชาวบานยังมฤี ทธิท์ างเภสชั วิทยา เชน แกอาการทอ งรวงชนดิ รุนแรง แกอ กั เสบ ฆาเช้อื แบคทเี รีย ขับพยาธิ และ รกั ษาอาการอกั เสบ ในชอ งปาก ซง่ึ จากงานวจิ ยั พบวา มฤี ทธใ์ิ นการตา นอนมุ ลู อสิ ระไดด กี วา วติ ามนิ ซี นอกจากน้ี ทดสอบการยับยั้งการสรา งเมลานินหรือเม็ดสผี ิวสว นเกนิ น้ี พบวา สามารถยับยง้ั การสราง เมลานินไดถ งึ 97 % สดุ ทายไดม กี ารพัฒนาเปน ผลิตภัณฑ ชว ยขจดั เซลลผิวท่เี สื่อมสภาพ พรอ มบำรงุ อยางล้ำลึก คณุ คาของสารสกัดจะชวยบำรุงผิวหนา ใหข าวใส ชว ยใหผ ิวหนาดู กระจา งใสอยา งเปนธรรมชาติ60 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน 1. สารตานอนุมูลอิสระ จากงานวิจัยพบวา สารสกัดเงาะสีชมพู มีฤทธิ์ในการตานอนุมูลอิสระไดดีกวาวิตามินซี และทดสอบการยับยั้งการสรางเมลานินหรือเม็ดสีผิวสวนเกินนี้ พบวา สารสกัดเงาะสีชมพู สามารถยับยั้งการสรางเมลานินไดถึง 97 % 2. มีการใชเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งผลิตภัณฑมาสกหนานี้ จะเปนเหมือนเนื้อครีม โดยการนำสารกอฟลมมาผสมกับเนื้อเจลสารสกัดจะไมทำใหเกิดการระคายเคืองตอผิว และยังชวยใหผิวชุมชื่นไดดีอีกดวยการนำไปใชป ระโยชนเ ชงพาณชิ ย พริ้ง แรมบู มาสกเปนผลิภัณฑที่มีสวนผสมของเงาะเปนการพัฒนาผลิตภัณฑในรปู แบบใหม และสรา งรายไดใ หแ กเ กษตรกรและวสิ าหกจิ ขนาดยอ มและกลาง ซง่ึ สามารถนำไปตอยอดในเชิงพาณิชยไดทรพั ยสนิ ทางปญญา คำขอรบั อนุสทิ ธิบัตรเลขท่ี 1603002524ผูชว ยศาสตราจารย ดร.กรวนิ ทวชิ ญ บญุ พสิ ุทธนิ นั ท 61วทิ ยาลัยการแพทยแผนไทยมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ีโทรศัพท 0 2592 1999 โทรสาร 0 2592 1900E-mail : [email protected]

24 ผลงานวจัยและนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ นวตั กรรมการออกแบบ และพฒั นาผลติ ภัณฑแฟช่ันไลฟสไตล จากลวดลายผา ทอพ้นื ถนิ่ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ใจภกั ด์ิ บุรพเจตนา บทสรปุ ดานนวัตกรรม และความสำคญั ผลงานการวิจัย ที่นำคุณคาความงามจากลวดลายผาทอตีนจกของบานหาดเสี้ยว จังหวัดสุโขทัย มาสรางสรรคประยุกตใชในการออกแบบผลิตภัณฑสิ่งทอประเภทสินคา ไลฟสไตล ไดแก ผลติ ภัณฑเคหะส่งิ ทอ ของที่ระลกึ และแฟชั่นเคร่ืองแตง กาย โดยพัฒนา ใหม รี ปู แบบทร่ี ว มสมยั กรรมวธิ กี ารผลติ ลวดลาย ใชน วตั กรรมการพมิ พล วดลายดว ยระบบ ดิจิตอลแทนวิธีการทอที่สามารถลดเวลาและตนทุนในการผลิตลง รวมกับการปกตกแตง ลวดลายดวยวัสดุตางๆ เปนการผสมผสานการผลิตดวยกรรมวิธีสมัยใหมกับงานฝมือ เขาดวยกัน ออกแบบเปนคอลเลคชั่นผลิตภัณฑสิ่งทอรวม 5 ประเภท เพื่อเปนการพัฒนา งานดานผลิตภัณฑสิ่งทอที่มีรูปแบบเชิงวัฒนธรรม เหมาะสมกับความนิยมในปจจุบัน เปนการนำทุนทางวัฒนธรรมมาตอยอดแนวคิดใหม รวมทั้งสงเสริมสินคาตามแนวทาง เศรษฐกิจสรางสรรค และการนำผลิตจริงเพื่อไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยไดตอไป62 มหาวทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน การนำลวดลายศลิ ปะผา ทอพน้ื บา นทเ่ี ปน มรดกทางวฒั นธรรม มาประยกุ ตใ ชใ หส อดคลอ งกับวิถีชีวิต ในปจจุบัน ขั้นวางแผน ใชนวัตกรรมการออกแบบลวดลายดวยโปรแกรมคอมพวิ ตอร เปน ผลงานตน แบบในมมุ มองทเ่ี สมอื นจรงิ ดา นรปู แบบ สี ลวดลาย พน้ื ผวิ ผาเพื่อทดสอบตลาดและความตองการผูบริโภค ขั้นการผลิตใชนวัตกรรมการพิมพลวดลายดวยระบบดิจิตอลกับการตกแตงแบบงานหัตถกรรม ไดผลงานตนแบบผลิตภัณฑที่มีความงามจากอัตลักษณไทย มีความโดดเดนตางจากผลิตภัณฑสินคาไลฟสไตลทั่วไปผลงานนี้ไดรับรางวัลระดับนานาชาติ สาขา Design ในงาน Korea InternationalWomen’s Invention Exposition 2012 ไดรับรางวัลเหรียญทอง (KIWIE 2012Gold Medal) และรางวัลเหรยี ญทอง (WIPO Gold Medal) จาก World IntellectualProperty Organizationการนำไปใชประโยชนเ ชงพาณชิ ย ผลงานที่ไดจากงานวิจัย คือรูปแบบลวดลายผาที่ไดรับการจดสิทธิบัตรแลว รวมถึงงานตนแบบ และกรรมวิธีการผลิต บริษัทสยามแมสเสส แอนดเทรด จำกัด เปนบริษัทที่ผลิตเสื้อผาแฟชั่นสำเร็จรูป ไดนำผลงานไปตอยอดเชิงพาณิชยในการผลิตและจัดจำหนายโดยอยูในระหวา งการดำเนินการเสนอ โครงการสนบั สนุนเรงการเติบโตของธรุ กจิ นวตั กรรมรายใหมใ นอตุ สาหกรรมเปาหมาย Research Gap Fundทรัพยส ินทางปญ ญา สทิ ธบิ ตั ร เลขท่ี 49609, 49610, 49611, 49612, 49613, 49614, 49615, 49616,49617ผชู วยศาสตราจารย ดร.ใจภกั ด์ิ บุรพเจตนา 63คณะศิลปกรรมศาสตรมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ีโทรศพั ท 0 2549 3278 โทรสาร 0 2577 5022E-mail [email protected]

25 ผลงานวจัยและนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ กาวรองพ้ืนผา ใบดนิ สอพองผสม กาวเมลด็ มะขามสำหรบั การสรางสรรค ผลงานศิลปะดว ยเทคนคิ สีฝุน และ กรรมวธการผลิต ผชู ว ยศาสตราจารย รตั นฤทธ์ิ จนั ทรรังสี บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคญั การศึกษาและพัฒนาสูตรกาวจากสมุนไพรธรรมชาติที่มีอัตราสวนของเมล็ดมะขาม น้ำ ดินสอพอง และกาวกระถิน แตกตางจากสูตรดั้งเดิมที่มีใชกันมาตั้งแตสมัยโบราณ สูตรกาวรองพื้นสมุนไพรธรรมชาติ มีความเหมาะสมในรองพื้นเฟรมผาใบสำหรับการ สรางสรรคง านศิลปะเขยี นภาพดวยเทคนคิ สีฝุน ผเู ชยี่ วชาญทางดานศิลปะจำนวน 18 คน ใชเฟรมผาใบรองพื้นกาวสมุนไพรธรรมชาติเขียนภาพดวยสีฝุน พบวาการดูดซึมของสี ความทึบแสงของสี ความกึ่งทึบแสงของสี ความโปรงใสของสี การยึดติดของสีฝุน อยูใน ระดับคุณภาพดีถึงดีมาก มีความพึงพอใจระดับมากในการใชเฟรมผาใบรองพื้นดวยกาว สมุนไพรธรรมชาติเขียนภาพดวยสีฝุน64 มหาวทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน เฟรมพื้นผาใบทารองพื้นดวยดินสอพอง ผสมกาวเมล็ดมะขาม สำหรับการสรางสรรค ผลงานศลิ ปะดวยเทคนคิ สีฝุน ผลิตจากวัตถุดบิ ธรรมชาติ และผลิตผลพลอยไดจากวัตถุดิบ ธรรมชาติ หาไดงายตามทองถิ่นทั่วไป ราคา ไมแพง ยังเปนการเพิ่มมูลคาใหกับวัตถุดิบ ธรรมชาติ และการนำเฟรมรองพน้ื กาวสมุนไพร ธรรมชาตินำไปเขียนภาพ ไมมีผลกระทบตอ สขุ ภาพของจติ รกรและสภาพสง่ิ แวดลอม เฟรม รองพื้นดวยกาวสมุนไพรธรรมชาติมีคุณสมบัติ ทีด่ ีในการดูดซึมของสี ความทบึ แสงของสี ความ กง่ึ ทบึ แสงของสี ความโปรง ใสของสี การยึดติด ของสี และคณุ ภาพโดยรวมของการระบายสีการนำไปใชประโยชนเชงพาณชิ ย กาวรองพื้นผาใบดินสอพองผสมกาวเมล็ดมะขามนำไปทารองพื้นบนเฟรมผาใบสำหรบั การสรา งสรรคผลงานศลิ ปะดวยเทคนคิ สฝี ุน ขนาด 40 × 50 เซนติเมตร สำหรับบุคคลทั่วไป และนำไปทารองพื้นบนเฟรมผาใบตามความตองการเฉพาะทางของศิลปนอาชีพทรัพยส ินทางปญญา อนสุ ทิ ธิบัตร เลขที่ 8218ผูช วยศาสตราจารย รัตนฤทธิ์ จนั ทรรงั สี 65คณะศิลปกรรมศาสตรมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ีโทรศัพท 0 2549 4674 โทรสาร 0 2577 5022E-mail : [email protected]

26 ผลงานวจยั และนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐ นวตั กรรมผลิตเครอ่ งสำอาง จากเซลลต นกำเนิดจากบวั หลวง ดร.ไฉน นอ ยแสง บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคัญ บวั หลวงเปน พชื สมนุ ไพรถูกนำมาใชเปน เครอ่ื งยารกั ษาโรค และอาหารของชาวเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใตม านานหลายศตวรรษ ดอกบวั เปน สญั ลกั ษณข องความบรสิ ทุ ธใ์ิ นศาสนา พุทธ และฮินดู สวนตางๆของบัวหลวงนำมาสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และใชเปน สวนผสมในประกอบทั้งหมดของในเครื่องสำอาง แตการผลิตสารสกัดบัวหลวงยังมีขอจำกัด เนอ่ื งจากบวั หลวงเปน พชื ทม่ี กี ารเกบ็ เกย่ี วตามฤดกู าล และกระบวนการเพาะปลกู มโี อกาส ปนเปอนสารพิษ ดังนั้นเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเซลลพืชเปนอีกวิธีหนึ่งในการพัฒนา นวัตกรรมเครื่องสำอางบัวหลวง66 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน สารออกฤทธิ์ชีวภาพคือกรดแกลลิค และสารฟลาวานอยด จากสารสกัดจากเซลลตนกำเนิดจากบัวหลวงมีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอ็นไซมอิลาสเตส (มีคุณสมบัติลดเลือนริ้วรอย) ไทโรซิเนสและ โดปาออกซิเดส (มีคุณสมบัติเพิ่มความขาว) สารสกัดจากตนกำเนิดบัวหลวง ไมกอใหเกิดการระคายเคืองผิวหนังอยางมีนัยสำคัญ เครื่องสำอางสารสกัดเซลลต นกำเนดิ จากบวั หลวงมคี วามคงตัวเปนเวลา 2 ปภายใตส ภาวะอณุ หภูมติ างๆการนำไปใชป ระโยชนเชงพาณชิ ย ผลงานประดิษฐคิดคนทาง บริษัทดรีมเมอร โซลูชั่น เปนผูผลิต และจัดจำหนายซึ่งมีตัวแทนจำหนายทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ ภายใตเครื่องหมายการคาดรีมเมอร (DREAMER)ทรพั ยสนิ ทางปญญา อยรู ะหวา งการดำเนนิ การดร.ไฉน นอยแสง1 และคณุ หทัย ตันบญุ เตมิ 2 67วิทยาลัยการแพทยแผนไทยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี2บริษัท ดรีมเมอร โซลูชั่น จำกัดโทรศัพท 02 592 1904 โทรสาร 0 2592 1900E-mail: [email protected]

27 ผลงานวจยั และนวัตกรรมเชงพาณิชย 2560 ช่อผลงาน นวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ โคมไฟกระดาษธรรมชาติจากเย่ือไมไผ ผสมเสน ใยพลาสติกจากพีแอลเอ The natural paper lantern from bamboo fiber mixed Polylatic-acid fiber ดร.อนินท มมี นต บทสรุปดา นนวตั กรรม และความสำคญั ไมไผ เปนพืชอเนกประสงคที่มีความสัมพันธกับชีวิตและความเปนอยูของคนไทย มาชานาน ทุกสวนของไมไผสามารถนำมาใชในชีวิตประจำวัน เพื่อสนองความตองการ ขั้นพื้นฐานหรือปจจัยสี่ที่มนุษยตองการ และจากการใชงานไมไผหลากหลายวิธีการมักจะ มีเศษเหลือใชจากการใชงานหรือผลิตสิ้นคาดวยเสมอ ดวยเหตุนี้ทีมงานวิจัยจึงไดมีแนวคิด นำเศษไมไผเหลือใชมาผลิตเปนกระดาษเพื่อใชสรางโคมไฟกระดาษที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และใชสรรสรางเปนโคมไฟประดับยามค่ำคืนในชวงงานเทศกาลหรือโอกาสพิเศษของ แตล ะชมุ ชน โดยใชเ ทคนคิ การผลติ กระดาษทำมอื ทเ่ี ปน ภมู ปิ ญ ญาชาวบา น และมกี ารผลติ เปนสนิ คา ชุมชนอยแู ลว ในลกั ษณะของกระดาษสา68 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน โดยปกติแลวเสน ใยจากเย่ือไผจ ะเปน ลกั ษณะของเสนใยยาว เมอ่ื นำไปแชด วยโซดาไฟ(โซเดยี มไฮดรอกไซด) จะทำใหเ สน ใยถูกปรับสภาพใหออนนุม เมอื่ นำไปผานกระบวนการตีเยื่อและกระจายเยื่อจะทำใหเสนใยขาดเปนเสนใยขนาดสั้นลงไปอีก เมื่อนำมาขึ้นรูปเปนกระดาษจากเยื่อไมไผ จะพบวากระดาษมีความแข็งแรงต่ำ ดังนั้นทีมงานวิจัยจึงไดพัฒนาสมบัติของกระดาษใหมีความแข็งแรงสูงขึ้น โดยการนำเสนใยพลาสติกพีแอลเองซึ่งเปนชนิดของพลาสติกยอยสลายได มาผสมกับเยื่อไมไผ เพื่อทำหนาที่เปนตัวประสานใหเยื่อไมไผมีการเกาะยึดกันที่ดีขึ้น สงผลใหกระดาษมีความแข็งแรงเพิ่มสูงขึ้นและยังคงความเปนผลิตภัณฑสีเขียว เมื่อกระดาษทำมือจากธรรมชาติไดถูกปรับปรุงกระบวนการผลิตใหมีความแข็งแรงที่สูงขึ้น และมีลักษณะทางกายภาพที่ดีขึ้นดวยการเพิ่มเทคนิคสุญญากาศเขาไปชวยหลังจากที่ผานขั้นตอนของการชอนเยื่อดวยตะแกรง จะชวยใหเสนใยมลี กั ษณะการแพค็ ตวั ทด่ี ขี น้ึ และสดุ ทา ยกระบวนการอดั ขน้ึ รปู รอ นจะชว ยปรบั ใหก ระดาษมีความราบเรียบมากยิ่งขึ้นและผลจากความรอนจะทำใหเสนใยพีแอลเอ เกิดการละลายทำหนาที่เปนตัวยึดประสานระหวางเสนใย สงผลใหกระดาษจากเยื่อไผผสมพลาสติกพีแอลเอมีความแข็งการนำไปใชประโยชนเ ชงพาณิชย กระดาษจากเยื่อไผผสมพลาสติกพีแอลเอ สามารถนำไปใชสรางสรรเปนผลิตภัณฑที่หลากหลายไดมากขึน้ สามารถสรา งสรรบรรจภุ ณั ฑจ ากกระดาษเยื่อไมไผท่ีเปน มิตรกับสิ่งแวดลอม และสรา งเปน โคมไฟประดบั ยามค่ำคืนในชวงงานเทศกาล หรอื ตกแตง สถานท่ีในโอกาสพิเศษ ซึ่งเปนลักษณะของกระดาษที่ผลิตดวยเทคนิคจากภูมิปญญาชาวบานเปน การสรา งองคค วามรจู ากการตอ ยอดภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ และของประเทศดว ยใชห ลกั การทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรม สรางโอกาสใหเกิดการพัฒนานวัตกรรมจากภูมิปญญาและใชทรัพยากรเหลือใชจากการประกอบอาชีพ หรือวัตถดุ บิ ทีม่ ีอยใู นทอ งถ่นิ ผลิตเปน สินคาหรือผลิตภัณฑออกสูเชิงพาณิชย รวมทั้งสงเสริมใหเกิดการสรางงานและเกิดการสรางรายไดใหก บั กลมุ เกษตรกรในระดับชุมชน หรอื กลุมธุรกจิ ขนาดเล็กอีกชอ งทางหน่ึงในอนาคตทรพั ยสนิ ทางปญญา อยรู ะหวา งการดำเนนิ การดร.อนินท มีมนต 69คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 3440 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected]

28 ผลงานวจัยและนวตั กรรมเชงพาณชิ ย 2560 ชอ่ ผลงาน นวัตกรรม ส่ิงประดษิ ฐ แผน ฟล มยดึ ตดิ เยือ่ บเุ มอื กจากสารสกดั ใบพญายอเพื่อรักษาแผลในชองปาก เภสัชกรหญงิ เอมอร ชยั ประทีป บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคัญ ปจจุบันผูปวยโรคมะเร็งมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งรอยละ 80 ของผปู ว ยมะเร็งท่ีไดรบั การรักษาดว ยการฉายแสงและ/หรือเคมบี ำบัดจะเกดิ ผลขา งเคยี ง คอื แผลในปาก พญายอเปนสมุนไพรทใ่ี ชต ามภูมิปญ ญาไทยมายาวนานในสรรพคุณรักษา แผลในปาก ซึ่งตามบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ.2559 ระบุวาพญายอเปนสมุนไพรเพียง ชนดิ เดียวทใ่ี ชใ นการรักษาแผลรอนใน แผลในปากจากการฉายแสงและเคมีบำบัด โดยทา กลีเซอรีนพญายอบริเวณที่มีอาการบอยๆ ถึงวันละ 5 ครั้ง ซึ่งอาจไมสะดวก ในการใช แผนฟลมพญายอยึดติดเยื่อบุเมือกจึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผูที่มีปญหาแผลใน ชองปาก70 มหาวทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน 1. แผนฟล มพญายอยึดตดิ เยือ่ บุเมือกเพอื่ รกั ษาแผลในปากมสี ารลูพีออล (Lupeol)ซงึ่ เปน สารสำคัญที่ปลดปลอ ยออกมาและออกฤทธ์ิไดต รงจดุ ยังบรเิ วณทีม่ อี าการ 2. ยึดติดบริเวณที่เปนแผลในปากไดดี จึงสามารถลดความถี่ในการใชยา และสงผลเพิ่มความรวมมือในการใชยาของผูปวย ทำใหไดผลในการรักษาที่ดีขึ้น 3. มีรสชาติดี ปลอดภัยตอผูใช และแผนฟลมมีความคงตัวที่ดีการนำไปใชประโยชนเ ชงพาณชิ ย แผนฟลมยึดติดเยื่อบุเมือกจากสารสกัดใบพญายอจึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผูทมี่ ปี ญ หาแผลในปาก เนอื่ งจากจุดเดน ของผลงานจึงสามารถใชทดแทนยาแผนปจ จบุ ันกลุมสเตรียรอยด สามารถออกฤทธิ์ไดตรงจุด ยึดเกาะที่เยื่อบุเมือกในปากไดดี จึงลดความถี่ในการใชยา เพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา และแผนฟลมที่พัฒนานี้ยังมีตนทุนที่ไมสูงมากนัก สามารถแขงขันในเชิงพาณิชยไดทรัพยสินทางปญ ญา คำขอรบั อนสุ ิทธบิ ตั ร เลขท่ี 1703000758เภสชั กรหญิง เอมอร ชัยประทปี 71วิทยาลัยการแพทยแผนไทยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2592 1999 โทรสาร 02 592 1900E-mail : [email protected]

29 ผลงานวจัยและนวัตกรรมเชงพาณิชย 2560 ช่อผลงาน นวัตกรรม ส่งิ ประดษิ ฐ แผน แปะผวิ หนงั จากสารสกดั ใบพญายอ เภสชั กรหญิง เอมอร ชัยประทีป บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคญั พญายอหรือเสลดพังพอนตัวเมียเปนสมุนไพรที่มีการใชตามภูมิปญญาไทยมาอยาง ยาวนานในสรรพคุณตางๆ ซึ่งตามบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2559 ระบุวายาครีม ยาโลชน่ั และยาข้ีผง้ึ จากใบพญายอสามารถบรรเทาอาการของโรคเริมและงสู วดั ผดผน่ื คัน ลมพิษ ตุมคัน อาการอกั เสบ ปวด บวม จากแมลงกัดตอย โดยทายาบริเวณท่มี อี าการบอย ถงึ วนั ละ 5 ครง้ั ซง่ึ ไมส ะดวกในการใชง าน แผน แปะผวิ หนงั จากสารสกดั ใบพญายอจงึ เปน อีกทางเลือกหน่งึ สำหรบั ผปู วยที่มีอาการดังกลา ว72 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน 1. แผนแปะผิวหนังจากสารสกัดใบพญายอ สามารถออกฤทธิ์ไดตรงจุดยังบริเวณที่มีอาการ 2. ยึดติดบริเวณที่มีอาการไดดี จึงสามารถลดความถี่ในการใชยา และสงผลเพิ่มความรวมมือในการใชยาของผูปวย ทำใหไดผลในการรักษาที่ดียิ่งขึ้น 3. มีความปลอดภัยตอผูใช และแผนฟลมมีความคงตัวที่ดีการนำไปใชประโยชนเชงพาณิชย แผนแปะผิวหนังจากสารสกัดใบพญายอจึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผูที่มีปญหาอาการของโรคเริมและงูสวัด ผดผื่นคัน ลมพิษ ตุมคัน อาการอักเสบ ปวด บวม จากแมลงกัดตอย เนื่องจากจุดเดนของแผนแปะที่สามารถใชทดแทนยาในรูปแบบเดิมที่ตองใชยาหลายครั้งตอวัน สามารถออกฤทธิ์ไดตรงจุด ยึดเกาะผิวหนังไดดี จึงสามารถลดความถี่ในการใชยา เพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาไดทรพั ยสนิ ทางปญญา คำขอรบั อนุสิทธบิ ัตร เลขท่ี 1703000759เภสชั กรหญิง เอมอร ชยั ประทปี 73วิทยาลัยการแพทยแผนไทยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2592 1999 โทรสาร 02 592 1900E-mail : [email protected]

30 ผลงานวจัยและนวัตกรรมเชงพาณชิ ย 2560 ช่อผลงาน นวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ เมด็ สอดชอ งคลอดของสารสกัด ผสมระหวางกระเทียมและขา เภสชั กรหญงิ เอมอร ชัยประทปี บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคัญ การรกั ษาโรคตดิ เชอ้ื แคนดดิ าในชอ งคลอดดว ยยาแผนปจ จบุ นั มอี ตั ราการดอ้ื ยาสงู ขน้ึ เนื่องจากผูใชสวนใหญใชยาไมตอเนื่องและไมปฏิบัติตามคำแนะนำของเภสัชกร ในตลาด ออนไลนเ องกม็ ผี ลติ ภณั ฑเ มด็ สอดชอ งคลอดจากสมนุ ไพรไทยในรปู แบบลกู กลอนโฆษณา จำหนายอยูทั่วไป ซึ่งสวนใหญจะไมไดมาตรฐาน ทำใหผูใชเสี่ยงตอการแพ และติดเชื้อ เม็ดสอดชองคลอดของสารสกัดผสมระหวางกระเทียมและขา จึงเปนอีกทางเลือกหนึ่ง ที่นาสนใจและยังเปนการสรางมูลคาเพิ่มใหกับสมุนไพรไทยไดอีกดวย74 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

wet granulation\"dry granulation \"\" Single Punch Tablet Pressจดเดนของผลงาน 1. เม็ดสอดชองคลอดของสารสกัดผสมระหวางกระเทียมและขาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อแคนดิดาที่เปนสาเหตุหลักของการเกิดตกขาวในสตรี 2. เปนอีกทางเลอื กหนง่ึ สำหรับผทู ่แี พย าแผนปจจุบัน และผูทด่ี ้อื ตอ ยาแผนปจ จบุ ัน 3. เมด็ สอดทพ่ี ัฒนาได ผานเกณฑม าตรฐานเภสัชตำรับของสหรฐั อเมริกา (The UnitedStates Pharmacopeia, The National Formulary 30, 2013) จงึ ลดโอกาสปนเปอ นและการเจรญิ เติบโตของเช้อื จุลนิ ทรยี การนำไปใชป ระโยชนเ ชงพาณชิ ย สามารถนำไปใชกับผูที่แพยาแผนปจจุบัน และผูที่ดื้อตอยาแผนปจจุบันซึ่งมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกวัน และเปนการพัฒนารูปแบบยาสมุนไพรไทยจากลูกกลอนใหไดเปนเม็ดสอดที่ผานเกณฑมาตรฐานสากล จึงเปนการยกระดับและสรางมูลคาเพิ่มใหกับสมุนไพรไทยเพอ่ื พรอมกบั การกาวเขาสตู ลาดสากลทรัพยส นิ ทางปญญา คำขอรบั อนุสทิ ธิบัตร เลขท่ี 1703000837 เภสชั กรหญงิ เอมอร ชัยประทปี 75 วิทยาลัยการแพทยแผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โทรศัพท 0 2592 1999 โทรสาร 02 592 1900 E-mail : [email protected]

ผจู ัดทำผลงานวจัยและนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560โดย สถาบนั วจัยและพัฒนา มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุISBN ISBN 978-974-625-767-1พิมพครัง้ ท่ี 1 เดอื นกรกฎาคม 2560พมิ พท ่ี บรษิ ทั ดีไซน ดไี ลท จำกดั 69/18 หมู 7 ต.เสาธงหนิ อ.บางใหญ จ.นนทบรุ ี 11140 โทรศัพท 08 9812 2140จำนวน 1,000 เลมจัดทำโดยสถาบนั วจิ ยั และพัฒนา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ีเลขที่ 39 หมู 1 ชั้น 5 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ 48 พระชนั ษาสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีถนนรงั สติ -นครนายก ตำบลคลองหกอำเภอธัญบุรี จังหวดั ปทมุ ธานี 12110โทรศัพท 02 549 4681-7โทรสาร 02 549 4680, 02 577 5038E-mail : [email protected]://www.ird.rmutt.ac.thผลิตและออกแบบโดยฝายวจิ ัยและนวัตกรรมสถาบนั วจิ ยั และพัฒนา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรีและ บริษทั ดไี ซน ดีไลท จำกัด เน้ือหาใดๆ ในหนังสือเลม นีเ้ ปนความรบั ผดิ ชอบของผูแตง แตเ พียงผเู ดียว สถาบันวิจยั และพัฒนาเปนเพียงผจู ัดพิมพและเผยแพรเพือ่ ประโยชนต อ สาธารณชนเทาน้ัน



สถาบันวจัยและพัฒนา มงุ มั่นพัฒนาเพ่ือยกระดับงานวจยั ใหไดมาตรฐาน และเปนที่ยอมรบั ในระดับสากล สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรีเลขที่ 39 หมู 1 ถนนรงั สิต-นครนายก ตำบลคลองหก อำเภอธญั บรุ ี จงั หวดั ปทุมธานี 12110 โทรศพั ท 02 549 4681-7 โทรสาร 02 549 4680, 02 577 5038 E-mail : [email protected] http://www.ird.rmutt.ac.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook