Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2562

ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2562

Published by IRD RMUTT, 2020-10-07 04:56:02

Description: ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2562

Search

Read the Text Version

63003สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลิตภเลณั ขฑที่ ลวดลายผา วนั ทีจ่ ดทะเบียน : 14 มถิ ุนายน 2561 ชือ่ ผูออกแบบ : นางสาวชมจันทร ดาวเดอื น สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 87ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2562

63004สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลิตภเลณั ขฑท่ี ลวดลายผา วันท่ีจดทะเบียน : 14 มถิ ุนายน 2561 ชือ่ ผอู อกแบบ : นางสาวชมจันทร ดาวเดือน สังกดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 88 RInMteUlleTcTtual Property 2019

63005สิทธิบตั รการออกแบบผลติ ภเลณั ขฑที่ ลวดลายผา วนั ท่จี ดทะเบยี น : 14 มถิ นุ ายน 2561 ชอ่ื ผูออกแบบ : นางสาวชมจนั ทร ดาวเดอื น สังกัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 89ทำเนียบทรัพยส นิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2562

13980อนุสิทธเบิลขัตทร่ี หนุ ยนตส ำหรบั ตรวจวดั และปรับสภาพดนิ อตั โนมัติ วันที่จดทะเบียน : 14 มถิ นุ ายน 2561 ช่ือผูป ระดิษฐ : นายเกียรติศักด์ิ แสงประดิษฐ สังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน การประดิษฐน ้ีเปน การประดษิ ฐที่เกย่ี วของกบั หลกั การทำงานของหนุ ยนตส ำหรบั ตรวจวัดและปรับสภาพดินอัตโนมัติ โดยหุนยนตจะทำการตรวจวัดคาสารอาหาร ในดินแลวจะนำคาสารอาหารหลกั ในดนิ ท่ีวดั ไดสง ไปประมวลผลทีบ่ อรด ซึ่งบอรด จะประมวลผลสารอาหารหลักที่ไดจากเครื่องมือวัด จากนั้นหุนจะเคลื่อนตัว สปริงเกอรมายังจุดที่วัดและหลังจากนั้นบอรดจะสั่งใหปมที่บรรจุแรธาตุชนิดน้ำ ฉีดพนในบริเวณตำแหนงที่แรธาตุไมเพียงพอ โดยปริมาณสารที่พนนั้นขึ้นอยูกับ สภาพดินที่ตรวจวัดได หากในตำแหนงใดมีสารอาหารเพียงพอแลว หุนยนตก็จะ ไมท ำการฉดี พน สาอาหารหลกั เพิ่ม ซ่ึงเปน การใหแ รธาตอุ าหารในดนิ แบบแมน ยำ ตามความตองการของดนิ ท่ตี อ งการปรบั ปรงุ 90 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

14104อนุสิทธเบิลขตั ทรี่ เคร่ืองแกะเปลือกเมล็ดบวั หลวง วนั ทีจ่ ดทะเบียน : 20 กรกฎาคม 2561 ชอ่ื ผูป ระดิษฐ : นายจตุรงค ลงั กาพนิ ธุ สังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ลักษณะของเครื่องแกะเปลือกเมล็ดบัวหลวง ประกอบดวย โครงสรางเครื่อง ชุดใบมีดกรีด เมล็ดกลไกสก็อทชโยค (Scotch Yoke) ระบบ สงกำลัง และใชมอเตอรเกียร (Gear Mortor) ขนาด 90 วตั ต เปนตนกำลงั เคร่ืองแกะเปลอื ก เมล็ดบัวหลวงตามการประดิษฐนี้มีวัตถปุ ระสงค เพื่อชวยลดระยะเวลาในการทำงานและลด แรงงานในการแกะเปลือกเมลด็ บัวหลวงสดของ เกษตรกรในกระบวนการผลิตเมล็ดบัวหลวงอบ ของวสิ าหกจิ ชมุ ชน 91ทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2562

14439อนสุ ทิ ธเบิลขตั ทรี่ กรรมวิธกี ารสกดั พลาสติกชวี ภาพ ชนิดโพลีไฮดรอกซอี ลั คาโนเอตจากแบคทเี รยี ดว ยซลิ ิกาเจล วันที่จดทะเบียน : 5 ตุลาคม 2561 ชือ่ ผูประดษิ ฐ : นางสาวจนั ทมิ า ฑีฆะ, นายอษั ฎาวุธ อารีสริ สิ ุข, นายทรงพล จำดิษฐ, นางสาวฑมิ พกิ า หอมสมบัติ, นางสาวจิรประภา บวั ภาเรือง, นายนวกร ฉายลมิ้ , นางสาวนสุ บา สขุ สาล,ี นางสาวนสั รนี า ศรีสำราญ สงั กดั : คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน วธิ กี ารสกดั พลาสตกิ ชวี ภาพชนดิ โพลไี ฮดรอกซคี าโนเอตจากแบคทเี รยี ดว ยซลิ กิ าเจล ประกอบดวยการเพาะเลย้ี งแบคทเี รีย การปน เกบ็ เซลล และใชซิลกิ าเจลเปนตัวสกัด เอาพลาสติกชีวภาพออกมาจากเซลลแบคทีเรีย การใชกรรมวิธีนี้จะทำใหลดการใช สารเคมี และลดผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ ม รวมถงึ ผลกระทบของสารเคมตี อ โครงสรา ง หรือนำ้ หนกั ของโพลเิ มอร และการตกคา งของสารเคมีบนแผน พลาสตกิ ชีวภาพอีกดวย 92 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

14509อนสุ ทิ ธบิ ัตร เลขท่ี สูตรผลติ ภณั ฑเม็ดสอดชองคลอดจากสารสกดั กระเทยี มและขา และกรรมวธิ กี ารผลิต วันท่ีจดทะเบยี น : 24 ตลุ าคม 2561 ช่ือผูประดิษฐ : นางสาวเอมอร ชัยประทปี สังกัด : วิทยาลัยการแพทยแ ผนไทย รายละเอยี ดผลงาน เมด็ สอดชอ งคลอดจากสารสกดั กระเทยี มและขา เปน ผลติ ภัณฑทม่ี ีลกั ษณะสเี หลอื งนวล ซึ่งประกอบดวยสารสกัดระหวางกระเทียมและขาผสมกับไมโครคริสตัลไลนเซลลูโลส พีเอช 102 แมกนีเซียมสเตียเรต (magnesium stearate) และทัลคัม (talcum) และ สารละลายเจลาติน (gelatin solution) หรือสารละลายอะเคเซีย (acacia solution) ตอกอดั เปน เมด็ ดว ยวธิ ตี อกแบบแกรนลู เปย ก (wet granulation) ดว ยเครอ่ื งตอกยาเมด็ ซง่ึ เปน ผลติ ภณั ฑท ผ่ี า นเกณฑม าตรฐานเภสชั ตำรบั ของสหรฐั อเมรกิ า (USP 35/NF30) เปนอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผูที่แพยาแผนปจจุบัน อาจสามารถลดอัตราการดื้อยา แผนปจจบุ นั และลดโอกาสปนเปอนและการเจริญเตบิ โตของเช้ือจลุ นิ ทรยี  93ทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2562

อนุสิทธบิ ตั ร 14542เลขที่ สูตรนำ้ ตรผี ลานานาผลไม และกรรมวิธกี ารผลติ วันท่จี ดทะเบยี น : 6 พฤศจิกายน 2561 ชอ่ื ผปู ระดิษฐ : นางสาวเอมอร ชยั ประทีป, นางสาวพจนินท รอดฝน , นายศราวนิ จินตยานนท, นางสาวปทมาวรรณ อาภรณผ ล, นางสาวสพุ ตั รา พรมเกาะ, นางสาวสุรสั วดี ประพนั ธ สังกดั : วิทยาลยั การแพทยแ ผนไทย รายละเอยี ดผลงาน สตู รนำ้ ตรผี ลานานาผลไม ตามการประดษิ ฐน ้ี ประกอบดว ย นำ้ สมอพเิ ภก ปรมิ าณ รอยละ 30-45 โดยน้ำหนัก น้ำสมอไทย ปริมาณรอยละ 20-35 โดยน้ำหนัก นำ้ มะขามปอ ม ปรมิ าณรอ ยละ 10-15 โดยนำ้ หนกั นำ้ สม ปรมิ าณรอ ยละ 20 - 35 โดยน้ำหนัก น้ำกีวี ปริมาณรอยละ 3-5 โดยน้ำหนัก น้ำเสาวรส ปริมาณรอยละ 10-25 โดยนำ้ หนกั รวมทง้ั กรรมวธิ กี ารผลติ ตรผี ลานานาผลไม ประกอบดว ยขน้ั ตอน ดังนี้ 1) การเตรียมน้ำตรีผลา 2) การเตรียมน้ำผลไม และ 3) การพาสเจอรไรส น้ำตรีผลานานาผลไม 94 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

14739อนสุ ทิ ธิบัตร เลขที่ ระบบฉีดพนสารเคมแี บบแปรผนั อตั ราไดร วมกับเทคนิค การประมวลผลถา ยภาพสำหรบั แปลงปลูกมะพราวที่เกดิ โรค วนั ท่จี ดทะเบยี น : 21 ธันวาคม 2561 ช่ือผปู ระดษิ ฐ : นายเกรียงไกร แซมสมี วง สงั กดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน รถฉีดพนสารเคมีแบบแปรผนั อัตราไดรวมกบั เทคนิคการประมวลผลภาพถา ยสำหรบั แปลงปลกู มะพราวทเ่ี กิดโรคสรางข้ึนเพื่อลดการใชแรงงานคน ลดการเกดิ อันตราย ตอผูฉีดพนสารเคมีและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดแมลงศัตรูมะพราว เนื่องจากการฉีดพนสารเคมีโดยใชคนนั้นมีความเสี่ยงและอันตรายตอผูฉีดและมี ความแมน ยำนอ ยในการฉีดสารเคมี ประกอบดวยโครงสรา งของเคร่อื ง ชดุ ขับเคลอ่ื น ระบบตนกำลงั ชุดถงั เก็บและปมฉีดยา ชดุ เครน ชุดหดั ฉดี พรอมระบบมองระยะไกล ชุดควบคุมการขับเคลื่อนและตัวเครน ในสวนของตนกำลังใชเครื่องยนตฮอนดา (Honda) ขนาด 10 แรงมา หลักการทำงาน ของเครื่อง เริ่มจากผูทำงานควบคุมเครื่อง ฉีดพนศัตรูมะพราวเคลื่อนที่ไปยังบริเวณ ตนมะพราว และเมื่อไดบริเวณที่จะฉีดพน ศัตรูมะพราวแลว จากนั้นจะปรับตั้งระบบ หัวฉีดพน ยาใหหันไปยังพื้นท่ที ่ีศตั รูมะพรา ว อาศัยอยดู วยระบบมองระยะไกลเม่ือหวั ฉดี หันไปอยใู นพน้ื ที่ทีเ่ กดิ โรคระบาดศัตรมู ะพรา ว แลวจึงควบคุมปมฉีดยาใหปลอยน้ำยาไปสู พื้นที่ที่เกิดโรคบนยอดมะพราว ดวยอัตรา ของน้ำยาทีก่ ำหนดไวในแตล ะตน 95ทำเนียบทรพั ยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2562

ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา 2562 ประจำป พ.ศ.

14787อนุสทิ ธบิ ัตร เลขท่ี สูตรและกรรมวธิ กี ารผลิตลอดชอ งสิงคโปรผสมงาดำ วนั ทจ่ี ดทะเบยี น : 4 มกราคม 2562 ชอ่ื ผปู ระดิษฐ : นายกฤติน ชมุ แกว สงั กัด : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน การประดิษฐนี้เกี่ยวของกับการผลิต ลอดชองสงิ คโปรผ สมงาดำ ซง่ึ เปนขนมไทย ประเภทตม ที่มีแปง มนั สำปะหลงั งาดำ นำ้ ตาลทราย นำ้ สะอาด กะทิ และเกลอื เปนสวนประกอบ กรรมวิธีในการทำ เสนลอดชองสิงคโปรผสมงาดำ โดยนำ แปง มนั สำปะหลงั งาดำ นวดกบั นำ้ รอ น นำมาคลึงเปนแผน และตัดเปนเสนๆ จากนั้นนำไปตมใหเสนสุกใส กรรมวิธี ในการทำน้ำเชื่อม โดยนำน้ำตาลทราย และน้ำสะอาดตั้งไฟ พอสวนผสมเดือด และขนเล็กนอย และกรรมวิธีในการทำ น้ำกะทิ โดยนำกะทิและเกลือตั้งไฟ พอเดือดเล็กนอย วิธีรับประทานโดยตักเสนลอดชองสิงคโปรผสมงาดำพรอมกะทิ ใสภาชนะ ใสน้ำเชื่อมตามชอบ และใสน้ำแข็งปน การผสมงาดำในสวนผสมของ เสนลอดชองสิงคโปร ทำใหไดลอดชองสิงคโปรที่มีจุดเดน คือมีแคลเซียมสูงกวา ลอดชองสิงคโปรที่ไมไดเสริมงาดำในสวนผสมแปง และยังคงลักษณะที่ดีของ ลอดชอ งสงิ คโปรอ ยู คอื มลี กั ษณะเนอ้ื สมั ผสั ทเ่ี หนยี วนมุ และมกี ลน่ิ หอมงาดำเพม่ิ ขน้ึ และไดรับการยอมรับจากผูบริโภค เหมาะสำหรับผูบริโภคในปจจุบัน มีกรรมวิธี ในการทำที่ไมยุงยาก สามารถทำไดในครัวเรือน และระบบอุตสาหกรรม 97ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2562

อนสุ ิทธิบัตร 14852เลขท่ี แผนฟลม ยึดติดเยื่อบุเมือกจากสารสกดั ใบพญายอ และกรรมวธิ ีการผลติ วนั ท่ีจดทะเบียน : 23 มกราคม 2562 ชอ่ื ผูป ระดิษฐ : นางสาวเอมอร ชัยประทีป สงั กดั : วทิ ยาลยั การแพทยแผนไทย รายละเอียดผลงาน แผน ฟลม ยึดติดเยอ่ื บเุ มือกจากสารสกดั ใบพญายอ มลี ักษณะเปน 2 ชน้ั ประกอบดวย ชั้นที่ 1 เปนชั้นที่ไมมีตัวยา (backing layer) ซึ่งมีคุณสมบัติไมละลายน้ำจึงเปนชั้น ที่กันตัวยาไมใหสัมผัสกับน้ำลาย และชั้นที่ 2 ชั้นที่มีตัวยา (drug containing layer) ประกอบดวยสารสกัดจากใบพญายอผสมกับพอลิเมอรกอฟลมที่ชวยควบคุม การปลดปลอยของตัวยา (control release film former) พอลิเมอรกอฟลม (film former) พอลเิ มอรก อฟล ม ทีเ่ ปน ตวั ทำละลาย (solvent film former) พอลิเมอร กอ ฟลมท่ีไมละลายในน้ำ สารพลาสตไิ ซเซอร (plasticizer) สารแตงรส สารลดแรง ตงึ ผวิ และสารกนั เสยี ทง้ั นก้ี รรมวธิ แี ผน ฟล ม ยดึ ตดิ เยอ่ื บเุ มอื กจากสารสกดั ใบพญายอ ประกอบดวยขั้นตอนดังนี้ 1) การเตรียมสารสกัดจากใบพญายอ 2) การเตรียม แผนฟลมชั้นที่ 1 เปนชั้นที่ไมมีตัวยา และ 3) การเตรียมแผนฟลมชั้นที่ 2 เปนชั้น ที่มีตัวยาจากสารสกัดใบพญายอ 98 RInMteUlleTcTtual Property 2019

14882อนสุ ิทธเบิลขัตทร่ี สูตรผลิตภณั ฑบ ราวนแี่ ปงขาวเหนยี วดำ และกรรมวธิ กี ารผลิต วันท่ีจดทะเบยี น : 30 มกราคม 2562 ชอื่ ผปู ระดิษฐ : นายไชยสทิ ธิ์ พันธุฟจู ินดา สังกดั : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน การประดษิ ฐน ้เี กีย่ วขอ งกับสูตรผลติ ภัณฑบ ราวนแี่ ปง ขาวเหนียวดำ และกรรมวิธี การผลิต โดยมีสวนผสมของแปงขาวเหนียวดำเปนสวนประกอบ เพื่อชวยให มีคุณคาทางโภชนาการเพิ่มขึ้นตามการประดิษฐนี้ ประกอบดวย แปงสาลี แปงขาวเหนียวดำ เนยจืด น้ำตาลทราย ไขไก ผงโกโก เกลือ กลิ่นวนิลลา ผลิตภัณฑบราวนี่แปงขาวเหนียวดำเปนผลิตภัณฑเบเกอรี่ที่มีคุณคาทางโภชนาการ แอนโทไซยานิน สูงกวาบราวนี่ที่วางจำหนายในทองตลาดที่ใชเพียงแปงสาลี อยางเดียว 99ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2562

อนสุ ิทธิบตั ร 15086เลขท่ี กรรมวิธกี ารสกัดสารสกัดจากเงาะสีชมพูสำหรับใชเ ปน สว นผสมในผลติ ภัณฑยา เครือ่ งสำอาง และเสรมิ อาหาร วันทีจ่ ดทะเบยี น : 9 เมษายน 2562 ช่ือผูป ระดิษฐ : ผูชวยศาสตราจารย ดร.กรวินทวิชญ บุญพสิ ทุ ธนิ นั ท สงั กัด : วทิ ยาลยั การแพทยแผนไทย รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการสกัดสารสกัดจากเงาะสีชมพูสำหรับใชในผลิตภัณฑยา เครื่องสำอาง หรอื เสรมิ อาหาร โดยใชต วั ทำละลายนำ้ หรอื ตวั ละลายอนิ ทรยี  ผสมเขา กบั เงาะสชี มพู ที่ผานการบดแหง นำไปเขยา นำสารละลายที่ไดมากรองหยาบดวยผาขาวบาง และกรองละเอียดดวยกระดาษกรอง จากนน้ั จึงนำไปปนเหวี่ยงอกี ครง้ั แลวจึงนำไป ระเหยดวยเครื่องกลั่นระเหยสารแบบหมุน จนกระทั่งสารสกัดมีลักษณะหนืด จึงนำ ไปทำแหงดวยวิธีการทำแหงแบบจุดเยือกแข็งหรือวิธีการทำแหงแบบสเปรยลมรอน สารสกัดที่ไดมีฤทธิ์ทางชีวภาพที่สามารถจะนำไปใชเปนวัตถุดิบหรือสวนผสมใน ผลติ ภณั ฑย า เครอ่ื งสำอาง หรอื เสรมิ อาหาร เพอ่ื ใชใ นดา นความงามและสรา งเสรมิ สขุ ภาพได 100 RInMteUlleTcTtual Property 2019

15087อนุสทิ ธิบตั ร เลขที่ แผนรองเซ็นชื่อสำหรับผูบกพรอ งทางการเห็น วนั ทจ่ี ดทะเบยี น : 21 พฤษภาคม 2562 ช่ือผูประดิษฐ : นางสุวรนิ ทร ปทมวรคณุ , นายนพิ ัทธ จงสวัสด์ิ สังกัด : คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน แผน รองเซน็ ชอ่ื สำหรบั ผบู กพรอ งทางการเหน็ ประกอบดว ย ชอ ง อกั ษรเบรลล วงกลมเวาลงไป และขีดนูน 5 ขีด โดยมีความมุงหมายตามการประดิษฐนี้ เพื่อชวยใหผูบกพรองทางการเห็นสามารถเช็นชื่อไดในตำแหนงที่ตองการ และ ทราบวา ธนบัตรเปนธนบัตรชนิดราคา 20 บาท 50 บาท 100 บาท 500 บาท หรือ 1,000 บาท 101ทำเนียบทรัพยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2562

อนสุ ิทธบิ ตั ร 15178เลขท่ี อปุ กรณดกั จ้งิ จก วนั ท่จี ดทะเบยี น : 21 พฤษภาคม 2562 ชื่อผูประดิษฐ : นายดนุสรณ พมุ ทบั ทมิ และนายคมสนั เรืองโกศล สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน อุปกรณดักจิ้งจก ตามการประดิษฐนี้ เปนแผนพับที่สามารถใหความคงตัว ไดลักษณะหนึ่ง ประกอบดวย แผนพื้น ช้นั ทสี่ อง (1) สำหรบั เปน ผนังกนั้ บริเวณ ดานบนชั้นที่สอง แผนพื้นดานลาง (2) สำหรับเปนผนังกั้นบริเวณดานลาง และใชวางเหยื่อลอจิ้งจก และแผนพื้น ดานบนชน้ั ทห่ี น่งึ (3) สำหรบั เปน ผนงั ก้นั บริเวณดานบนสุด และลางสุด โดยทั้ง ตัวอุปกรณและเหยื่อลอนั้นผลิตจาก วสั ดธุ รรมชาติ ทม่ี ีความปลอดภัยตอ ผใู ช ทีอ่ าศัยภายในอาคารบา นเรือน ที่เปนมติ ร ตอส่งิ แวดลอม มรี าคาถกู ใชง านสะดวก และสามารถติดตั้งเองไดงาย อีกทั้งยัง ไมเปน การทรมานสัตว หรอื ทำใหส ตั วตาย ภายในหองพัก หรือที่อยูอาศัย ซึ่งอาจ ทำใหเกิดกลิ่นอันไมพึงประสงค หรือ เปนแหลงสะสมของเชื้อโรคได 102 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

15293อนสุ ิทธเิบลขัตทร่ี ปยุ น้ำหมักชีวภาพจากข้แี ดดนาเกลือ โดยใชจลุ ินทรยี เ ปนตวั เรง วันทจี่ ดทะเบียน : 27 มถิ นุ ายน 2562 ชือ่ ผูประดษิ ฐ : ผชู วยศาสตราจารย ฐติ ยา ศรขวัญ สังกดั : คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน ปยุ นำ้ หมกั ชวี ภาพจากขแ้ี ดดนาเกลอื โดยใชจ ลุ นิ ทรยี เ ปน ตวั เรง ซง่ึ มขี น้ั ตอนการทำ ประกอบดวย ขี้แดดนาเกลือ เศษอาหารกระเพาะวัว กากเมล็ดกาแฟ กากน้ำตาล และจุลินทรีย ซึ่งเลือกไดจากหัวเชื้อรา หัวเชื้อรากลุมไตรโคเดอรมา (Trichoderma), สารเรงซุปเปอร พด 2 และจุลินทรียน้ำ (Effective Microorganism : EM) อยางใด อยา งหนง่ึ โดยทำการผสมคลกุ เคลา ใหเ ขา กนั หมกั เปน เวลา 40-50 วนั หลงั จากนน้ั จะไดปุยน้ำหมักชีวภาพจากขี้แดดนาเกลือ โดยใชจุลินทรียเปนตัวเรงที่มีปริมาณ ธาตุอาหารหลักของพืช และธาตุรวมของอาหารรองรวมถึงปริมาณของจุลธาตุที่ เพียงพอกับความตองการของพืช 103ทำเนียบทรพั ยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2562

อนสุ ิทธิบัตร 15357เลขที่ ระบบการอบแหงโดยใชพลังงานแสงอาทติ ย รวมกับแกสชีวภาพ วนั ท่จี ดทะเบียน : 24 กรกฎาคม 2562 ชอ่ื ผูป ระดิษฐ : นายเกยี รติศกั ดิ์ แสงประดษิ ฐ สังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การประดิษฐนี้เปนการประดิษฐที่เกี่ยวของกับหลักการทำงานของระบบอบแหง โดยใชพลังงานผสมสานจากพลังงานความรอนจากแสงอาทิตยเปนพลังงานหลัก และจะใชพลังงานการทำความรอนสำรองจากแกสชีวภาพในกรณีที่แสงแดด ไมเพียงพอ โดยตัวรับแสงพาราโบลาจะรับแสงและจะสะทอนแสงที่ไดไปยัง จุดศูนยรวมแสงที่ทำดวยโลหะเพื่อเก็บความรอนไวในทอ จากนั้นที่ทอทางเขา จะมพี ดั ลมทจ่ี ะพดั พาความรอ นทไ่ี ดส ง ไปยงั หอ งอบ ในกรณที ค่ี วามรอ นมคี วามรอ น ไมถ ึงทีก่ ำหนด ระบบจะสั่งใหระบบแกสทำงานเพื่อทำการใหความรอนกับทอแทน ทค่ี วามรอ นจากแสงอาทติ ยเ มอ่ื อณุ หภมู ไิ ดต ามตอ งการระบบจะสง่ั การหยดุ ระบบ แกสอัตโนมัติ ซึ่งเพิ่มประสิทธิภาพการอบแหงใหมีประสิทธิภาพรวดเร็วขึ้นจาก การใชต ูอบโปรงแสงที่มอี ยแู ลว 104 RInMteUlleTcTtual Property 2019

15488อนสุ ิทธิบัตร เลขท่ี อปุ กรณร ะบายความรอนของคอยลรอน โดยใชนำ้ ทก่ี ลั่นจากกระบวนการควบแนนทคี่ อยลเยน็ วนั ทจ่ี ดทะเบียน : 6 กนั ยายน 2562 ชื่อผูป ระดิษฐ : นายเกยี รตศิ ักดิ์ แสงประดิษฐ สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน อุปกรณระบายความรอนของคอยลรอนโดยใชน้ำที่กลั่นจากกระบวนการควบแนน ที่คอยลเย็น ตามการประดิษฐนี้เปนกระบวนการลดอุณหภูมิอากาศในการระบาย ความรอนของคอมเพรสเซอร โดยมีโครงสรางภายนอกทำจากพลาสติก และแผง ระบายความรอ นทท่ี ำจากครบี อลมู เิ นยี ม ซง่ึ มลี กั ษณะวางเรยี งสลบั ฟน ปลาในแนวตง้ั และมีชองวางระหวางครีบใหอากาศไหลผานไดสะดวก โดยแผงครีบอลูมิเนียม ทำหนาที่กรองสิ่งสกปรกปนเปอนในน้ำ ควบคุมการระเหยน้ำทิ้งในกระบวนการ ควบแนนจากคอยลเย็น และดักจับฝุนละอองที่เขามาพรอมอากาศ กอนไหลผาน แผงคอยลรอน โดยแผงครีบอลูมิเนียมติดตั้งบริเวณดานหลังคอยลรอนของระบบ ปรับอากาศ 105ทำเนยี บทรัพยสินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2562

อนุสิทธบิ ัตร 15489เลขท่ี เคร่อื งฉีกเสน หมฝู อย วนั ท่ีจดทะเบยี น : 6 กนั ยายน 2562 ชอื่ ผปู ระดษิ ฐ : นายศิรชิ ยั ตอ สกุล, นายวิเชียร เถ่ือนเครือวลั ย, นายชวลิต อนิ ปญ โญ และนายกฤตธิ รณ นามสงา สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เครือ่ งฉีกเสนหมูฝอย ตามการประดิษฐนี้ เปนการฉีกเสน หมูทีผ่ า นการตมจนสุกและ นำมาแลใหเปนแผน โดยนำมาบดดวยชุดลูกกลิ้งบด เพื่อบดเนื้อหมูใหฉีกหรือแยก ออกจากกัน การบดนี้โดยใชหลักการกดอัดระหวางลูกกลิ้งบดแบบคู ที่หมุนเขาหากัน หรอื หมุนในทิศทางตรงกันขา มเสมอ ดานลางชดุ ลกู กลิง้ บดมีตัวบงั คบั ทิศทางแผน หมู ที่มีชองวางใหแผนหมูที่ผานการบดไหลผานไปได เมื่อแผนหมูผานชองวางของตัว บังคับทิศทาง ทำใหถูกชุดตะขอเกี่ยวฉีกแผนหมูออกเปนเสนๆ โดยใชสวนปลายของ ตะขอเกย่ี วทม่ี ลี กั ษณะเปน ปลายแหลม ทำหนา ทฉ่ี กี หรอื ดงึ ใหเ นอ้ื หมแู ยกออกจากกนั การทำงานของเครื่องโดยใช มอเตอรไฟฟาเปนเครือ่ งตน กำลงั ขับเคลือ่ นชดุ ลกู กลง้ิ บด และชุดตะขอเกย่ี ว ซงึ่ ควบคมุ การทำงานดวยสวติ ซเปด/ปด การออกแบบคิดคนเครื่องฉีก เสนหมูฝอยนี้ เพื่อเพิ่มกำลัง การผลิตมากยิ่งขึ้น ทดแทน การใชแรงงานคน และสามารถ ลดตนทุนในการผลติ อีกดว ย 106 RInMteUlleTcTtual Property 2019

15593อนสุ ิทธบิ ตั ร เลขที่ เคร่ืองตดั ใบบัวหลวง วันที่จดทะเบียน : 9 ตุลาคม 2562 ชอ่ื ผปู ระดษิ ฐ : นายจตรุ งค ลังกาพนิ ธุ, นายเอกชยั บัวคล่ี สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ลักษณะของเครื่องตัดใบบัวหลวง ประกอบดวย โครงสรางเครื่อง ชุดปอนลำเลียง ใบบัว ชุดตัดใบบัว กลไกลอเจนิวา ระบบสงกำลัง และใชมอเตอรเกียร (Gear Motor) ขนาด 150 วตั ต เปน ตน กำลงั เครอ่ื งตดั ใบบวั หลวงตามการประดษิ ฐน ้ี มวี ตั ถปุ ระสงค เพื่อชวยลดระยะเวลาในการทำงานและแรงงานในการตัดใบบัวหลวงสำหรับใชเปน วัตถุดบิ ที่นำมาแปรรปู เปน ชาใบบวั หลวงสำหรับวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอม 107ทำเนียบทรพั ยสินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2562

อนสุ ิทธิบตั ร 15594เลขที่ รงั เล้ียงชันโรง กลุม ขนาดเล็ก เพือ่ การผลิตนำ้ ผึง้ เชิงพาณิชย วันทจี่ ดทะเบียน : 9 ตุลาคม 2562 ชอ่ื ผูประดิษฐ : นางสาวอญั ชลี สวาสดธิ์ รรม สงั กัด : คณะเทคโนโลยีการเกษตร รายละเอียดผลงาน บทสรุปการประดิษฐ รังเลี้ยงชันโรง กลุมขนาดเล็ก เพื่อการผลิตน้ำผึ้งเชิงพาณิชย มีลักษณะเปนกลองสี่เหลี่ยมทำดวย ไม ประกอบดวย ฝารัง (1) รังเลี้ยง (2) เพื่อให รังเลี้ยงมีรูปแบบที่สามารถบังคับใหชันโรงวางกลุมถวยตัวออนที่แยกจากบริเวณที่ สรา งถวยเก็บนำผึง้ อยางชดั เจน เพอ่ื สะดวกในการเก็บเกย่ี วนำ้ ผึ้งและภายหลังการ เกบ็ น้ำผง้ึ หากนำ้ ผงึ้ ไหลเยมิ้ ออกมาเปอ นบรเิ วณพนื้ รังกจ็ ะสามารถทำความสะอาด เชด็ ใหแ หง ไดง า ย สญู เสียกลุม ถว ยตวั ออ นนอย เกบ็ น้ำผง้ึ ไดส ะดวก และในปริมาณ มากยง่ิ ข้นึ 108 RInMteUlleTcTtual Property 2019

15628อนสุ ทิ ธบิ ัตร เลขท่ี สตู รการผลติ ไมอัดจากตำแยแมวและกรรมวธิ กี ารผลติ วนั ทีจ่ ดทะเบยี น : 25 ตลุ าคม 2562 ชอื่ ผูประดิษฐ : นางสาวพรสริ ี พลายศรโี พธิ์ และนายณฐั พล ซอฐานศุ กั ด์ิ สงั กัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ไมอัดจากตำแยแมวประกอบดวย ขเ้ี ล่ือยไม ตำแยแมว และวสั ดยุ ึดติด และกรรมวธิ ี การผลิต ประกอบดวยการทำใหแหง การผสมกับวัสดุยึดติด การขึ้นรูปแผนไม และ การอัดรอ น โดยความมุงหมายของการประดิษฐนค้ี อื เพ่ือพัฒนาไมอดั จากตำแยแมว ที่มีฤทธิ์ในการลอและดึงดูดแมว เพื่อการใชเปนวัสดุตั้งตนในการผลิตของเลน เคร่อื งใชแ มว และผลติ ภณั ฑส ำหรับแมว ซึง่ สามารถใชด ึงดดู ใหแมวอยูกับท่ีพักอาศยั แกปญหาที่แมวชอบหนีออกจากบานได ทำใหผูที่เลี้ยงแมวเกิดความสบายใจใน ความปลอดภัยของแมว 109ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2562

อนสุ ิทธบิ ัตร 15672เลขที่ กลอ งจดหมายแจงเตือนอตั โนมัติ วันทจ่ี ดทะเบยี น : 8 พฤศจกิ ายน 2562 ชอื่ ผปู ระดษิ ฐ : ผูช วยศาสตราจารย ดร.ชตุ ิมา ประสาทแกว สงั กดั : คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน กลองจดหมายแจงเตือนอัตโนมัติ เปนอุปกรณเสริมใหผูใชมีความสะดวก โดยแจง เตือนใหผูใชทราบเมื่อมีจดหมายมาสงที่กลองจดหมายผานแอปพลิเคชันไลนหรือ เอสเอ็มเอสเม่ือมจี ดหมาย มกี ลอ งจบั ภาพ เพอ่ื บนั ทกึ ภาพ วันที่ และเวลาการสง จดหมายผานกลองจดหมาย ผานการสง สญั ญาณไรส ายแบบวายฟาย มกี ารบันทกึ วนั ทแ่ี ละเวลาไวใ นหนว ยความจำสำรอง สามารถเรยี กดขู อ มลู ยอ นหลงั ได โดยการ ประดิษฐมีสองรูปแบบ คือรูปแบบที่หนึ่ง เปนอุปกรณสำเร็จที่ผูใชสามารถนำไป ติดตั้งเขากับกลองจดหมายเดิมได และรูปแบบที่สอง เปนกลองจดหมายสำเร็จรูป ทภ่ี ายในมีอุปกรณพรอมใช มที ั้งแบบกลอ งใส และกลองทบึ 110 RInMteUlleTcTtual Property 2019

15673อนุสิทธิบตั ร เลขที่ สูตรผลติ ภณั ฑเ ครปเคก แปงขา วไรซเบอรร ี่ และกรรมวิธกี ารผลิต วันทจี่ ดทะเบียน : 8 พฤศจิกายน 2562 ชอ่ื ผปู ระดษิ ฐ : นายไชยสทิ ธิ์ พนั ธุฟ จู ินดา สังกัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน การประดิษฐนี้เก่ียวขอ งกบั สตู รผลิตภัณฑเครปเคก แปงขาวไรซเ บอรร ่ี โดยมสี ว นผสม ของแปงขาวไรซเบอรรี่เปนสวนประกอบหลัก เพื่อชวยใหมีคุณคาทางโภชนาการ และสารตานอนุมูลอิสระ ตามการประดิษฐนี้ประกอบดวย แปงขาวไรซเบอรรี่ แปงเคก น้ำตาลทราย ไขไก นมสด เนยละลาย วิปปงครีม โดยมีกรรมวิธีการผลิต คอื นำสว นผสมทกุ อยางผสมเขา ดว ยกัน ยกเวน วิปปง ครีม พักไวใ นตเู ยน็ 1 ชวั่ โมง นำมากลอกบนกระทะรอน จนแปงสุก จากนั้นตีวิปปงครีมจนขึ้นฟู นำมาปาด ระหวางชั้นแปงขาวไรซเบอรรี่ที่สุก จำนวน 15 ชั้น โดยความมุงหมายของการ ประดิษฐนี้เพื่อใหไดเครปเคกแปงขาวไรซเบอรรี่ ที่มีคุณคาทางโภชนาการ และ สารตานอนุมูลอิสระ ที่สูงกวาเครปเคกทั่วไป 111ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2562

อนสุ ิทธบิ ตั ร 15716เลขท่ี ระบบตรวจสอบโรคกลวยไมแบบควบคุมระยะไกล รวมกับเทคนคิ ประมวลผลภาพถา ยเพ่อื ควบคมุ การใหสารเคมี แบบแมน ยำสำหรบั โรงเรือนมาตรฐาน วนั ทจ่ี ดทะเบยี น : 22 พฤศจิกายน 2562 ชอื่ ผปู ระดิษฐ : นายเกรียงไกร แซมสีมวง สังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ระบบตรวจสอบโรคกลวยไมแบบควบคุมระยะไกลรวมกับเทคนิคประมวลผลภาพถายเพื่อ ควบคมุ การใหส ารเคมีแบบแมนยำสำหรับโรงเรอื นมาตรฐาน ประกอบดวย จอแสดงผล (1) หนวยประมวลผล (2) ชุดควบคุมอัตราการฉีด (3) ระบบฉีด (4) และถังบรรจุสารเคมี (5) โดยภาพถายที่ไดมาจากระบบถายภาพมุมสูงเคลื่อนที่บนรางที่ทำการออกแบบไวเหนือแนว แปลงปลูกในโรงเรือนมาตรฐาน พรอมระบบควบคุมการถายภาพระยะไกลแบบติดตั้งบน ระบบเคลื่อนท่ี จากนัน้ นำภาพมุมสงู ทไ่ี ดนำเขา สูร ะบบประมวลผลภาพถาย จากน้นั ทำการ รวบรวมขอมูล นำขอมูลที่ไดไปออกแบบระบบฉีดพนสารเคมีแบบแปรผันอัตราไดในระบบ โรงเรือนมาตรฐาน โดยเฉพาะขอมูลดานคาการกระจายตัวของโรคพืชในพื้นที่ปลูก โดยมี วัตถุประสงคตามการประดิษฐนี้ เพื่อออกแบบและสรางระบบควบคุมการใหสารเคมีแบบ แมนยำสำหรับโรงเรือนมาตรฐาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความแมนยำในการบริหาร จัดการการใชสารเคมี ยาปราบศัตรูพืช และลดความเสียหายที่เกิดจากการระบาดของโรคพืช ในระบบโรงเรือนมาตรฐานแบบทันทวงที เพือ่ ใหเ กษตรกรเจาของระบบโรงเรือนมาตรฐาน ทราบและเขาถึงขอมูลในพื้นที่ แปลงปลูกของตนเองที่สงผล กระทบตอตนทุนการผลิตและ ปริมาณผลผลิต ไดแก ขอมูล อัตราการเจริญเติบโต ขอมูล การกระจายตัวของโรคพืชใน ชว งเวลาท่ีเกดิ การระบาดแบบ ทนั ทวงที และขอ มูลสภาพความ อุดมสมบรู ณบนแปลงปลกู นนั้ ๆ 112 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

70509สทิ ธบิ ัตรการออกแบบผลติ ภณั ฑ เลขที่ แบบพบั กลอ ง วันทจี่ ดทะเบยี น : 27 มิถุนายน 2562 ชือ่ ผอู อกแบบ : นายดนสุ รณ พมุ ทบั ทิม และนายคมสนั เรืองโกศล สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 113ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2562

สทิ ธบิ ัตรการออกแบบผลติ ภัณฑ 70876เลขที่ เครื่องกรองนำ้ วันทจ่ี ดทะเบียน : 24 กรกฎาคม 2562 ชอ่ื ผอู อกแบบ : ผชู วยศาสตราจารยธ รรมศักดิ์ โรจนวริ ฬุ ห, นางสาวอรกช สุทธวิ ฒั นกุล, นางสาวรวีวรรณ ชชั วาลย, นายณฐั พงศ โนจิตร, นางสาวนสั พรรณพร เยี่ยมบญุ ชยั , นางสาวไพลนิ บวั พนั ธ, รองศาสตราจารยสญั ญา สิริวิทยาปกรณ, สังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 114 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

71267สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลิตภณั ฑ เลขท่ี เคร่อื งกรดี และขดู ไสก ก วนั ทจ่ี ดทะเบียน : 28 สงิ หาคม 2562 ช่ือผูออกแบบ : นายอภริ มย ชเู มฆา สังกดั : คณะครุศาสตรอ ตุ สาหกรรม รายละเอียดผลงาน 115ทำเนียบทรัพยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2562

สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ 71459เลขท่ี พวงกญุ แจ วันท่ีจดทะเบียน : 11 กนั ยายน 2562 ช่ือผูอ อกแบบ : นางสาวสนุ ษิ า นิราช, ผูช วยศาสตราจารยจ ฑุ ามาศ เจริญพงษม าลา สงั กัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 116 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

71692สิทธิบตั รการออกแบบผลติ ภเลัณขฑที่ ลวดลายผา วันที่จดทะเบียน : 26 กันยายน 2562 ชือ่ ผอู อกแบบ : นางสาวใจภกั ด์ิ บุรพเจตนา สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 117ทำเนียบทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2562

สิทธิบัตรการออกแบบผลติ ภัณฑ 71693เลขที่ ลวดลายผา วนั ท่จี ดทะเบียน : 26 กนั ยายน 2562 ช่อื ผูอ อกแบบ : นางสาวใจภกั ดิ์ บรุ พเจตนา สังกดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 118 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

71694สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ เลขที่ ลวดลายผา วนั ที่จดทะเบยี น : 26 กันยายน 2562 ชื่อผอู อกแบบ : นางสาวใจภกั ด์ิ บุรพเจตนา สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 119ทำเนยี บทรัพยส นิ ทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2562

สทิ ธบิ ัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ 71695เลขท่ี ลวดลายผา วนั ทจี่ ดทะเบียน : 26 กันยายน 2562 ช่อื ผูออกแบบ : นางสาวใจภกั ด์ิ บรุ พเจตนา สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 120 RInMteUlleTcTtual Property 2019

71696สิทธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ เลขที่ ลวดลายผา วนั ท่จี ดทะเบยี น : 26 กนั ยายน 2562 ชอ่ื ผูออกแบบ : นางสาวใจภกั ดิ์ บรุ พเจตนา สังกดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 121ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2562

สทิ ธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ 72205เลขท่ี เสอ้ื วันทจ่ี ดทะเบียน : 25 ตุลาคม 2562 ชอื่ ผูอ อกแบบ : ผชู วยศาสตราจารยออ ยทิพย ผูพ ฒั น สังกัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 122 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

72206สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลิตภเลัณขฑที่ เส้ือ วนั ท่ีจดทะเบียน : 25 ตลุ าคม 2562 ชอื่ ผอู อกแบบ : ผชู วยศาสตราจารยออยทพิ ย ผพู ัฒน สังกดั : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 123ทำเนยี บทรัพยส นิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2562

สิทธิบัตรการออกแบบผลติ ภณั ฑ 72796เลขท่ี เส้อื วนั ท่ีจดทะเบยี น : 22 พฤศจิกายน 2562 ช่ือผอู อกแบบ : นางสาวศภุ นิชา ศรีวรเดชไพศาล สังกดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 124 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

73449สิทธิบัตรการประดษิ ฐ เลขที่ เตาเผาเชอื้ เพลิงแขง็ แบบใชว สั ดุพรนุ และมกี ารสลบั ทิศทางการไหลของแกสเปนจงั หวะ วนั ท่จี ดทะเบียน : 27 ธันวาคม 62 ชื่อผูประดิษฐ : ผชู วยศาสตราจารยบุณยฤ ทธ์ิ ประสาทแกว สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เทคโนโลยกี ารสง เสรมิ การถา ยโอนความรอ นดว ยวสั ดพุ รนุ สามารถเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ เชงิ ความรอ นของระบบเตาเผาไดด ี ลดมลพษิ ทป่ี ลอ ยออกมากบั ไอเสยี และสามารถ ลดขนาดของระบบลงได อยางไรก็ตาม ที่ผานมายังไมมีผูใดนำเทคโนโลยีนี้มาใชกับ เตาเผาที่ใชเชื้อเพลิงแข็งมากอน สิ่งประดิษฐนี้เปนเตาเผาเชื้อเพลิงแข็งเพื่อผลิต น้ำรอนแบบที่มีการติดตั้งวัสดุพรุนและมีการสลับทิศทางการไหลของอากาศและ ไอเสียเปนจังหวะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเตาเผาใหสูงขึ้น เทคโนโลยีการสงเสริม การถายโอนความรอนดวยวสั ดพุ รุนสามารถเพ่มิ ประสิทธภิ าพเชิงความรอ นของระบบ เตาเผาไดดี ลดมลพิษทีป่ ลอยออกมากบั ไอเสยี และสามารถลดขนาดของระบบลงได อยางไรก็ตาม ที่ผานมายังไมมีผูใดนำเทคโนโลยีนี้มาใชกับเตาเผาที่ใชเชื้อเพลิงแข็ง มากอน สิ่งประดิษฐนี้เปนเตาเผาเชื้อเพลิงแข็งเพื่อผลิตน้ำรอนแบบที่มีการติดตั้ง วัสดุพรุนและมีการสลับทิศทางการไหลของอากาศและไอเสียเปนจังหวะ เพื่อเพิ่ม ประสิทธภิ าพของเตาเผาใหสูงขน้ึ 125ทำเนียบทรพั ยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2562

Visionวิสยั ทศั น มหาวทิ ยาลยั นวัตกรรม ท่สี รา งคณุ คา สสู งั คมและประเทศ

หมายเลขโทรศัพทต ดิ ตอ หนว ยงาน โทรศัพท โทรสาร หนวยจดั การทรัพยส นิ ทางปญญา 0 2549 4493 0 2549 4680 และถา ยทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 0 2549 4681 0 2549 4680 สถาบันวจิ ัยและพฒั นา 0 2549 3051 0 2577 5013 สำนักจดั การทรัพยสนิ 0 2549 3057 0 2549 4990 0 2549 4993 กองประชาสมั พันธ 0 2549 4992 0 2549 3013 0 2577 2357 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 127ทำเนยี บทรพั ยสนิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2562

RMUTT Intellectual Property 2019 ทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2562 จดั พมิ พโ ดย สถาบันวจิ ัยและพฒั นา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี http://www.ird.rmutt.ac.th พมิ พค รง้ั ที่ 1 พฤษภาคม 2563 จำนวนพิมพ 400 เลม เลขมาตรฐานสากลประจำหนงั สอื 978-974-625-887-6 ออกแบบและพิมพท ่ี บรษิ ทั ดไี ซน ดีไลท จำกัด 69/18 หมู 7 ต.เสาธงหนิ อ.บางใหญ จ.นนทบุรี 11140



RMUTT Intellectual Property 2019


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook