Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นำ SME ไทยก้าวไกล ด้วยมิติใหม่แห่งนวัตกรรม

นำ SME ไทยก้าวไกล ด้วยมิติใหม่แห่งนวัตกรรม

Published by IRD RMUTT, 2019-06-20 02:43:38

Description: นำ SME ไทยก้าวไกล ด้วยมิติใหม่แห่งนวัตกรรม

Search

Read the Text Version

น�ำ SME ไทยกา้ วไกล ด้วยมติ ิใหมแ่ ห่งนวตั กรรม Raising technology level of Thai SMEs through the works of ITAP ท่ีปรกึ ษา ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ดร.ฐติ าภา สมติ นิ นท์ ดร.ณัฐกา สงิ หวิลยั ดร.นนั ทยิ า วริ ยิ บัณฑร ผูเ้ ขียน โปรแกรมสนบั สนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวตั กรรม (Innovation and Technology Assistance Program ITAP) บรรณาธกิ าร ชรัฐ ตามไท, ศกนุ ต์กานต์ ปาลกะวงศ์ คณะทำ� งาน ดร.ณฐั กา สงิ หวลิ ยั , ดร.นนั ทิยา วริ ิยบัณฑร, ดร.ทรงพล มั่นคงสจุ ริต, ชรัฐ ตามไท, ศกุนตก์ านต์ ปาลกะวงศ์ ประสานงานการผลติ จฬุ ารตั น์ นมิ่ นวล งานออกแบบฝ่ายสอื่ วทิ ยาศาสตร์ ISBN 978-616-12-0498-3 พิมพ์คร้ังท ี่ 1 จ�ำนวน 2000 เล่ม ออกแบบรูปเล่ม บรษิ ทั มูสส์เฮด จ�ำกัด ผูจ้ ัดทำ� โปรแกรมสนับสนนุ การพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม (ITAP) ส�ำนกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 111 อุทยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ตำ� บลคลองหนงึ่ อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120     โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ ITAP โทรสาร  0-2564-7082, 0-25647003 www.itap.nstda.or.th e-mail : [email protected] นำ� SME ไทยกา้ วไกล ดว้ ยมติ ใิ หมแ่ หง่ นวตั กรรม: Raising technology level of Thai SMEs through the works of ITAP/โดย โปรแกรมสนบั สนนุ การพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม (Innovation and Technology Assistance Program ITAP). -- ปทมุ ธานี : สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาต,ิ 2560. 48 หนา้ : ภาพประกอบ 1. การจัดการธุรกิจ 2. ธุรกิจขนาดยอ่ ม -- การจัดการ 3. ธุรกจิ ขนาดยอ่ ม -- การบรหิ าร 4. การจัดการธุรกิจ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี 5. การพาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 6. เทคโนโลยสี ารสนเทศ 7. ธรุ กิขขนาดกลาง -- การอัตโนมัติ 8. ธรุ กจิ ขนาดย่อม -- การอตั โนมัติ I. โปรแกรมสนับสนนุ การพัฒนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม II. สำ� นกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ III. ช่อื เร่ือง HF5548.32 658.05

2 ITAP กับการยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย สารจาก ผูอ้ �ำ นวยการ ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผอู้ �ำนวยการ สำ� นักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Program, ITAP) ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2544 ทาง ITAP แห่งชาติ (สวทช.) เป็นหน่วยงานในก�ำกับ ไดใ้ หก้ ารสนบั สนนุ ในการใหค้ ำ� ปรกึ ษาเบอ้ื งตน้ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดา้ นเทคโนโลยเี พอ่ื แกไ้ ขปญั หาแก่ SME ไปแลว้ มีบทบาทส�ำคัญในการน�ำวิทยาศาสตร์และ เกือบ 10,000 ราย และให้การสนับสนุน เทคโนโลยีมาพัฒนาประเทศ เพื่อผลักดัน เป็นโครงการพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ใหป้ ระเทศแขง็ แกรง่ ดา้ นเศรษฐกจิ และการสรา้ ง เชงิ ลกึ (Technology Solution) ไปแลว้ มากกวา่ ความเข้มแข็งด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม 6,000 โครงการ ซง่ึ ผลการดำ� เนนิ งานปี 2559 ให้ภาคอุตสาหกรรม โดย สวทช. สนับสนุน ไดม้ กี ารสง่ มอบ Technology Solution ใหก้ บั การน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการ SME ถงึ กวา่ 1,000 โครงการ และสรา้ งผลกระทบ พฒั นาขดี ความสามารถการแขง่ ขนั ของ SME ทางเศรษฐกจิ และสงั คมสงู ถงึ 2,200 ลา้ นบาท ผา่ นโปรแกรมสนบั สนนุ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม และในโครงการวิจัยพัฒนาก่อให้เกิดสัดส่วน (Innovation and Technology Assistance การลงทนุ ดา้ นการวจิ ยั พฒั นาจากภาคเอกชน :

สารจากผอู้ ำ� นวยการ 3 ภาครฐั เปน็ 80 : 20 หรอื 4 : 1 โดยการประเมนิ 4. Digital Economy นำ� เสนอตัวอยา่ ง ผลกระทบจากผเู้ ชย่ี วชาญภายนอกพบวา่ จาก การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและซอฟต์แวร์ที่ การลงทุนของภาครัฐและเอกชน 1 บาท ใน ชว่ ยผลกั ดนั SME ใหเ้ ขา้ สู่ Digital Economy ระยะเวลา 1 ปี จะเกดิ ผลประโยชนข์ นึ้ 6.11 เทา่ ได้ ทง้ั ในภาคการผลติ ในอตุ สาหกรรม ภาคบรกิ าร หนงั สอื เลม่ นี้ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ แนะนำ� บรกิ าร ทง้ั ภาคการทอ่ งเทยี่ วและภาคการคา้ ของ ITAP โดยถา่ ยทอดผา่ นผลการดำ� เนนิ งาน 5. Automation and Robotic นำ� เสนอ จรงิ ทผ่ี า่ นมา ใน 5 กลมุ่ อตุ สาหกรรม ทง้ั ใน SME ตวั อยา่ งการพฒั นานวตั กรรมของระบบอตั โนมตั ิ ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ท้ังในภาคการผลิต และหนุ่ ยนต์ เพอื่ นำ� มาใชใ้ นกระบวนการผลติ และภาคบริการ ไดแ้ ก่ ในกิจการขนาดใหญ่และขนาดเล็กเพ่ือเพ่ิม 1. Agriculture and Food Innovation ประสทิ ธภิ าพ ควบคมุ การผลติ และตรวจสอบ น�ำเสนอตัวอย่างการพัฒนานวัตกรรมในกลุ่ม ตวั อยา่ งผลงานและการบรกิ ารของ ITAP ชว่ ยให้ เกษตรและอาหารตลอดท้ังห่วงโซ่อุปทาน SME ทีส่ นใจจะพฒั นากจิ การด้วยเทคโนโลยี ต้ังแต่การพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะปลูก และนวตั กรรม ไดเ้ ขา้ ถงึ ขอ้ มลู และบรกิ ารของ การยกระดบั ความปลอดภยั ในผกั ผลไม้ อาหาร ภาครฐั ทีช่ ่วยเหลอื SME ได้มากขึ้น และเปน็ และนวัตกรรมการแปรรูปเพ่ือตอบสนอง ประโยชน์กับผู้ประกอบการในการสร้างแรง ความต้องการท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว บันดาลใจและตระหนักถึงประโยชน์ของ ของตลาด เทคโนโลยี อันจะน�ำไปส่กู ารพัฒนา ยกระดบั 2. Health, Lifestyle and Aging Society มาตรฐานผลิตภัณฑ์และบริการอย่างย่ังยืน น�ำเสนอตัวอย่างการพัฒนานวัตกรรมในกลุ่ม เพ่ือเป็นรากฐานของระบบเศรษฐกิจไทยให้ ผลิตภัณฑ์ท่ีตอบสนองกับแนวโน้มตลาดด้าน เขม้ แข็งต่อไป สขุ ภาพและผสู้ งู อายทุ ่ีขยายตัวอย่างตอ่ เนือ่ ง 3. Environment and Clean Technology น�ำเสนอตัวอย่างการพัฒนานวัตกรรมใน กระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพสูงข้ึน โดยใช้เทคโนโลยีสะอาด ให้ SME สามารถ เตบิ โตไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื และเปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม

4 ITAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย ถึงได้มากขึ้น และบูรณาการร่วมกับหน่วย งานทเี่ ก่ียวขอ้ ง สารจาก ITAP มงุ่ เนน้ การทำ� งานรว่ มกบั พนั ธมติ ร และ สรา้ งระบบสง่ ตอ่ รว่ มกบั พนั ธมติ รเพอ่ื ให้ SME ผู้ชว่ ย ไดเ้ ขา้ ถงึ บรกิ ารภาครฐั ไดอ้ ยา่ งครบวงจร ITAP ผู้อ�ำ นวยการ ทำ� งานรว่ มกบั ฝง่ั Supply อาทิ หนว่ ยงานวจิ ยั มหาวิทยาลัย ที่เป็นแหล่งความรู้ เทคโนโลยี ดร. ฐิตาภา สมิตนิ นท์ และบคุ ลากรทมี่ คี วามเชยี่ วชาญ และทำ� งานรว่ ม ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนา กบั ฝง่ั Demand จากภาคอตุ สาหกรรม ไม่ว่าจะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เปน็ สภาอุตสาหกรรม สภาหอการคา้ สมาคม (สวทช.) ต่างๆ เพ่ือให้ได้โจทย์ความต้องการที่แท้จริง จากภาคอตุ สาหกรรม นอกจากน้ี ITAP ยงั มี สวทช. มี ITAP เปน็ กลไกที่สนบั สนนุ นโยบาย พนั ธมติ รเปน็ หนว่ ยงานภายนอกทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ของรัฐบาลที่มุ่งเน้นให้ SME เป็นรากฐานที่ SME ไดแ้ ก่ สำ� นักงานสง่ เสริมวสิ าหกิจขนาด ม่ันคงทางเศรษฐกิจของประเทศ และน�ำพา กลางและขนาดยอ่ ม(สสว.)กระทรวงอตุ สาหกรรม ให้ประเทศก้าวพ้นกับดักรายได้ปานกลางไป กระทรวงพาณชิ ย์ เป็นตน้ ได้ ITAP ท�ำหนา้ ท่ีเสมอื นเปน็ ฝ่ายวจิ ัยพัฒนา สำ� หรบั หนว่ ยงานภายในกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ ของอตุ สาหกรรม คอยสนบั สนนุ การถา่ ยทอด และเทคโนโลยี ITAP มีการด�ำเนินงานแบบ ความรู้และเทคโนโลยีให้ SME ในการทำ� วจิ ัย บรู ณาการ โดยรวมกลมุ่ หนว่ ยงานในกระทรวงฯ พัฒนาต่อยอดในการสร้างผลิตภัณฑ์ พัฒนา เพื่อพัฒนาการบริการให้ SME อย่างมุ่งเป้า กระบวนการผลิตและบริการใหม่ๆ ในวันท่ี ซ่ึงจะก่อให้เกิดผลกระทบที่ส�ำคัญ การสร้าง 28 กรกฏาคม 2558 คณะรัฐมนตรีได้มีมติ บริการใหม่ๆ มีการน�ำเทคโนโลยีที่พร้อม เห็นชอบให้ขยายงานของ ITAP ภายใต้ ส�ำหรับน�ำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมไป มาตราการสรา้ งความเข้มแข็งของ SME ดว้ ย ขยายผล ท�ำให้งานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ของ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพ่ือให้ SME เข้า นกั วจิ ยั ภาครฐั สามารถนำ� ไปใชไ้ ดจ้ รงิ พรอ้ มทง้ั รับข้อมูลกลับมาเพ่ือพัฒนาเทคโนโลยีที่ ตรงตามความตอ้ งการของอุตสาหกรรมได้

5 สารจาก ในกระบวนการผลิต การสร้างมูลค่าเพ่ิมให้ กับผลิตภัณฑ์หรือสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ผอู้ �ำ นวยการ เป็นต้น แต่สุดท้ายแล้วผู้ประกอบการเป็นผู้ โปรแกรม ITAP ตัดสินใจว่าจะด�ำเนินโครงการหรือไม่ ซึ่งทาง ITAP จะช่วยบริหารจัดการโครงการและท�ำ ดร.ณฐั กา สิงหวิลัย หนา้ ที่เปน็ ฝา่ ยวจิ ยั พัฒนาใหก้ ับ SME ท�ำให้ผู้ ผู้อ�ำนวยการโปรแกรมสนับสนุนการ ประกอบการมีความม่ันใจมากข้ึนในการท�ำ พฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรม R&D (ITAP) สิ่งท่ีขอฝากถึง SME คืออยากให้ลองเข้ามา คุยรับการปรกึ ษากบั ทาง ITAP กอ่ น เรายินดี ITAP ให้บริการช่วย SME ด้วยกลไกการ ให้บริการให้ค�ำปรึกษาเบื้องต้นโดยไม่เสียค่า ถ่ายทอดเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม โดยเน้น ใช้จ่าย พาผู้เชี่ยวชาญเข้าไปดูสภาพปัญหา การส่งเสริม SME แบบ Client Focus วินิจฉัย และให้ค�ำปรึกษาเบ้ืองต้น ITAP มี แนะน�ำแนวทางการพัฒนาธุรกิจด้วย บริการท่ีหลากหลาย ช่วยแก้ปัญหาด้วย เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับ เทคโนโลยีตั้งแต่ระดับพื้นฐานท้ังภาคการ ขนาดธรุ กจิ และสามารถนำ� ไปใชไ้ ด้จริงใน ผลิต ภาคบริการ และท่องเที่ยว จนถึงการ เชิงพาณิชย์ การเข้าร่วมโปรแกรม ITAP ต่อยอดในระดับนวัตกรรม ท�ำให้ SME เริ่มจากโจทย์ของผู้ประกอบการท่ีมาจาก ท่ีอยากมีเพื่อนคู่คิดช่วยแก้ปัญหาทาง ความต้องการเป็นสิ่งส�ำคัญ โดยทางทีมที่ เทคโนโลยีสามารถมาใช้บริการได้อย่างไม่ ปรึกษาเทคโนโลยีและผู้เช่ียวชาญจะ ต้องกงั วล ออกแบบโครงการเพื่อตอบโจทย์แบบ เฉพาะราย เช่น การแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน ในแต่ละกระบวนการผลิต การลดต้นทุน

สารบญั 02 24 สารจากผอู้ ำ�นวยการ Environment and Clean Tech 04 ปัญหาส่ิงแวดล้อมที่ทวีความรุนแรงขึ้น ทำ�ให้ ทุกภาคส่วนให้ความสำ�คัญกับการแก้ไขปัญหาน้ี สารจากผูช้ ว่ ยผู้อำ�นวยการ ท้ังในด้านผู้บริโภคเองก็มีแนวโน้มท่ีจะใส่ใจกับ การเลือกซื้อสินค้าที่มีกระบวนการผลิตท่ีรักษ์ 05 โลกและคำ�นึงถึงกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่ง เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) จะ สารจากผ้อู ำ�นวยการโปรแกรม ITAP เป็นทางออกให้ผู้ประกอบการให้ปรับตัวได้และ ทำ�ให้อุตสาหกรรมอยู่ได้ควบคู่กับการรักษาส่ิง 08 แวดล้อมไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื • พลงั งานทดแทน Automation • Carbon footprint • ยางพาราไทย • Automation • Upcycling • แมชชีนเนอร่ี • กาแฟวาวี • All IT แขนกลเชอ่ื มโลหะ 16 Digital Economy • อา่ วนาง • RFID มาราธอน • RFID จวิ เวลร่ ี • แทน่ กลบั รถ ซัฟฟีเชยี น

32 40 Health, Lifestyle and Aging Society Agriculture and Food Innovation ปัจจุบันการเติบโตของมูลค่าตลาดผลิตภัณฑ์ สุขภาพและผู้สูงอายุมีแนวโน้มท่ีเพิ่มสูงขึ้นอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง ทั้งจากปัจจยั สนับสนนุ ของกระแสรกั ษา สุขภาพของคนสมัยใหม่และการดูแลสุขภาพเพ่อื รองรบั การเขา้ สภู่ าวะสงั คมผสู้ งู อายุ ท�ำ ใหโ้ อกาส ทางการตลาดใหมๆ่ เกดิ ขน้ึ มากมาย ทเ่ี ทคโนโลยี และนวัตกรรมจะเข้าไปพัฒนาผลิตภัณฑ์และ บรกิ ารเพอ่ื ตอบโจทยด์ งั กลา่ ว • ผลติ ภณั ฑเ์ พือ่ ผู้สูงอายุ ธุรกิจที่คนไทยมีความชำ�นาญ มีทรัพยากรใน • มาตรฐานเครอื่ งมือแพทย์ ประเทศมากมาย และอยู่คู่อุตสาหกรรมไทย • ลิปจากดอกเกลอื คงหนีไม่พ้นธุรกิจด้านการเกษตรและอาหาร • กระเปา๋ จากผกั ตบชวา ทำ�ให้มีผู้ประกอบการด้านน้ีเกิดข้ึนจำ�นวนมาก จึงส่งผลให้เกิดการแข่งขันที่รุนแรง ซึ่ง SME ท่ี ต้องการหลีกหนีการแข่งขันด้านราคาจึงต้อง สร้างความแตกต่างและจุดขายให้กับสินค้าของ ตัวเอง ด้วยนวัตกรรม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และยกระดบั กระบวนการผลิต • ThaiGAP • สารเคลือบเมล็ดพนั ธ์ุ • แดรโ่ี ฮม • เครื่องลา้ งผักโอโซน

8 ITAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย AUTOMATION พฒั นาระบบอตั โนมตั ิ ตามแนวคิดอุตสาหกรรม 4.0 จากตัวอยา่ งธุรกจิ กลุ่ม Automation ภายใตก้ ารใหบ้ ริการของ ITAP AUTOMATION หลังจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจไทยใน ในสถานะรง้ั ทา้ ยทางเทคโนโลยี สง่ ผลใหไ้ มม่ ี ช่วงปี 2558-2559 ยอดส่ังซ้ือสินค้าที่ลดลง ความสามารถในการแข่งขันท้ังตลาดใน และค่าแรงท่ีเพ่ิมข้ึนท�ำให้ผู้ประกอบการ ประเทศและตา่ งประเทศ โรงงานประสบปัญหาแบกรับต้นทุนการผลิต ITAP ได้สนับสนุนผู้ประกอบการที่ขอรับ อย่างหนัก ในต่างประเทศมีการแก้ปัญหา บริการปรึกษาด้านเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ ดังกล่าวด้วยการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต มากมายหลายรปู แบบมากวา่ 10 ปี ยกตวั อยา่ ง แบบอัตโนมัติเพื่อส่งต่อข้อมูลผ่านอุปกรณ์ เช่น การปรับปรุงเครื่องจักรกึ่งอัตโนมัติให้ อัจฉริยะซ่ึงเป็นการลดต้นทุนการผลิตใน เช่ือมต่อเป็นสายการผลิตต่อเน่ือง และเช่ือม ระยะยาวและรองรบั แนวคดิ อตุ สาหกรรม 4.0 ต่อกับระบบฐานข้อมูล การออกแบบและ หากผู้ประกอบการไทยไม่ตระหนักถึงการ พัฒนาระบบตรวจสอบช้ินงานแบบอัตโนมัติ เปล่ียนแปลงนี้นอกจากจะได้รับผลกระทบ ดว้ ยเทคโนโลยกี ารประมวลผลภาพ ด้านเศรษฐกิจแล้ว ในอนาคตอาจจะตกอยู่

เคร่ืองจกั ร / Automation 9 การปฏิวตั ภิ าคการผลติ ไปสู่ อตุ สาหกรรม 4.0 จะเปน็ การ ทำ� ให้กระบวนการผลติ สินคา้ เชอ่ื มกับเทคโนโลยีดจิ ิทลั ทำ� ให้ เคร่ืองจักรฉลาดขนึ้ ส่ือสารได้ ง่ายขึน้ พ่งึ พาแรงงานคนน้อยลง เพราะฉะนนั้ ธุรกิจทตี่ อ้ งการไปสู่ อุตสาหกรรม 4.0 จึงจ�ำเปน็ ต้อง มกี ารเตรยี มความพรอ้ มในการ พัฒนาระบบการผลติ เดมิ ทมี่ กี าร ผสมผสานระบบ automation ใหม้ ากขนึ้ (Image Processing) การปรบั ปรงุ เครอื่ งจกั ร หลายรายสามารถผลิตสินค้าชนิดใหม่ท่ีช่วย ใ ห ้ ส า ม า ร ถ ค ว บ คุ ม ด ้ ว ย ร ะ บ บ ซี เ อ็ น ซี สร้างมูลค่าเพ่ิมมหาศาลได้ นอกจากนั้น (CNC) การท�ำวิศวกรรมย้อนรอย (Reverse เทคโนโลยีอัตโนมัติดังกล่าวยังช่วยแก้ปัญหา Engineering) เครื่องจักรจากต่างประเทศ เดิมๆ ท่ีเคยเป็นอุปสรรคในการด�ำเนินงาน และการพัฒนาโปรแกรม Post - Processor ของธุรกจิ ถือเป็นนวตั กรรมที่ สำ� หรบั หุ่นยนต์ เป็นต้น ช่วยยกระดับเศรษฐกิจ จากความช่วยเหลือของ ITAP ในการสร้าง ไ ท ย อี ก ท า ง ห นึ่ ง ซ่ึ ง ผู ้ ศักยภาพด้านเทคโนโลยีอัตโนมัติในรูปแบบ ประกอบการทุกราย ต่างๆ ให้กับผู้ประกอบการไทย ส่งผลให้ ไมค่ วรมองขา้ ม ผปู้ ระกอบการทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จาก ITAP

10 ITAP กับการยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย MACHINERY หุน่ ยนต์เพ่อื อตุ สาหกรรมไทย กับศักยภาพที่มากขน้ึ บริษทั แมชีนเนอร่ี เอม็ โปเรยี ม (1995) จ�ำกัด ท่ีอยู่ 2 แขวงบางมด เขตทงุ่ ครุ กทม 10140 โทรศพั ท์ 0-2427-6777-8 www.machinery.co.th MACHINERY หนุ่ ยนตห์ กแกนคอื หนุ่ ยนตส์ ำ� หรบั อตุ สาหกรรม มอื สองจากตา่ งประเทศ ทงั้ ญปี่ นุ่ และเยอรมนี ที่ต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศและถูกน�ำมาใช้ เพ่ือน�ำมาปรับปรุงสภาพขายต่อให้แก่ภาค อย่างแพร่หลายในประเทศไทย แม้ว่าราคา อตุ สาหกรรมในไทย บรษิ ทั ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื หนุ่ ยนตใ์ นปจั จบุ นั จะลดลงมากแลว้ แตข่ อ้ จำ� กดั จาก ITAP และผู้เช่ียวชาญจากมหาวิทยาลัย ส�ำหรับผู้ประกอบการไทยคือผู้ใช้ไม่สามารถ เกษตรศาสตร์ ในการออกแบบระบบควบคุม ปรบั เปลย่ี นระบบของหนุ่ ยนตใ์ หเ้ ปน็ ไปตามท่ี หนุ่ ยนตห์ กแกนขน้ึ มาใหมเ่ พอื่ ใหส้ ามารถผลติ ตอ้ งการไดเ้ นอื่ งจากเปน็ นโยบายของบรษิ ทั ผผู้ ลติ ชนิ้ งานทมี่ รี ปู รา่ งซบั ซอ้ นได้ เชน่ งานกดั หนิ ออ่ น หนุ่ ยนตต์ า่ งประเทศทต่ี อ้ งการใหล้ กู คา้ ใชบ้ รกิ าร เปน็ พระพทุ ธรปู เปน็ ตน้ โดยอุปสรรคส�ำคัญ ดูแลและซ่อมบ�ำรงุ จากผู้ผลิตเทา่ นัน้ น่นั เอง ในการออกแบบหุ่นยนต์หกแกนดังกล่าวคือ บรษิ ทั แมชนี เนอร่ี เอม็ โปเรยี ม (1995) จำ� กดั ระบบสั่งการของหุ่นยนต์ไม่ได้เชื่อมอัตโนมัติ เป็นหนึง่ ในบริษทั ของคนไทยทร่ี ับซือ้ หนุ่ ยนต์ กบั ไฟล์ CAD ท�ำให้ไมส่ ามารถสง่ั การห่นุ ยนต์ ให้เคลื่อนไหวไปตามรูปแบบ (Profile) ของ

เครือ่ งจักร / Automation 11 กระบวนการผลติ ในยุค อตุ สาหกรรม 4.0 ปัจจยั สำ� คญั คงหนีไม่พ้นการพฒั นาดา้ น เครอ่ื งจกั ร หนุ่ ยนต์ และซอฟตแ์ วร์ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญย่ ัง ต้องพ่งึ พาซอฟต์แวร์จากต่าง ประเทศ ทำ� ใหต้ น้ ทนุ การผลิตสูง จากปญั หาดังกล่าว ถ้าผู้ ประกอบการไทยมีความตอ้ งการ จะยกระดับขีดความสามารถทาง เทคโนโลยี ทท่ี ดแทนการนำ� เข้า จากต่างประเทศ ทาง ITAP จะ สามารถช่วยเหลอื ไดอ้ ยา่ งไร? ชิ้นงานได้ผู้ใช้หุ่นยนต์ต้องท�ำการก�ำหนด รปู รา่ งซบั ซอ้ นไดเ้ อง หนุ่ ยนตด์ งั กลา่ วสามารถ จุดเคล่ือนไหวของหุน่ ยนตเ์ องขณะใช้งาน ซึง่ ผลิตช้ินงานได้รวดเร็วและคลาดเคล่ือนน้อย เกิดความยุ่งยากคลาดเคล่ือนได้ง่ายและ ในปัจจุบันบริษัทสามารถจ�ำหน่ายหุ่นยนต์ เสียเวลามากผ้เู ชย่ี วชาญจึงเสนอแนวทางการ หกแกนมือสองและโปรแกรมระบบควบคุม สร้างโปรแกรมประมวลผลที่สามารถสร้าง ควบคู่กันได้ ซ่ึงถือเป็นการเปิดช่องทางการ ชุดคำ� สงั่ G-CODE สำ� หรบั ใช้ในการควบคุม ใช้เทคโนโลยีใหม่ให้แก่ การเคลื่อนไหวของหุ่นยนต์ได้ล่วงหน้าโดยท่ี ภาคอุตสาหกรรมไทย ผู้ใช้งานไม่ต้องเสยี เวลาก�ำหนดจดุ เคลอ่ื นไหว และเปน็ โอกาสในการตอ่ ยอด ของหนุ่ ยนต์เองขณะใช้งาน เทคโนโลยีต่อไปใน ผลส�ำเร็จจากโครงการนี้ท�ำให้บริษัทสามารถ อนาคต ฟน้ื ฟสู ภาพหนุ่ ยนตห์ กแกนทส่ี ามารถผลติ ชนิ้ งาน

12 ITAP กบั การยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย กาแฟวาวี ลดปญั หามลภาวะด้วยเครือ่ ง เผาควนั ควั่ กาแฟอัตโนมตั ิ บรษิ ัท กาแฟวาวี จ�ำกดั สำ� นกั งานใหญ่ 183/2 หมู่ 6 ถนนวงแหวนรอบกลาง ตำ� บลฟา้ ฮา่ ม อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่ 50000 โทรศัพท์ 0-5301-4111-2 [email protected] www.wawee.co.th กาแฟวาวี โดยทั่วไปกระบวนการค่ัวกาแฟจะก่อให้เกิด ในพนื้ ท่ีภาคเหนอื ดังนน้ั การก�ำจัดฝนุ่ ละออง ควันพิษประเภท Volatile Organic และควนั พษิ ในกระบวนการควั่ กาแฟ จงึ ถอื เปน็ Compound (VOC) และฝนุ่ ละอองอนภุ าค สิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการค่ัวกาแฟในระดับ ขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) ที่เป็น อุตสาหกรรม อันตรายต่อสุขภาพ นอกจากน้ันฝุ่นละออง บรษิ ัท กาแฟวาวี จำ� กัด ซงึ่ เป็นผ้ผู ลติ เมล็ด และควันพิษยังมีส่วนในการก่อให้เกิดปัญหา กาแฟรายใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่ได้รับความ หมอกควนั ซงึ่ เปน็ ปญั หาเรอื้ รงั ของหลายจงั หวดั ช่วยเหลือจาก ITAP โดยมีผู้เช่ียวชาญจาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ด�ำเนินการพัฒนา ระบบเครื่องเผาควันคั่วกาแฟท�ำงานแบบ อัตโนมัติ เพื่อใช้งานร่วมกับเคร่ืองค่ัวกาแฟ น�ำเข้าจากต่างประเทศท่ีบริษัทใช้อยู่ โดย

เครือ่ วจักร / Automation 13 ปัจจุบันธรุ กจิ เก่ียวกบั กาแฟไดร้ บั ความนยิ มและมกี ารขยายตวั เปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะทางภาคเหนอื ของประเทศไทยมกี ารเพาะปลกู กาแฟกนั อยา่ งแพรห่ ลาย ทำ� ให้ อตุ สาหกรรมการค่วั เมล็ดกาแฟ ในพืน้ ทีภ่ าคเหนือถอื ก�ำเนิดขนึ้ เพอ่ื ตอบรบั ความตอ้ งการท่ีมี สงู ขน้ึ ของตลาดกาแฟในประเทศ แตท่ วา่ ในกระบวนการคว่ั กาแฟนนั้ จะทำ� ใหเ้ กดิ มลพษิ ขนึ้ เราจะใช้ เทคโนโลยีในการแก้ไขปญั หาได้ อย่างไร? ระบบเคร่ืองเผาควันต้นแบบ ท่ีพัฒนาข้ึน ผลส�ำเร็จของโครงการดังกล่าวนอกจากจะ สามารถแก้ปัญหาฝุ่นละอองรวมท้ังก�ำจัด ช่วยแก้ปัญหาด้านมลภาวะให้แก่บริษัท ควันและกล่ินจากการคั่วกาแฟ ได้ท้ังหมด กาแฟวาวีแล้ว ยังแสดงให้เห็นถึงศักยภาพ ช่วยให้บริษัทสามารถท�ำการค่ัวกาแฟใน ของประเทศไทยในการพัฒนาเครื่องจักรที่ ระดับอุตสาหกรรมโดยไม่ต้องกังวลเรื่อง ตอบสนองความต้องการพิเศษของภาค ปัญหามลภาวะที่เกิดจากการค่ัวกาแฟ อุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วย นอกจากน้ัน เทคโนโลยีต้นแบบดังกล่าวยังมี ต้นทนุ ท่ีผ้ปู ระกอบการยอมรบั ได้ ถือเปน็ การ ต้นทุนในการผลิตที่ถูกกว่าการน�ำเข้าเครื่อง พัฒนาเทคโนโลยีให้กับอุตสาหกรรมไทย เผาควนั มอื สองจากตา่ งประเทศอกี ดว้ ย ถอื เปน็ อยา่ งแท้จริง การประหยัดต้นทุนให้แก่บริษัทและสามารถ ช่วยเหลือประเทศในเร่ืองขาดดุลเงินตราต่าง ประเทศอกี ทางหนึ่ง

14 ITAP กับการยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย แขนกลสำ�หรับงานเชื่อมโลหะ VR-7 แกป้ ญั หาแรงงานคน ด้วยหุ่นยนตเ์ ช่อื มโลหะ 7 แกน บริษัท ออล อนิ ฟอรเ์ มช่ัน เทคโนโลจีส จ�ำกัด ทีอ่ ยู่ 86/11-12 หมู่ 3 ถนนมิตรภาพ ตำ� บลสำ� ราญ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแกน่ 40000 โทรศพั ท์ 0-4334-2989 แขนกลส�ำหรับงานเชื่อมโลหะ VR-7 ตลอดเวลาที่ผ่านมาโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ITAP และบริษัท จ�ำเป็นต้องพึ่งพาแรงงานคนในการผลิตซ่ึง ออล อินฟอร์เมชั่น เทคโนโลจีส จ�ำกัด ได้ ท�ำให้มีข้อจ�ำกัดเร่ืองเวลาท�ำงาน ความ ร่วมกับ ผศ.ดร. ถวิดา มณีวรรณ์ จาก สม�่ำเสมอของคุณภาพงาน รวมไปถึงปัญหา ส ถ า บั น วิ ท ย า ก า ร หุ ่ น ย น ต ์ ภ า ค ส น า ม เรื่องการขาดแคลนแรงงานมีฝีมือ ดังนั้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า หุ่นยนต์จึงมีแนวโน้มจะถูกน�ำมาแทนท่ี ธนบุรีและทีมงานพัฒนาออกแบบหุ่นยนต์ มนุษย์มากข้ึนเรื่อยๆ เนื่องจากหุ่นยนต์มี เช่ือม 7 แกน ในการชว่ ยออกแบบและพัฒนา ข้อจ�ำกัดในการท�ำงานน้อยกว่ามนุษย์ มี หุ่นยนต์แขนกลส�ำหรับงานเช่ือมโลหะใน ความเร็ว ความแม่นย�ำและความละเอียดสูง อุตสาหกรรม โดยหุ่นยนต์แขนกลแบบ ท�ำให้สร้างงานที่ได้มาตรฐานท่ีคงที่ รวดเร็ว 7 แกนนี้สามารถจับต�ำแหน่งวัตถุด้วยระบบ และเพยี งพอกับความตอ้ งการ Vision มีการใช้เทคนิคช้ันสูงร่วมด้วย เช่น ระบบกล้องท่ีมีระบบ Vision รวมอยู่ในตัว

เคร่ืองจกั ร / Automation 15 ITAP สามารถให้บรกิ าร ออกแบบและพฒั นาหนุ่ ยนต์ ทางอตุ สาหกรรม ตามความ ต้องการแบบเฉพาะเจาะจงของ ผปู้ ระกอบการ โดยทมี ผเู้ ชย่ี วชาญ มืออาชีพ ที่มคี วามเขา้ ใจและมี ประสบการณก์ ารทำ� งานรว่ มกบั ภาคอตุ สาหกรรม แขนกลลดขั้นตอนที่ซับซ้อน แยกชุดหัวจับ สาขาวชิ า เชน่ ใชก้ ลอ้ งทมี่ รี ะบบ Vision รวมอยู่ เพือ่ ใหง้ า่ ยตอ่ การเปลย่ี นอุปกรณ์ งา่ ยตอ่ การ ในตัว จึงลดข้ันตอนการโปรแกรมท่ีซับซ้อน เข้าใจของผู้ปฏิบัติงาน สามารถท่ีจะพัฒนา ลดเวลาของการเรียนรู้ด้วยโปรแกรมต่างๆ โปรแกรมหรือขยายการออกแบบได้โดย ง่ายต่อการเข้าใจของผู้ปฏิบัติงาน สามารถ มคี า่ ใชจ้ า่ ยตำ่� รวมถงึ หนุ่ ยนตเ์ คลอื่ นทบ่ี นราง ที่จะสร้างชุดค�ำส่ังการเคล่ือนที่ของหุ่นยนต์ ที่ก�ำหนดไว้ในสายการผลิต สามารถเช่ือม 7 แกนได้โดยใช้ Open Software ท�ำให้มี หรือท�ำงานท่ีมีขนาดความยาวของการเช่ือม ค่าใช้จ่ายต�่ำ รวมถึงหุ่นยนต์เคล่ือนท่ีบนราง ไดต้ ามท่กี ำ� หนดได้ ท่ีก�ำหนดไว้ในสายการผลิตยังสามารถ โดยมีจุดเด่นคือหุ่นยนต์ที่สร้างข้ึนมามีต้นทุน ท�ำงานท่ีมีขนาดความยาวของการเชื่อม ทไี่ มส่ งู ใชง้ านงา่ ย การบำ� รงุ รกั ษาตำ�่ หนุ่ ยนต์ ตามที่กำ� หนดไดอ้ ย่างดเี ย่ยี ม จะทำ� งานโดยใชเ้ ทคนคิ ชนั้ สงู จากหลากหลาย

16 ITAP กบั การยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย อ่าวนาง แทรเวล แอนด์ ทวั ร์ เทคโนโลยกี บั การพัฒนา อตุ สาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว บรษิ ัท อ่าวนาง แทรเวล แอนด์ ทวั ร์ จำ� กัด ทอี่ ยู่ 243 หมู่ 2 ต�ำบลอา่ วนาง อำ� เภอเมืองกระบี่ จงั หวดั กระบ่ี 81000 โทรศพั ท์ 0-7563-7152 www.aonangtravel.com อุตสาหกรรมทอ่ งเท่ยี วเปน็ อ่าวนาง แทรเวล แอนด์ ทวั ร์ แหลง่ รายไดท้ ่สี ำ� คัญของประเทศ ดงึ ดูดเงนิ ตราตา่ งประเทศ และ หากกล่าวถึงประเทศท่ีมีชื่อเสียงด้านการ ท�ำให้คนในทอ้ งถ่นิ มงี านท�ำและ ทอ่ งเทย่ี ว ประเทศไทยมกั จะถกู จดั ใหเ้ ปน็ ดนิ แดน มรี ายได้ ซง่ึ ปจั จบุ ันเทคโนโลยี ในฝันอันดับต้นๆ ของนักท่องเที่ยวท่ัวโลก กับการพัฒนาอตุ สาหกรรม อุตสาหกรรมท่องเท่ียวจึงเป็นอุตสาหกรรม ทอ่ งเท่ยี วไม่ใชเ่ ร่ืองไกลตวั หลักท่ีส�ำคัญของประเทศไทย อย่างไรก็ดี อีกตอ่ ไป ITAP สามารถเปน็ เพอื่ การเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอื่ งของอตุ สาหกรรม ตวั ช่วยผูป้ ระกอบการในการให้ ทอ่ งเทย่ี ว สง่ิ สำ� คญั ทผ่ี ปู้ ระกอบจะตอ้ งพฒั นา คำ� แนะนำ� ดา้ นเทคโนโลยที เ่ี หมาะสม อย่างต่อเนื่อง คือการให้บริการท่ีมีคุณภาพ เชน่ โปรแกรมชว่ ยบริหารจดั การ และระบบบรหิ ารจดั การท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ การใชเ้ ทคโนโลยมี าช่วยสรา้ ง บรษิ ัท อ่าวนาง แทรเวล แอนด์ ทัวร์ จำ� กดั ความแตกตา่ ง เปน็ ตน้ ได้เข้าร่วมโครงการกับ ITAP เพื่อแก้ปัญหา

Digital Economy 17 ระบบบริหารจัดการทัวร์ ซ่ึงประสบปัญหา ใหเ้ ปน็ ระบบและงา่ ยตอ่ การใชง้ าน รวมไปถึง เมื่อมีนักท่องเท่ียวมาใช้บริการที่โรงแรม มกี ารสรา้ งระบบออนไลนเ์ พอื่ ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ เปน็ จำ� นวนมากและมคี วามตอ้ งการทห่ี ลากหลาย ขอ้ มลู ของกลมุ่ ลกู คา้ รวมทงั้ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ระบบบริหารจัดการแบบเดิมไม่สามารถ และประมวลผลได้อย่างรวดเรว็ จดั การกบั ความซบั ซอ้ นระดบั นนั้ ได้ เนอื่ งจาก ขาดการเชอื่ มโยงและยากตอ่ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ITAP ได้น�ำผู้เช่ียวชาญเข้าให้ค�ำปรึกษาและ ปรบั ปรงุ ซอฟตแ์ วรด์ า้ นการวางแผนทรพั ยากร องค์กรหรือ ERP (Enterprise Resource Planning) ซึ่งเป็นการน�ำระบบสารสนเทศ เขา้ ไปประยกุ ตก์ บั การบรหิ ารจดั การของโรงแรม

18 ITAP กับการยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย RFID FOR MARATHON การแข่งขันว่ิงมาราธอนนานาชาติ กบั เทคโนโลยีฝีมือคนไทย บรษิ ทั เอเซนเทค (ประเทศไทย) จำ� กัด ทอ่ี ยู่ 46/17 กม 4.5 หมู่ 10 ทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กทม. 10260 โทรศัพท์ 0-2751-5951 www.acentech.net RFID FOR MARATHON การแข่งขันวิ่งมาราธอนจ�ำเป็นต้องมีการ บรษิ ทั เอเซนเทค (ประเทศไทย) จำ� กดั รว่ ม ตรวจสอบเพ่ือระบุตัวนักว่ิง และระบุระยะ กับมหาวิทยาลัยขอนแก่นและ ITAP ในการ เวลาที่นักว่ิงใช้ในการว่ิงตลอดระยะทาง โดย ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี RFID เพื่อพัฒนา ในปัจจุบัน มีการใช้ป้าย RFID หรือป้าย ระบบบริหารจัดการการแข่งขันเพื่อใช้ในงาน เซ็นเซอร์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีสามารถอ่านค่า “ขอนแกน่ มาราธอน” เนอ่ื งจากในอดตี ผ้จู ัด ผ ่ า น ค ลื่ น วิ ท ยุ จ า ก ร ะ ย ะ ไ ก ล เ พื่ อ ต ร ว จ งานจ�ำเป็นต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์และ ติดตามและบันทึกข้อมูลการว่ิงของนักว่ิง อุปกรณ์เพ่ือท่ีจะใช้ระบบจากต่างประเทศ อยา่ งไรกต็ าม ระบบ RFID ทใี่ ช้ในท้องตลาด ซึ่งโดยส่วนใหญ่ประสบปัญหาในการใช้งาน เป็นระบบของต่างประเทศท่ียากต่อการปรับ และจ�ำเป็นต้องปรับระบบให้เข้ากับสภาพ เปล่ียนให้สอดคล้องกับรูปแบบการแข่งขัน แวดล้อมของประเทศไทย โดย ITAP ได้ ของประเทศไทย วิเคราะห์ปัญหาและน�ำผู้เชี่ยวชาญเข้าไปให้ ค�ำปรึกษาเพื่อท�ำการประยุกต์เทคโนโลยี

Digital Economy 19 ในยคุ น้ที ก่ี ระแสสุขภาพมาแรงน้ัน การแขง่ ขนั ว่งิ มาราธอนก็เป็นอกี กจิ กรรมหนง่ึ ท่ีได้รับความนิยม เปน็ อันดับต้นๆ และเปน็ ตลาดท่ี ใหญแ่ ละเตบิ โตอย่างตอ่ เน่อื ง อยา่ งไรก็ดี ซอฟต์แวรท์ ี่ใช้ในการ บรหิ ารจดั การและจบั เวลายงั เปน็ การนำ� เขา้ จากตา่ งประเทศ ซง่ึ อาจจะมบี างสว่ นที่ไม่เหมาะ สภาพแวดล้อมของไทย RFID ท่ีแต่เดิมใช้ในอุตสาหกรรมอ่ืน มาปรับ จากความร่วมมือดังกล่าวท�ำให้บริษัท เป็นป้าย RFID ท่สี ามารถใช้ติดกบั นกั กฬี าว่งิ สามารถพัฒนาระบบซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ พร้อมท้ังพัฒนาซอฟต์แวร์และติดต้ังระบบ ทช่ี ว่ ยบรหิ ารการวงิ่ มาราธอนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ให้เขา้ กับกจิ กรรมกฬี าของมหาวทิ ยาลัย โดยไม่จ�ำเป็นต้องพึ่งซอฟต์แวร์จากต่าง ประเทศ นอกจากจะสร้างความประทับใจให้ แก่ผู้เข้าร่วมการแข่งขันแล้ว ผู้ใช้ระบบยัง สามารถบริหารจัดการการแข่งขันให้มีความ ผิดพลาดน้อยที่สุด สร้างภาพลักษณ์ที่ดี ให้แก่งานขอนแก่นมาราธอน และเปน็ ระบบ ต้นแบบที่มีความน่าเชื่อถือสามารถน�ำไป ประยกุ ตใ์ ช้กับการแขง่ ขนั ว่ิงรายการอน่ื ๆ ได้

20 ITAP กับการยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย RFID FOR JEWELRY สนิ ค้ามลู ค่าสูง ตรวจนบั ม่นั ใจ ปลอดภยั ดว้ ย RFID บริษัท โมลีคิว (ประเทศไทย) จำ� กดั 18/1-18/2 ถนนสุขุมวทิ 71 แขวงพระโขนงเหนอื เขตวฒั นา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศพั ท์ 0-2715-3738 www.moleculesys.com ในอตุ สาหกรรมการผลิตเคร่อื ง RFID FOR JEWELRY ประดับ การตรวจนบั จิวเวลรี่ ซ่ึงเปน็ ผลิตภณั ฑ์ท่ีมีราคาสูงและ ปัจจุบันมีเทคโนโลยีหลายแบบที่สามารถน�ำ มีขนาดเลก็ นน้ั เปน็ เรอื่ งทยี่ ากมาก มาประยุกต์ใช้ในการตรวจนับสินค้าเครื่อง โดยทว่ั ไปการตรวจนับจะอาศยั ประดับและจิวเวลรี่เพื่อทดแทนแรงงานคน แรงงานคนท่ีมคี วามช�ำนาญ แตก่ ย็ ังไม่มีเครื่องมอื ที่สามารถแก้ปัญหาและ ซงึ่ มีแนวโน้มขาดแคลนและมี ตอบโจทย์ความต้องการของอุตสาหกรรม คา่ จา้ งเพมิ่ สูงขึน้ ดงั นน้ั การนำ� การผลติ เครือ่ งประดับไดท้ ุกมติ ิ เทคโนโลยี RFID มาชว่ ยตรวจนับ บรษิ ทั โมลคี ิว (ประเทศไทย) จำ� กัด ได้รับ จึงเป็นอกี ทางเลอื กในการแก้ไข ความช่วยเหลือจาก ITAP ในการพัฒนา ปญั หา เพ่ือการทำ� งานที่ อุปกรณ์และระบบท่ีอาศัยเทคโนโลยี RFID ตอ้ งการทั้งความรวดเร็วและ (Radio Frequency Identification) ในการ ความถูกต้องแมน่ ย�ำสงู

Digital Economy 21 ตรวจนับจิวเวลร่ีทดแทนการนับมือโดยใช้ ผลส�ำเร็จของโครงการท�ำให้บริษัทสามารถ แรงงานคน เพือ่ ป้องกันความผิดพลาดในการ ก้าวข้ึนสู่การเป็นผู้น�ำด้านระบบบริหาร ทำ� งาน และเพม่ิ ความรวดเรว็ ในการตรวจนบั จัดการส�ำหรับอุตสาหกรรมจิวเวลรี่และ สิง่ ทที่ ้าทายในการพัฒนาคอื ผลิตภณั ฑ์ RFID เคร่อื งประดับ โดยประโยชน์ของโครงการน้ี ท่ีมีวางขายในท้องตลาดไม่สามารถใช้ร่วมกับ นอกจากจะสามารถน�ำเทคโนโลยี RFID มา จิวเวลร่ีได้ เน่ืองจากข้อจ�ำกัดของการใช้ ชว่ ยลดการใชแ้ รงงานคนในภาคอตุ สาหกรรม RFID ร่วมกับวัสดุประเภทโลหะท�ำให้ผู้ ไดแ้ ลว้ ผลของการวจิ ยั และพฒั นายงั สามารถ เชยี่ วชาญตอ้ งคดิ ค้น ออกแบบ ทดลอง และ ใช้ในการต่อยอดสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ พัฒนาอปุ กรณ์ ท่เี กีย่ วข้องขึ้นมาใหมท่ ้งั หมด ส�ำหรบั การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี RFID ใน พร้อมท้ังทดลองติดตั้งจนเกิดเป็นเครื่อง อุตสาหกรรมอนื่ ๆ ไดอ้ กี ด้วย ตรวจนับจวิ เวลรที่ ่ีสามารถใชง้ านได้จริง

22 ITAP กับการยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย V-TURN นวัตกรรมแก้ไขปญั หาจราจร ด้วยแทน่ กลบั รถพอเพยี ง “V-Turn” บริษัท ซฟั ฟเิ ชยี นท์ จ�ำกัด ที่อยู่: 586/16,18 หมู่ 2 นิคมอตุ สาหกรรมบางปู ตำ� บลบางปใู หม่ อำ� เภอเมืองสมทุ รปราการ จังหวดั สมุทรปราการ 10280 โทรศัพท์ 0-2709-9183-4 [email protected] เปน็ ท่ีรกู้ นั ดีวา่ ปัญหาการจราจร V-TURN ติดขัดในกรุงเทพมหานครเป็น ปญั หาเร้อื รังที่มคี วามพยายาม หนึ่งในสาเหตุท่ีท�ำให้รถติดก็คือการชะลอตัว แก้ไขมาแสนนาน จะดแี ค่ไหนหาก ตรงจุดกลับรถ ทั้งจากการใช้ระยะตีวงกลับ มีนวัตกรรมทางวทิ ยาศาสตร์ รถทก่ี วา้ งหรอื การขาดความชำ� นาญในการขบั รถ เข้ามามีบทบาทในการจดั การ ทำ� ใหม้ กั จะเกดิ รถตดิ สะสมในจดุ กลบั รถตา่ งๆ ลดปัญหาเหลา่ นัน้ ได้อยา่ งมี แทน่ กลบั รถพอเพยี ง “V-Turn” คอื นวตั กรรม ประสิทธภิ าพ ชั้นเย่ียมจากบริษัท ซัฟฟิเชียนท์ จ�ำกัด ซ่ึง ได้ร่วมกับ ITAP และศูนย์บริการปรึกษาการ ออกแบบและวศิ วกรรม (DECC) สวทช.และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการออกแบบ กลไกเพ่ือสร้างต้นแบบของแท่นกลับรถ

Digital Economy 23 ที่สามารถน�ำมาใช้งานได้ในสภาพการจราจร แม้วา่ แท่นกลับรถพอเพียง “V-Turn” จะอยู่ จรงิ โดยแทน่ กลบั รถมลี ักษณะเป็นแทน่ หมุน ในช่วงของการท�ำต้นแบบเพื่อทดลองใช้งาน ซ่ึงผลิตจากอะลูมิเนียมมีหลักการท�ำงานโดย แต่ก็แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพการท�ำงาน อาศัยการออกแบบทางระบบเชิงกลโดยไม่ ได้อยา่ งยอดเยยี่ ม ดังนน้ั หากแทน่ กลับรถพอ ต้องใช้ไฟฟ้า ซ่ึงเมื่อรถยนต์ขับเคลื่อนผ่าน เพียงถูกน�ำมาใช้งานจริง เชื่อว่านวัตกรรมนี้ ทางไปจอดอยู่บนแท่นกลับรถแล้วแท่นจะ จะสามารถช่วยลดปัญหาจราจรของถนน ท�ำการหมุนวนไปทางขวา 90 องศา เพ่ือน�ำ สายหลักและลดการเกิดอุบัติเหตุบนท้อง รถยนต์หันกลับไปยังทิศทางเดิม เพื่อให้ ถนนซ่งึ เปน็ ปญั หาระดับชาตไิ ด้อยา่ งแนน่ อน สามารถขบั ลงจากแท่นตอ่ ไปได้

24 ITAP กับการยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย พลงั งานทดแทน สง่ เสริมพลังงานทดแทน เพ่อื ทางเลอื กใหม่ของ SME ไทย จากตวั อย่างธุรกจิ กล่มุ พลังงานทดแทน ภายใตก้ ารใหบ้ รกิ ารของ ITAP พลังงานทดแทน พลังงานที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่ การใช้พลังงานทดแทน นับเป็นแนวทางหน่ึง เป็นพลังงานที่ได้จากฟอสซิล เชน่ ถ่านหิน ในการลดการใช้พลังงานจากฟอสซิลซ่ึง ปโิ ตรเลยี มและแกส๊ ธรรมชาติ ซง่ึ เปน็ ทรพั ยากร เป็นการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมไปถึง ทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั นอกจากนนั้ การใชพ้ ลงั งาน เป็นการตอบสนองความต้องการในการใช้ จากฟอสซิลดังกลา่ ว ยงั กอ่ ให้เกดิ มลพิษและ พลงั งานใหไ้ ดอ้ ยา่ งเพยี งพอในปจั จบุ นั มกี ารวจิ ยั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปริมาณสูงท�ำให้ และพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆเพื่อน�ำพลังงาน เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกซึ่งเป็นสาเหตุ ทดแทนไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมให้ได้ ส�ำคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยต้นทุนท่ียอมรับ ของโลกรวมไปถงึ ภาวะโลกรอ้ นทสี่ ง่ ผลกระทบ ได้โดย ITAP ได้ให้การสนับสนุนโครงการ การด�ำเนินชีวิตและความเป็นอยู่ของเราทุก ท่ีเกี่ยวข้องกับพลังงานทดแทนในภาค คนบนโลก อตุ สาหกรรมของประเทศไทยเปน็ จำ� นวนมาก ยกตัวอย่างเช่น การออกแบบและติดต้ัง

Clean Tech 25 การเลอื กใชพ้ ลงั งานทดแทน กับอุตสาหกรรมการผลิตใน ปจั จุบนั ไม่ใช่เร่ืองยากอีกต่อไป มีการวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยี ใหมๆ่ จำ� นวนมาก เพอื่ ศกึ ษาและ ถา่ ยทอดการนำ� พลงั งานทดแทน ไปใชอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ดว้ ย ต้นทุนท่ียอมรับได้ และในบาง กรณยี งั เปน็ การลดตน้ ทนุ อกี ดว้ ย ผปู้ ระกอบการสมยั ใหมจ่ งึ ควร ศกึ ษาขอ้ มูลและปรบั ตัวเพอ่ื ใหท้ นั ต่อการเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยี และสามารถแขง่ ขันได้ ระบบผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากชีวมวลเพ่ือใช้ใน ผลิตไฟฟ้า จากตัวอย่างของโครงการที่ กระบวนการผลิตภาคอุตสาหกรรม (เช่น เก่ียวข้องกับพลังงานทดแทนดังกล่าวแสดง การต้มไม้หอม การอบปุ๋ย การอบข้ีเลื้อย ให้เห็นถึงศักยภาพของ ITAP ในการเป็น การอบทะลายปาล์ม การหลอมอะลูมิเนียม กลไกที่ช่วยผลักดันและส่งเสริมการใช้ เป็นต้น) การวิจัยและพัฒนาชุดผลิตไฟฟ้า เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพลังงาน ส�ำหรับจานรวมแสงอาทิตย์ การปรับปรุง ทดแทนในทกุ ภาคส่วนของประเทศไทย ไมว่ า่ และเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตไบโอดีเซล จะเป็นภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร รวมไปถงึ การศกึ ษาความเปน็ ไปไดใ้ นการผลติ รวมไปถึงวสิ าหกจิ ชมุ ชน นบั เปน็ สว่ นหนง่ึ ใน ไบโอดเี ซลจากวตั ถดุ บิ ใหม่ (เชน่ ถว่ั ดาวอนิ คา) การขบั เคลอ่ื นประเทศไปสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน การออกแบบและกอ่ สรา้ งระบบบำ� บดั นำ�้ เสยี และเปน็ มิตรต่อส่งิ แวดล้อม และผลิตก๊าซชวี ภาพ การสรา้ งตน้ แบบระบบ ผลิตไอน�้ำจากเตาเผาขยะชุมชนส�ำหรับ

26 ITAP กับการยกระดบั เทคโนโลยขี อง SMEs ไทย CARBON FOOTPRINT โอกาสใหม่ของธรุ กจิ รักษ์สงิ่ แวดล้อม จากตัวอยา่ งธุรกจิ กล่มุ อนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ภายใตก้ ารให้บริการของ ITAP CARBON FOOTPRINT การผนวกกระแสอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเข้ากับ ส่ิงแวดลอ้ ม ท่นี า่ จบั ตามอง ITAP และ MTEC การส่งเสริมทางการค้าไม่ใช่เรื่องใหม่ส�ำหรับ สวทช.มีความร่วมมือกับองค์การบริหาร วงการธุรกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในปัจจุบัน จัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) สินค้าบางรายการมีการติดฉลากแจ้งใน เพ่ือจัดท�ำโครงการส่งเสริมการติดฉลาก ผลิตภัณฑ์ถึงปริมาณทรัพยากรท่ีใช้ไป คาร์บอนฟุตพริ้นท์บนผลิตภัณฑ์ โดยค�ำนวน ระหว่างการผลิตสินค้าชิ้นน้ันๆ เพื่อเป็นทาง ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ เลือกให้แก่ผู้บริโภคท่ีค�ำนึงถึงการใช้ ผลิตภัณฑ์และออกแบบแสดงเป็นตัวเลข ผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ภายใต้เคร่ืองหมายรับรองคาร์บอนฟุตพริ้นท์ น้อยท่ีสุด เพ่ือส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสามารถแจ้ง ข้อมูลให้ผู้บริโภคทราบถึงปริมาณก๊าซเรือน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลให้เกิด กระจกที่ปล่อยออกจากสินค้าแต่ละชนิด สภาวะโลกร้อนถือเป็นหนึ่งในกระแส ตลอดกระบวนการผลิตและการขนส่ง

Clean Tech 27 ปัจจบุ ันปัญหาท่ีเกดิ ข้ึนจาก ภาวะโลกร้อนเปน็ เรอ่ื งท่ีใกลต้ วั และสง่ ผลกระทบตอ่ ผ้บู รโิ ภค มากขน้ึ เร่อื ยๆ ทำ� ใหเ้ กดิ ความ รว่ มมือในระดับโลก และท�ำให้ มกี ลุ่มผู้บริโภคที่ใหค้ วามส�ำคัญ ในเลือกซอ้ื สนิ ค้าทีเ่ ป็นมิตรต่อ ส่ิงแวดล้อมและใส่ใจกบั ฉลาก CARBON FOOTPRINT เพ่ิมมากขนึ้ จนถึงการใช้งานผลิตภัณฑ์ว่ามีมากน้อย นอกจากการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ แคไ่ หน ซง่ึ ขอ้ มลู ดังกล่าวถือเป็นตัวช่วยใน องค์กรในเรื่องการใส่ใจและรับผิดชอบต่อ การตัดสินใจของผู้บริโภคในการเลือกซ้ือ ส่ิงแวดล้อมแล้วฉลากคาร์บอนฟุตพร้ินท์ยัง สนิ ค้าทีเ่ ปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดล้อมได้ ช่วยให้ ผู้ประกอบการได้รับทราบถงึ ขอ้ มลู ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ผลติ ภณั ฑไ์ มว่ า่ จะเปน็ ขอ้ มลู ดา้ นพลงั งาน ขอ้ มลู ดา้ นกจิ กรรม การผลิตข้อมูลของบรรจุภัณฑ์ และข้อมูล การขนส่งวัตถุดิบ/ของเสีย เป็นต้น แสดงให้ เห็นถึงประโยชน์ในวงกว้างของโครงการ ส่งเสริมการติดฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ท้ัง กับผูป้ ระกอบการและผู้บรโิ ภค

28 ITAP กับการยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย ยางพาราไทย เพ่มิ การใช้ เพ่มิ มูลคา่ ยางพาราไทย ด้วยงานวิจัยและพัฒนาการแปรรูป จากตวั อยา่ งธรุ กจิ กลมุ่ ยางพารา ภายใตก้ ารให้บรกิ ารของ ITAP ปจั จบุ นั มลู คา่ ส่งออกใน ยางพาราไทย อุตสาหกรรมยางพาราของไทย เป็นการขายยางแผ่นท่มี ีมูลค่า ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เศรษฐกิจของ เพ่ิมต่ำ� และราคาผนั ผวนตาม ประเทศจีนซึ่งถือเป็นผู้บริโภคยางอันดับหน่ึง ราคาตลาดโลก การส่งเสรมิ การ ของโลกเกิดการชะลอตัวลงอย่างชัดเจน ใน วจิ ัยและพัฒนาการแปรรูป ฐานะท่ีประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกยางซ่ึงได้รับ ยางพาราแก่ผู้ประกอบการน้นั ผลกระทบโดยตรง ภาครัฐจึงเร่ิมมีนโยบาย จงึ เป็นการสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้ การแก้ไขปัญหายางล้นตลาดและเร่งการส่ง กบั อตุ สาหกรรมยางในประเทศ ออกมากข้ึน และเป็นการช่วยเหลอื ทางออ้ ม บริษทั วฒั นชัยรับเบอร์เมท จำ� กดั คอื หน่งึ แกเ่ กษตรกรชาวสวนยางไป ในบริษัทถุงมือยางท่ีเข้าร่วมกับทาง ITAP พรอ้ มๆ กนั เพ่ือให้ปรับปรุงกระบวนการการผลิตให้ ทัดเทียมกับยุคอุตสาหกรรม 4.0 เน่ืองจาก

Clean Tech 29 เคร่ืองจักรตัวเก่าท่ีใช้แรงงานคนนั้นยังมี จนสามารถหลอมรวมกลับมาใช้ได้อีกคร้ัง ประสทิ ธภิ าพไมเ่ พยี งพอ การท่ี ITAP สนบั สนนุ สร้างสูตรยางปูพื้นใหม่ท่ีมีลักษณะยืดหยุ่นดี ให้น�ำ semi-automation เข้าไปพัฒนาให้ และมีคุณภาพ เครอ่ื งจกั รรวดเรว็ ขนึ้ และลดการใชพ้ ลงั งานลง จากการท่ี ITAP เขา้ ไปชว่ ยเหลือธรุ กจิ คา้ ยาง ส่งผลให้ 5 ปีที่ผ่านมา บริษัทสามารถเพิ่ม รายย่อย นอกจากจะเป็นการช่วยเพ่ิมการ ยอดขายไดเ้ ปน็ 2 เท่า และมียอดสง่ ออกกวา่ บริโภคยางพาราให้มากขึ้นโดยการแปรรูป 90% ใน อเมริกา ยุโรป ออสเตรเลยี และจนี ยางเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆและเพ่ิมการส่งออก นอกจากน้ี ITAP ยังช่วย บริษัท บินดาริส ยังสามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่าและ รับเบอร์กรีน จ�ำกัด น�ำเศษยางท่ีเคยเป็น ช่วยลดปัญหามลพิษจากขยะยางซ่ึงเป็น ขยะกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัญหาใหญอ่ ันหนึ่งดว้ ย โดยนำ� เศษยางไปบดและแปลงเปน็ สารตวั เตมิ

30 ITAP กบั การยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย UPCYCLING เปลีย่ นขยะไรร้ าคา สสู่ นิ คา้ เพื่อไลฟส์ ไตล์ จากตวั อยา่ งธรุ กจิ กลมุ่ วสั ดเุ หลือใช้ ภายใต้การให้บริการของ ITAP UPCYCLING ในแต่ละปีภาคการผลิตของไทย มีการผลิต ITAP ร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์ สนิ คา้ จำ� นวนมากและนำ� มาซง่ึ ปญั หาเศษวสั ดุ สร้างสรรค์งานออกแบบเพื่อส่ิงแวดล้อม เหลอื ใชจ้ ากกระบวนการผลติ มากถงึ ปลี ะ 19-25 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ล้านตันต่อปี โดยเศษวัสดุเหล่านี้จ�ำนวนมาก เกษตรศาสตร์ ริเริ่มโครงการอัพไซคล่ิง ทยี่ งั ไมถ่ ูกนำ� มาใช้ประโยชน์ ทำ� ให้เกิดตน้ ทุน (Upcycling) ซง่ึ เปน็ การแปลงเศษวสั ดเุ หลอื ใช้ การจดั เก็บ และ มกี ารก�ำจดั ทไี่ ม่ได้มาตรฐาน ให้เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีคุณภาพ มีมูลค่าสูง ซึ่งสร้างมลพิษให้กับส่ิงแวดล้อม ท�ำให้เร่ิมมี และรักษาสิง่ แวดล้อมมากขนึ้ โดยโครงการนี้ ผู้ประกอบการจ�ำนวนมากที่ตระหนักและ เปน็ การชว่ ยสรา้ งผลติ ภณั ฑด์ ว้ ยกระบวนการ มองหาการจดั การวสั ดเุ หลอื ใชด้ งั กลา่ ว เพอ่ื ให้ ที่ไม่ซับซ้อนและสามารถขายได้จริงใน เกดิ มลู ค่ากลับสกู่ ิจการ ท้องตลาด นับเป็นการแก้ปัญหาที่ชาญฉลาด ในการช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมจากขยะ อุตสาหกรรม ท้ังยังเพิ่มรายได้จากสินค้า

Clean Tech 31 ประเภทใหม่ให้แก่ผู้ประกอบการอีกด้วย ปญั หาขยะท่เี กิดจากภาค ผลิตภัณฑ์ตัวอย่างจากโครงการ ได้แก ่ อตุ สาหกรรมถือเปน็ ปัญหา เชิงเทียนรูปหอเอนปิซ่า ท่ีพัฒนาโดยการน�ำ สิ่งแวดล้อมท่สี ่งผลกระทบ เศษเหล็กท่ีมีจังหวะการเรียงตัวของช่องว่าง ในวงกวา้ ง อกี ท้งั ยงั เปน็ ปัญหา ที่เท่ากัน มาบิดเกลียวด้วยองศาที่เหมาะสม ส�ำคัญของผู้ประกอบการใน ตามหลกั คณติ ศาสตร์ ไดผ้ ลลพั ธเ์ ปน็ เชงิ เทยี น การจดั เกบ็ หรอื กำ� จดั ท้ิง ที่มีรูปทรงคล้ายหอเอนเมืองปิซา มีท้ัง แตจ่ ะดีแค่ไหน ถา้ เรามีเครอื่ งมอื ความสวยงามและใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เหมาะสำ� หรบั วเิ ศษทีส่ ามารถเปล่ียนจาก เปน็ ของตกแตง่ ทอ่ี ยูอ่ าศัย เป็นต้น “ขยะไรร้ าคา” เหลา่ น้ันมาเปน็ “สนิ คา้ ทำ� เงนิ ” อกี คร้ัง

32 ITAP กับการยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย ELDERLY CARE PRODUCT ใส่ใจอนาคต ใส่ใจผลิตภัณฑ์ เพ่ือผู้สูงอายุ จากตวั อยา่ งในโครงการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ ตามแนวคิดเศรษฐกจิ สรา้ งสรรคส์ ำ� หรับผ้สู งู อายุ ภายใตก้ ารให้บริการของ ITAP เนอื่ งดว้ ยวิทยาการทางการ ELDERLY CARE PRODUCT แพทยท์ ีพ่ ฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง เป็นปจั จยั หลักทท่ี �ำใหม้ ีจ�ำนวน โครงการ“พัฒนาผลิตภัณฑ์ตามแนวคิด ผสู้ งู อายุเพม่ิ มากขน้ึ การรองรบั เศรษฐกิจสร้างสรรค์ส�ำหรับผู้สูงอายุ” โดย สถานการณ์ “สังคมผู้สูงอายุ โปรแกรม ITAP สวทช. ได้รับความร่วมมือ โดยสมบูรณ์” ในอนาคต จากกลุ่มวิจัยและพัฒนาเพื่อความเป็นอยู่ จึงเปน็ สง่ิ จำ� เป็นท่ตี ้องค�ำนงึ ถึง ท่ีดีของผู้สูงอายุ (ABLE Lab) คณะ ผู้ประกอบการคา้ และการให้ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ บรกิ ารหลายรายจงึ เร่มิ เน้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ผลติ ภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ลกู ค้า ธนบุรี (มจธ.) เป็นผู้เช่ียวชาญในโครงการ ผูส้ งู อายุมากขึ้น ตามแนวโน้ม โดยมีทีมงานที่มีประสบการณ์และ ของโลก เชี่ยวชาญด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ทเ่ี ปล่ยี นไป ส�ำหรับผู้สูงอายุเข้าร่วมให้ค�ำปรึกษา แก่ SMEs ตวั อยา่ ง เชน่ กลอ่ งขา้ วสำ� หรบั บรษิ ัท ไบโอฟอรม์ จ�ำกัด

Health Lifestyle and Aging Society 33 ผู้สูงอายุของบริษัท ไบโอฟอร์ม จ�ำกัด ซ่ึง ผเู้ ลน่ ออกแรงไมม่ ากและเคลอ่ื นไหวไมย่ ากจน พัฒนาพลาสติกชีวภาพ (Bio-Plastic) เกินไป ทีจ่ ับสะดวก ผู้สงู อายุไม่จำ� เปน็ ต้องใช้ ออกแบบเป็นกล่องข้าวที่ค�ำนึงถึงหลัก รองเทา้ กฬี าขณะเลน่ นบั เปน็ การลดอปุ สรรค สรีรวิทยาของผู้สูงอายุในการหยิบจับกล่อง ในการออกกำ� ลงั กายโดยทผ่ี สู้ งู อายยุ งั สามารถ ขา้ วและการเปดิ /ปดิ ฝาทใ่ี ชแ้ รงในการจบั นอ้ ย เพลิดเพลินไปกับกิจกรรมอื่นระหว่างการ ถูกออกแบบ ให้สามารถใชเ้ กบ็ อาหารและอุ่น ออกกำ� ลงั กายได้ อกี ทง้ั ยงั มเี ฟอรน์ เิ จอรส์ ำ� หรบั ในเตาไมโครเวฟได้ พร้อมที่จะแปรสภาพ ผู้สูงอายุจากบริษัท อุตสาหกรรมดีสวัสด์ิ เป็นจานที่ใชร้ บั ประทานได้ทนั ที จ�ำกัด อาทิ เช่น เก้าอี้น่ังเพื่อรองรับสรีระ นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ออกก�ำลังภายในบ้าน ร่างกายทเี่ หมาะสมส�ำหรบั สำ� หรบั ผ้สู งู อายจุ ากบริษทั มาราธอน จ�ำกดั ผสู้ ูงอายุอีกด้วย โดยเครื่องออกก�ำลังกายน้ีถูกออกแบบให้ บรษิ ัท อุตสาหกรรมดีสวสั ด์ิ จำ� กดั

34 ITAP กบั การยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย เคร่ืองมอื แพทย์ไทยสู่ตลาดโลก เทคโนโลยีเครอื่ งมือแพทย์ไทย สูม่ าตรฐานระดบั โลก จากตัวอย่างธรุ กจิ กลุ่มเครื่องมอื แพทย์ ภายใต้การใหบ้ ริการของ ITAP เคร่ืองมือแพทย์ไทยส่ตู ลาดโลก แม้ว่าที่ผ่านมารัฐบาลจะให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ SME ไทยในกลุ่มเครื่องมือแพทย์ ประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลางทางการ ในการวิจัย ออกแบบ ปรับปรุงและพัฒนา แพทย์ของเอเซีย (Medical Hub of Asia) ผลติ ภัณฑ์ให้ไดม้ าตรฐานสากล ท้ังมาตรฐาน เน่ืองด้วยความพร้อมในหลายประการ แต่ ของยุโรป (CE-mark) หรือมาตรฐานของ ความสามารถในการแข่งขันทางการแพทย์ อาเซยี นตาม CSDT (Common Submission ของไทย ยังถูกจ�ำกัดด้วยเทคโนโลยีทางการ Dossier Template) นอกจากน้ยี ังช่วยเหลอื แพทย์ทั้งในส่วนของเคร่ืองมือแพทย์และยา และสนับสนุนผู้ประกอบการในการพัฒนา ท่ียังไม่สามารถผลิตเองได้ในประเทศตาม ผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น การวางออกแบบและ มาตรฐานสากล ปรับปรุงวิธีการสร้างหลอดฉีดยาแก้ว หรือ เพื่อให้ผู้ประกอบการไทยสามารถแข่งขันใน การออกแบบเครอื่ งปอ้ งกนั การนอนกรน และ ตลาดโลกไดม้ ากขึ้น ITAP จึงเร่งส่งเสริมและ สร้างสรรค์ผลติ ภณั ฑ์อ่ืนๆ อีกมากมาย

Health Lifestyle and Aging Society 35 โดยการสนบั สนนุ ในดา้ นตา่ งๆ ของ ITAP น้ี สง่ การผลักดันให้ประเทศไทยเปน็ ผลใหค้ นไทยสามารถนำ� ผลติ ภณั ฑส์ ง่ ออกไปยงั Medical Hub of Asia หรอื ตา่ งประเทศตามเกณฑแ์ ละกฏหมาย ยอดขาย การยกระดบั ผู้ประกอบการ เพมิ่ ขน้ึ แกบ่ รษิ ทั รวมไปถงึ สรา้ งความเชอื่ มน่ั ถงึ เคร่อื งมอื แพทยข์ องไทยให้ ความสามารถของเทคโนโลยีทางการแพทย์ สามารถส่งออกได้ สงิ่ ส�ำคัญคอื ของไทยใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ไปทวั่ โลก การยกระดับมาตรฐาน ผลิตภณั ฑ์และมาตรฐานการ ผลิต ใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ในระดบั สากล เช่น CE-mark, CSDT และ ISO13485 เปน็ ตน้

36 ITAP กับการยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย ลิปดอกเกลือทะเล ชว่ ยเกษตรกรไทย สรา้ งมูลคา่ นาเกลือดว้ ยนวัตกรรม บรษิ ัท คล่อง จ�ำกัด 42 ซอยอนิ ทามระ 19 ถนนสุทธสิ ารวินิจฉยั แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท์ : 086-3694759 การทำ� นาเกลอื เป็นอาชีพที่ใกล้ ลปิ ดอกเกลือทะเล สญู หาย จากสภาพปจั จบุ ันท่ี ผู้บริโภคหันไปเลือกซือ้ เกลอื ตาม ทรัพยากรล้�ำค่าอย่างหนึ่งของชาวนาเกลือที่ หา้ งสรรพสนิ คา้ และซปุ เปอรม์ าเกต็ น้อยคนนักจะรู้จักคือ “ดอกเกลือทะเล” มากขึน้ ท�ำใหอ้ าชีพนาเกลือมี ชาวนาเกลอื สว่ นใหญจ่ ะเกบ็ เอาไวใ้ ชบ้ รโิ ภคเอง รายไดล้ ดลง ในขณะทคี่ า่ ครองชพี เนอื่ งจากมคี วามเชอื่ วา่ มแี รธ่ าตทุ เ่ี ปน็ ประโยชน์ นับวนั จะสูงขึ้นเรอื่ ยๆ ท�ำใหค้ น ตอ่ ผวิ หนงั ผลจากการวเิ คราะหใ์ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร รนุ่ ใหม่ไมส่ นใจจะทำ� อาชพี นาเกลอื พบว่า ดอกเกลือทะเลมีแมกนีเซียมคลอไรด์ อยา่ งไรกด็ ี หากเราสามารถ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อร่างกายเป็นจ�ำนวนมาก สร้างสรรคน์ วัตกรรมให้กบั เกลือ สามารถชว่ ยกกั เกบ็ ความชน้ื ลดความหยาบกรา้ น เพอื่ เพ่มิ มลู คา่ และพัฒนาเปน็ และการอักเสบของผิวหนัง การแปรรูปดอก ผลติ ภณั ฑต์ ่างๆ ไดก้ จ็ ะท�ำให้ เกลือทะเลนับเป็นวิธีที่ช่วยท�ำให้ดอกเกลือ อาชพี นาเกลอื ไม่ไดเ้ ป็นเพียงแค่ ทะเลเป็นท่ีรู้จักแพร่หลายมากยิ่งขึ้น และ การขายเกลอื อกี ตอ่ ไป เป็นการเพ่ิมมลู ค่าของดอกเกลอื ทะเล

Health Lifestyle and Aging Society 37 ITAP ไดเ้ ขา้ ไปชว่ ยเหลอื บรษิ ทั คล่อง จำ� กัด ปจั จบุ นั บรษิ ทั คลอ่ ง จำ� กดั ไดว้ างแผนพฒั นา ด้านการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยน�ำดอก และเพ่ิมสายการผลิตเคร่ืองส�ำอางประเภท เกลือทะเลมาแปลงเป็นเครื่องส�ำอางด้วย อนื่ ๆ จากเกลอื ทะเลอกี เปน็ จำ� นวนมาก อาทเิ ชน่ นวตั กรรมการกกั เกบ็ สารละลายดอกเกลอื ทะเล เกลือสปา สบู่ ครีมอาบน�้ำ ครีมล้างมือ ผสมผสานเข้ากับเน้ือลิปบาล์มจนกลายเป็น เป็นต้น แสดงให้เห็นว่า ITAP ช่วย เนอ้ื เดยี วกนั เกดิ เปน็ ลปิ บาลม์ ทใ่ี หค้ วามชมุ่ ชน้ื เปิดช่องทางธุรกิจใหม่ๆ ให้แก่ผู้ แกร่ มิ ฝปี ากเปน็ พเิ ศษ นอกจากนน้ั ITAP ยังให้ ประกอบการ รวมท้ังช่วยส่งเสริม ความช่วยเหลือด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ รายได้ให้แก่ชาวนาเกลือด้วย ให้ดูสวยงามทันสมัย เหมาะแก่การพกพา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ เพอื่ เจาะกลมุ่ ผู้หญงิ วัยร่นุ ถึงวยั ทำ� งาน นวตั กรรม

38 ITAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยขี อง SMEs ไทย ผกั ตบชวา กระเปา๋ ดีไซนส์ วยจากผักตบชวา สำ�หรบั คนรกั ษ์สิง่ แวดลอ้ ม บรษิ ัท ทีวี อาลาคารต์ จำ� กัด 1055/822 อาคารสเตททาวเวอร์ ชนั้ 36 ถนนสีลม เขต/อ�ำเภอ บางรัก จังหวัดกรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 083-8177771 www.tvalacarte.org โดยปกติ เมื่อเรานกึ เปรยี บเทยี บ ผักตบชวา ประสทิ ธิภาพจากการยอ้ มวสั ดุ ต่างๆ ดว้ ย สีจากเคมีกบั สีจาก หลายคนคงจะเคยได้ยินกันมาบ้างเกี่ยวกับ ธรรมชาติ เราจะคุน้ เคยวา่ วัสดุ ผลงานกระเป๋าผักตบชวาที่แปลงเศษผัก ท่ยี อ้ มดว้ ยสีธรรมชาติจะซดี จาง ซงึ่ เปน็ ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มใหก้ ลายเปน็ กระเปา๋ ถอื งา่ ยกวา่ หรอื กลวั ว่าสีจะตก มูลค่าใบละหลายหมื่นบาทได้ อย่างไรก็ตาม เป็นไปไม่ได้หรอื ทเี่ ทคโนโลยีและ กระเปา๋ ดงั กลา่ วมกั มปี ญั หาเรอ่ื งสซี ดี จางหลงั การ นวัตกรรมจะสามารถสร้างสรรค์ ใชง้ านไปไมน่ าน บรษิ ทั ทวี ี อาลาคารต์ จำ� กดั สจี ากธรรมชาตทิ ่ยี ดึ ตดิ ไดด้ ี ผู้ให้การสนับสนุนการผลิตกระเป๋าผักตบชวา ลดปญั หามลพิษ และ สรา้ งจดุ ขายใหก้ ับ จึงพยายามมองหาลู่ทางในการ ผลติ ภัณฑ์ แก้ไขและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ เพ่ือป้องกันความเสียหายที่จะ เกดิ ขึ้นตอ่ ภาพลักษณข์ องสินค้า

Health Lifestyle and Aging Society 39 บริษัทมีความมุ่งม่ันท่ีจะพัฒนาผลิตภัณฑ์ คุณสมบัติสะท้อนน�้ำ ท�ำให้กระเป๋ากันน้�ำ ผ่านการขอรับการสนับสนุนโครงการผ่าน ไมเ่ ปียกงา่ ยอีกดว้ ย ITAP โดยการปรับเปลี่ยนเทคนิคการผลิต เส้นใยและรูปแบบการทอร่วมกับการใช้วัสดุ แม้ว่าการใช้สีย้อมธรรมชาติจะท�ำให้สีสัน อ่ืนๆ เพ่ือให้สามารถขึ้นรูปทรงกระเป๋าและ ของผลิตภัณฑ์ดูไม่ฉูดฉาดเหมือนอย่างเดิม ลวดลายที่แปลกใหม่ได้หลากหลายมากข้ึน แต่ก็ถือว่าเป็นสีสันเฉดใหม่ท่ีดูดีมีระดับ การย้อมเส้นใยผักตบชวาด้วยสีธรรมชาติ ไปอีกแบบ นอกจากนั้นยังช่วยลดมลพิษ แทนสเี คมี กเ็ ปน็ อกี สง่ิ ทป่ี รบั เปลยี่ นภาพลกั ษณ์ จากการใช้สารเคมีในการท�ำกระเป๋าถือ ผลิตภัณฑ์กระเป๋าของบริษัทนอกจากนี้ยังมี เป็นการช่วยลดภาระให้แก่สิ่งแวดล้อมอีก การใช้เทคโนโลยีเคลือบกระเป๋าด้วยสารท่ีมี ทางหน่ึงดว้ ย

40 ITAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยขี อง SMEs ไทย THAIGAP สู่ตลาดโลกอยา่ งมน่ั ใจ ดว้ ยมาตรฐานไทยเพอ่ื เกษตรกร จากตัวอยา่ งธุรกิจกลมุ่ เกษตรกรรม ภายใต้การใหบ้ ริการของ ITAP THAIGAP มาตรฐานทางการเกษตรซ่ึงเป็นท่ียอมรับกัน “ThaiGAP” ซึ่งมีข้อก�ำหนดเป็นภาษาไทย ทวั่ โลกมาตรฐานหนงึ่ คอื มาตรฐาน “จี เอ พ”ี ท�ำให้ผู้ประกอบการไทยสามารถเข้าใจและ (GAP – Good Agricultural Practice ซึ่ง ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดได้ง่ายกว่าการใช้ แปลความหมายได้ว่า การปฏิบัติทางการ มาตรฐานของต่างประเทศ เกษตรท่ีดี) เป็นการก�ำหนดระบบตรวจสอบ ITAP ไดร้ ว่ มกบั สภาหอการคา้ แหง่ ประเทศไทย และควบคมุ คุณภาพในการผลิต ทค่ี รอบคลมุ ด�ำเนินโครงการความร่วมมือ “การยกระดับ ต้ังแต่การบริหารจัดการฟาร์มและพื้นท่ี และพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการด้าน เพาะปลูก รวมไปถึงการจัดการพันธุ์พืช ดิน สินค้าผักและผลไม้เพ่ือเตรียมความพร้อมสู่ น�้ำ ปุ๋ย และการจัดการศัตรูพืช พร้อมทั้งมี AEC ด้วย ThaiGAP” โดยมีผลส�ำเร็จคือ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) สนับสนนุ ผู้ประกอบการจ�ำนวน 17 รายใหม้ ี ส�ำหรับประเทศไทย มีมาตรฐานการปฏิบัติ การพัฒนาศักยภาพจนสามารถผ่านการ ทางการเกษตรท่ีดีของภาคเอกชน ในนาม

Agriculture and Food Innovation 41 ความปลอดภัยของผลิตผล ทางการเกษตรที่ดี จะสง่ ผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี องคนในประเทศ และความปลอดภยั ดงั กลา่ วยงั เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ท่ีผูบ้ รโิ ภคคำ� นึงถึง ในการเลอื กซอื้ สินคา้ โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ในกลุ่มบรโิ ภคที่ใส่ใจ สุขภาพและตระหนักถงึ ภยั จาก การตกคา้ งของสารเคมกี ำ� จดั แมลง ศตั รพู ชื ซง่ึ พฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภค กล่มุ น้จี ะเลือกซ้ือสินค้าทม่ี ตี รา รับรองตา่ งๆ เพ่ือให้เกดิ ความ ม่ันใจในการบริโภค รับรองมาตรฐาน ThaiGAP ท�ำใหผ้ ู้ประกอบ ความส�ำเร็จของผู้ประกอบการท่ีเข้าร่วม การสามารถนำ� เครื่องหมาย ThaiGAP ไปติด โครงการแสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญของ บนฉลากของสินค้าผักและผลไม้ของผู้ มาตรฐาน ThaiGAP ซงึ่ ชว่ ยเพม่ิ คณุ ภาพ ใหแ้ ก่ ประกอบการได้ นอกจากน้ันผู้ประกอบการ สินค้าผักและผลไม้ของไทยให้มีมาตรฐาน ยังได้รับบาร์โค้ดสองมิติในรูปแบบของรหัส เป็นที่ยอมรับได้ในระดับสากล นอกจากจะ ควิ อาร์ (QR Code) ประจ�ำตัว ซง่ึ รหสั ควิ อาร์ เป็นการเพิ่มยอดขายในประเทศแล้วผู้ ดังกล่าวจะมีข้อมูลเช่ือมต่อกับระบบติดตาม ประกอบการยังมีโอกาสในการส่งออกสินค้า พ้ืนที่การผลิตโดยการใช้เทคโนโลยีระบบ ไปสู่ตลาดต่างประเทศด้วยความม่ันใจใน สารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic คุณภาพและความปลอดภัยของผักและ Information System หรือ GIS) ร่วมกับ ผลไม้ไทยตามมาตรฐาน ThaiGAP แผนท่ดี จิ ติ อลแบบออนไลน์

42 ITAP กบั การยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย SEED COATING รักษาคณุ ค่าเมลด็ พนั ธุ์ เพอ่ื ธรุ กิจเกษตรกรรมท่ยี ัง่ ยืน บริษทั เซเรส อินเตอรเ์ นช่ันแนล จำ� กัด อาคารเพรสิเด้นท์ ทาวเวอร์ เลขที่ 971, 973 ถนนเพลินจติ แขวงลุมพนิ ี เขตปทมุ วนั กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 094-4195565 [email protected] SEED COATING ปัญหาส�ำคัญอีกประการของการผลิตเมล็ด ความเหมาะสม มีสารพิษตกค้างในสภาพ พนั ธ์คุ ือ การป้องกนั โรคและแมลงทตี่ ดิ มากบั แวดล้อม และเปน็ อนั ตรายต่อเกษตรกร เมล็ดพันธุ์ หรือโรคแมลงท่ีเข้าท�ำลายใน เทคโนโลยีการรักษาคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ ระยะต้นกล้า วิธีเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน อีกอย่างคือการเคลือบเมล็ดพันธุ์ (Seed เป็นการคลุกสารเคมีกับเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูก Coating) โดย ITAP ได้ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ เพื่อป้องกันศัตรูพืช ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายต่อการ จากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ปฏิบัติ แต่สารเคมีมักหลุดร่วงจากเมล็ดใน สนับสนุน บริษทั เซเรส อนิ เตอรเ์ นชั่นแนล ระหว่างการขนย้าย และน�ำเมล็ดไปปลูก จ�ำกัด ในการวิจัยและพัฒนาสูตรสารเคลือบ หรือถูกชะล้างง่ายในระหว่างการให้น้�ำ ชนิดใหม่ท่ีผสมสารจ�ำเป็นต่างๆ ส�ำหรับพืช ชลประทานท�ำให้เมล็ดพันธุ์ได้รับสารป้องกัน เช่น ฮอร์โมนพืช เพื่อให้เมล็ดสามารถดูดซึม โรค – แมลง ไม่เพียงพอ การป้องกันโรค สารดังกล่าวไปใช้ได้ในขณะที่เมล็ดก�ำลัง แมลงจงึ ไม่ได้ผล หรอื ต้องใชส้ ารเคมีมากเกิน

Agriculture and Food Innovation 43 คุณภาพของเมล็ดพันธ์ุเป็น ปัจจัยสำ� คัญประการหน่ึง ของอุตสาหกรรมการเกษตร หากผผู้ ลติ รายใดมเี มลด็ พนั ธ์ุ คณุ ภาพสงู อยู่ในมอื ก็สามารถ รบั รองคุณภาพที่ดขี องผลผลติ และรายไดท้ จี่ ะไดร้ ับ และเพ่ือ เกบ็ รกั ษาคุณภาพของเมลด็ พนั ธุ์ที่ดี เกษตรกรจงึ จำ� เปน็ ตอ้ งหาวธิ กี ารท่ดี ีท่ีสดุ ที่จะ ช่วยรักษาคุณภาพ ของเมล็ดพันธุ์ไว้ให้ได้ เติบโตไปเป็นต้นอ่อน นอกจากนั้นฮอร์โมนท่ี ผลส�ำเร็จท่ีเกิดจากโครงการน้ีถือได้ว่า ผสมในสารเคลือบ ยังทำ� ให้รากของต้นอ่อนมี เ ป ็ น ก า ร ส ร ้ า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ใ ห ม ่ ใ ห ้ กั บ ความยาวมากกว่าเมลด็ ทไี่ ม่เคลอื บดว้ ย อุตสาหกรรมการเกษตรของประเทศไทย สารเคลือบท่ีได้ใหม่สามารถรักษาคุณภาพ การงอกของเมล็ด และสามารถเพิ่มเติมสาร ส�ำคัญเข้าไปในเมล็ด ช่วยสร้างพันธุ์พืชท่ี สมบูรณ์แข็งแรงยิ่งกว่าเดิมและสร้างความ สามารถทางการแข่งขันให้แก่เกษตรกรไทย ไดใ้ นตลาดโลก

44 ITAP กับการยกระดบั เทคโนโลยขี อง SMEs ไทย LOW LACTOSE MILK นมสายพนั ธุ์ใหม่ ทางเลอื กเสริมสำ�หรบั ผู้แพ้นมววั บริษัท แดรโ่ี ฮม จำ� กดั 100/1 หมู่ 11 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลพญาเย็น อำ� เภอปากชอ่ ง จงั หวัดนครราชสีมา 30320 ประเทศไทย โทรศัพท์ 089-8019988 ตลาดนมในปัจจบุ นั มผี ้คู ้า LOW LACTOSE MILK รายใหญ่ในสนามแข่งขนั เปน็ จำ� นวนมากอยูแ่ ลว้ ดังนัน้ “นม” คอื เครอ่ื งดมื่ จากธรรมชาตเิ ปย่ี มคณุ คา่ แทบจะเป็นไปไม่ไดเ้ ลยท่ีผคู้ า้ นม ทางสารอาหารทเี่ ดก็ และผใู้ หญน่ ยิ มบรโิ ภคกนั รายยอ่ ยใหม่ๆ จะสามารถ มานาน แต่ส�ำหรับหลายคนเครื่องดื่มที่ดูไม่มี ชว่ งชิงพน้ื ที่ในตลาดได้ แตส่ ิ่งที่ พิษมีภัยน้ีสามารถท�ำให้เกิดอาการแพ้ใน เราทำ� คอื การน�ำวทิ ยาศาสตร์ ลกั ษณะทอ้ งเดนิ (Lactose Intolerance) โดย และนวัตกรรมเข้ามาปรงุ ใน สาเหตเุ กดิ จากรา่ งกายไมส่ ามารถยอ่ ยนำ�้ ตาล ผลติ ภณั ฑน์ ม เกิดเป็นส่วนผสม แลคโตสในนำ้� นมได้ ในตา่ งประเทศนน้ั ไดม้ กี าร ใหมท่ ี่มีความ ‘แตกตา่ ง’ และ หาโอกาศทางการตลาดโดยผลติ ผลติ ภณั ฑน์ ม โดดเดน่ ได้ในตลาดนม สำ� หรบั ผทู้ แ่ี พน้ มววั มานานแลว้ ในขณะทไ่ี ทยมี เพยี งการนำ� เขา้ จากตา่ งประเทศเพอื่ จำ� หนา่ ย เทา่ นน้ั นมสำ� หรบั ผทู้ แ่ี พน้ มววั ในไทยจงึ มรี าคา สงู กวา่ ราคานมทว่ั ไปอยา่ งชดั เจน

Agriculture and Food Innovation 45 ITAP ผนึกก�ำลังกับผู้เช่ียวชาญจากส�ำนัก การท่ีนักวิจัยไทย สามารถต่อยอดผลิต วิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย เอนไซม์เพื่อการค้าได้เองโดยท่ีไม่ต้องซื้อ เทคโนโลยีสุรนารีและบริษัท แดร่ีโฮม เอนไซม์ส�ำเร็จรูปจากต่างประเทศ ท�ำให้ จ�ำกัด ร่วมกับนักวิจัยไทยเพ่ือผลิตนมพาส บรษิ ทั แดรี่โฮม จ�ำกัด สามารถสร้างความ เจอไรซ์ท่ีมีปริมาณน�้ำตาลแลคโตสและไขมัน แตกต่างในการแข่งขันในตลาดนมและเป็นผู้ ต�่ำเพื่อลดการเกิดอาการท้องเดินของผู้ท่ีแพ้ บุกเบิกการผลิตนมส�ำหรับผู้ นมววั โดยหาสภาวะท่ีเหมาะสมของเอนไซม์ แพ้นมของประเทศไทย เบต้ากาแลคโทสิเดสในการผลิตนมพาสเจอร์ น� ำ ง า น วิ จั ย ม า พั ฒ น า ไรซ์ท่ีลดปริมาณไขมันและน้�ำตาลแลคโตส ผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์ น�ำนมท่ีมีปริมาณน้�ำตาลแลคโตสต�่ำมาผ่าน ผู้แพ้นมวัวในประเทศ กระบวนการแปรรปู ตามแตช่ นดิ ของผลติ ภณั ฑ์ ในระดับอุตสาหกรรม ตอ่ ไป ได้อยา่ งยอดเยย่ี ม

46 ITAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยขี อง SMEs ไทย เครื่องลา้ งผกั ผลไม้โอโซน ผู้บรโิ ภคมน่ั ใจ ดว้ ยนวตั กรรมเครอ่ื งลา้ งผักโอโซน บรษิ ทั มาสเตอร์คูล อนิ เตอร์เนชั่นแนล จำ� กัด (มหาชน) เลขที่ 12/16-17 เทศบาลสงเคราะห์ แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2953-8800 http://www.masterkool.com ปัจจุบันภาพรวมในการตรวจ เครอ่ื งล้างผักผลไม้โอโซน สารปนเปอ้ื นในผัก-ผลไม้ พบว่ามคี า่ ตกค้างเกนิ คา่ การใช้สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชในผักและผลไม้ มาตรฐานจำ� นวนมาก ท้งั ผัก มอี ยอู่ ยา่ งแพรห่ ลายในภาคการเกษตร ถงึ แมว้ า่ ผลไมจ้ ากห้างคา้ ปลีกและ ผู้จัดจ�ำหน่ายหลายรายจะมีมาตรฐานรับรอง ในตลาดสด ซงึ่ เมือ่ ผบู้ ริโภค ความปลอดภยั ของผลติ ภณั ฑ์ แตท่ วา่ สารเคมี รบั ประทานเข้าไปกจ็ ะเป็น และเชื้อโรคยังมีโอกาสตกค้างอยู่ในผักและ สารพษิ ตกค้าง และเพม่ิ โอกาส ผลไม้เมื่อถึงมือผู้บริโภค โดยท่ัวไปผู้บริโภค ในการเกิดโรคตา่ งๆ ผูบ้ รโิ ภค อาจทำ� ความสะอาดผกั และผลไมด้ ว้ ยการลา้ ง จะมวี ิธกี ารรับมืออย่างไรกับ เพือ่ ให้มั่นใจว่าตนเองได้บริโภคผัก และผลไม้ ความเสี่ยงเหลา่ นน้ั ! ทีส่ ะอาดปราศจากสารเคมีและเช้ือโรค ดว้ ยแนวความคดิ ในการยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของคนไทยดว้ ยนวตั กรรม บรษิ ทั มาสเตอรค์ ลู

Agriculture and Food Innovation 47 อินเตอร์เนช่ันแนล จ�ำกัด (มหาชน) ได้ เข้าร่วมโครงการกับ ITAP บริษัทสามารถ ขอรับการสนับสนุนจาก ITAP ในการพัฒนา ผลิตเคร่ืองล้างผักผลไม้โอโซนท่ีสามารถ เคร่ืองล้างผักผลไม้โอโซน ซ่ึงสามารถท�ำลาย ท�ำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ถือเป็น เช้ือโรค E.coli และลดปริมาณสารตกคา้ งใน น วั ต ก ร ร ม ฝ ี มื อ ค น ไ ท ย ท่ี ช ่ ว ย ย ก ร ะ ดั บ ผักและผลไม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คุณภาพชวี ิตของผู้บริโภคได้อย่างแท้จรงิ ITAP ได้น�ำนักวิจัยจากคณะส่ิงแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มาให้ค�ำแนะน�ำ เร่ืองการน�ำโอโซนมาผสมกับน�้ำ พร้อมทั้ง อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ์ ท ด ส อ บ ประสิทธิภาพการท�ำงานของเครื่องล้างผัก ผลไม้ท่ีใช้เทคนิคดังกล่าว โดยหลังจากท่ีได้

48 ITAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยขี อง SMEs ไทย วสิ ยั ทศั น์ เป็นพนั ธมติ รร่วมทางทดี่ ี สู่สงั คมฐานความรดู้ ้วยวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พนั ธกิจ สวทช. มุ่งสรา้ งเสริมการวจิ ยั พฒั นา ออกแบบ และ วิศวกรรม (RDDE) จนสามารถถา่ ยทอดไปสู่การใช้ ประโยชน์ (TT) พรอ้ มสง่ เสริมดา้ นการพัฒนาก�ำลัง คน (HRD) และโครงสร้างพ้ืนฐาน (INFRA) ด้าน ว และท ท่ีจ�ำเป็น เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันและพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน โดยจัดให้มี ระบบบริหารจัดการภายในท่ีมีประสิทธิภาพเพื่อ สนับสนนุ การด�ำเนินงานทุกส่วน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook