ผลงานวจ� ัย 2564และนวัตกรรมเช�งพาณิชย
สารจากอธก� ารบดี
มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� เปน มหาว�ทยาลยั ดา นว�ชาช�พและเทคโนโลยี มงุ เนนการพัฒนากำลงั คนดา นว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหมีความสามารถพรอ มเขาสู อาช�พ สรางงานว�จัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม สามารถตอยอดและถายทอดการว�จัย สูสังคม ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรม ความตองการของประเทศ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมของชาตติ อไป ในโอกาสนี้ มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� ไดเล็งเห็นและตระหนักถึง ความสำคัญของงานว�จัยที่เกิดจากการประดิษฐของนักว�จัย อาจารย และบุคลากร ของมหาว�ทยาลัยฯ จ�งมีนโยบายสงเสร�มและสนับสนุนการคิดคน ประดิษฐ งานว�จัย เอกสารเพื่อเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชย ประจำป 2564 จัดทำข�้นเพื่อรวบรวมผลงานว�จัย นวัตกรรม ของนักว�จัยในมหาว�ทยาลัยฯ เพื่อเปน การประชาสมั พนั ธผ ลงานวจ� ยั และนวตั กรรมของมหาวท� ยาลยั ฯ สกู ลมุ เปา หมายภาคธรุ กจิ เช�งพาณิชย และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารเพื่อเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรม เช�งพาณิชยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงาน ภาคธุรกิจ และผูที่สนใจงานว�จัยและ RMUTTนวัตกรรมของมหาว�ทยาลัยฯ รองศาสตราจารย ดร.สมหมาย ผวิ สอาด อธ�การบดี มหาวท� ยาลัยแทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร�
สารจาก รองอธ�การบดี มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� เปนมหาว�ทยาลัยมุงยุทธศาตรดานการ พัฒนาเทคโนโลยีและสงเสร�มการสรางนวัตกรรม(Technology & Innovation) มุงเนน พัฒนาทางดานเทคโนโลยีและเสร�มสรางนวัตกรรม เพื่อตอบโจทยการพัฒนาประเทศ สรางบัณฑิตที่มีทักษะ ความรู ความชำนาญ ใหสามารถนำองคความรูมาประยุกตใช ในการสรางพัฒนา หร�อตอยอดเปนนวัตกรรมใหม บมเพาะกลุมคน Start Up พรอม รว มมือกบั ภาคเอกชนและภาคอุตสาหกรรมในการสนับสนนุ และพฒั นาเทคโนโลยรี วมกัน ซง่� จะนำไปสกู ารพฒั นาเศรษฐกิจ สังคมและอตุ สาหกรรมของประเทศตอ ไป เอกสารเพอ่ื เผยแพรผ ลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย ประจำป 2564 จดั ทำขน้� เพื่อรวบรวมผลงานว�จัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค ของอาจารยและนักว�จัย ในมหาว�ทยาลัยเพื่อผลักดันคุณภาพของงานว�จัย และพัฒนาอาจารยและนักว�จัยใหมี ศักยภาพเขม แขง็ และเพ่ือเปนการประชาสัมพนั ธผลงานว�จัยและนวัตกรรมของมหาวท� ยาลัย สูกลุมเปาหมายภาคธุรกิจ เช�งพาณิชย และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารเพื่อเผยแพร ผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และผูที่สนใจงานว�จัยและนวัตกรรมของมหาว�ทยาลัยตอไป รองศาสตราจารย ดร.กฤษณชนม ภูมิกิตตพิ ชิ ญ รองอธ�การบดี มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ �
สารจาก ผูอ ำนวยการ สถาบันว�จยั และพฒั นา สถาบันว�จัยและพัฒนา มทร.ธัญบุร� มีความมุงมั่นที่จะพัฒนางานว�จัย ยกระดับ คุณภาพงานว�จัยใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล สงเสร�มการเผยแพรงานว�จัยในระดับสูง สงเสร�มนักว�จัยในการทำงานว�จัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม มีการตอยอดงานว�จัยสูเช�ง พาณชิ ย ถายทอดองคความรูแกส ังคม ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรม เปนสว นหนงึ่ ในการ พัฒนาเศรษฐกิจ และตอบสนองนโยบายภาครัฐความตองการของประเทศ พัฒนา เศรษฐกจิ และความตองการตอบสนองนโยบายของภาครัฐ ดังนั้น สถาบันว�จัยและพัฒนา ไดเล็งเห็นความสำคัญของการคิดคนงานว�จัย นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ ของนักว�จัย อาจารย และบุคลากรของมหาว�ทยาลัยฯ จง� ไดส ง เสรม� และสนบั สนนุ การสรา งผลงานวจ� ยั ในเชง� รกุ และการนำผลงานทไ่ี ดม าเผยแพร เพื่อเปน ประโยชนแกผ ูส นใจ เอกสารเพื่อเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชย ประจำป 2564 สถาบันว�จัยและพัฒนา ไดจัดทำข�้นเพื่อรวบรวมผลงานว�จัย นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ ของนักว�จัยในมหาว�ทยาลัยฯ เพื่อเปนการประชาสัมพันธผลงานว�จัย นวัตกรรม และ สิ่งประดิษฐ ของมหาว�ทยาลัยฯ ไปยังกลุมเปาหมายภาคธุรกิจ และหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารเพื่อเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอ หนว ยงาน ท้งั ภาครัฐ ภาคธรุ กิจ และผูที่สนใจงานว�จัยและนวัตกรรมของมหาวท� ยาลยั ฯ ผูช วยศาสตราจารย ดร.วารุณี อร�ยวร� �ยะนนั ท ผอู ำนวยการสถาบันว�จยั และพัฒนา มหาวท� ยาลัยแทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ �
คำนำ
สถาบนั วจ� ยั และพฒั นา มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � เปน หนว ยงานกลาง ในการประสานและบร�หารงานว�จัยของมหาว�ทยาลัยฯ เพื่อสงเสร�มและสนับสนุนการเพิ่ม ข�ดความสามารถในการว�จัยของบุคลากรดานงานว�จัย ดานว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพอ่ื สรา งผลงานวจ� ยั สง่ิ ประดษิ ฐ นวตั กรรม และผลงานสรา งสรรค ซง่� จะเกดิ ประโยชนต อ สังคมและตรงตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ตลอดจนมุงมั่นที่จะยกระดับงานว�จัย ใหไดมาตรฐานและเปนที่ยอมรับในระดับสากล โดยทางสถาบันว�จัยและพัฒนา ไดเล็งเห็นถึง ความสำคัญของการเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชยของมหาว�ทยาลัยฯ เพ่อื นำไปตอ ยอดเช�งพาณชิ ย กอ ใหเกิดประโยชนแ กชมุ ชน สังคม และภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชย ป พ.ศ. 2564 เปนการรวบรวมผลงาน ว�จัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ และงานสรางสรรคของมหาว�ทยาลัยฯ เพียงบางสวนที่จะ เปนประโยชนและพรอมที่จะถายทอดเพื่อเปนประโยชนตอสาธารณชน จำนวน 30 ผลงาน สำหรบั ผทู ่ีสนใจนำไปศกึ ษาและตอ ยอดการใชป ระโยชนต อไป
สารบญั กลมุ งานว�จัยเพือ่ การพฒั นาการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรแปรรปู 2 4 1. การผลิตขา วหมากโพรไบโอตกิ ดว ยกลา เช�้อผสม 6 2. การผลติ เคร�อ่ งด่มื นำ้ สมสายชูหมกั จากนำ้ สาโทเหลอื ทง้ิ 8 3. เครอ�่ งดม่ื คราฟตโซดาจากใบกาแฟพนั ธอุ าราบิกา 10 4. เคร่อ� งด่ืมคราฟตเบยี รจากเปลือกกาแฟพนั ธอุ าราบกิ า 5. ซุปผงขาวหอม กลุม งานว�จยั เพ่ือพลังงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม 14 16 6. อปุ กรณก รองไมโครพลาสติกในน้ำเสยี จากขยะพลาสตกิ 7. บรรจภ� ัณฑช นดิ กลวงจากผงไผเหลือทงิ้ กลมุ งานวจ� ัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสำหรบั ภาคอตุ สาหกรรม 8. การออกแบบและพฒั นาระบบชุดเก็บเกยี่ วเมล็ดกาแฟอัตโนมัติ 20 9. เครอ่� งเหว่�ยงแยกนำ้ ออกจากหนังหมสู ำหรับใชท ำแคบหมู 22 10. เคร่�องอบแหงดว ยรังสีอินฟราเรดรว มกบั ลมรอ น 24 11. นวัตกรรมสเปรยเ คลือบผวิ วสั ดขุ องพอลเิ มอรไมโครแคปซลู กกั เกบ็ อนุภาค 26 ไมโครไอรอนอะลมู ิเนตสำหรับสะทอนความรอน 28 12. เครอ่� งอบแหงแบบคล่นื ลมรอน 13. การพัฒนาชดุ ทดสอบแบบกระดาษสำหรับตรวจวดั คลอรน� 30 32 ซลั ไฟดแ ละฟอรมาลดไี ฮดไดในเวลาเดยี วกัน โดยตรวจวดั ดว ยสมารทโฟน 34 สำหรับตรวจวัดนำ้ ทง้ิ กอนและหลังผานระบบบำบดั น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 36 14. ตฆู าเชอ้� หนา กากอนามัยและภาชนะใสอาหารดวยรังสีUVC 15. หนา กากผา แสดงผลผปู วยท่มี อี ณุ หภมู ิสูงดว ยการเปล่ยี นสีของสารเทอรโมโครมกิ 16. เครอ�่ งอดั ข้�นรูปจากวัสดุธรรมชาติ
กลุม งานวจ� ยั เพ่ือสรา งธุรกิจวส� าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ ม 40 42 17. การพัฒนาผา ใยกลว ยลวดลายใบตองดว ยเทคนิคการทอมือ 44 18. เสือ้ ผกั ตบชวาสำเร็จรูป 19. นวัตกรรมเซรมั่ สมนุ ไพรไทยฤทธ�เ์ ยน็ ทก่ี ักเก็บในนีโอโซมสำหรับผิวแพงา ย 46 20. นวตั กรรมผลติ ภณั ฑเสร�มอาหารชะลอวัยจากตำรบั สมนุ ไพรท่ีดูดซม� งายดว ย 48 50 ไมโครอมี ัลชัน 52 21. นวตั กรรมครม� อาบน้ำกนั ยุงจากสารสกัดสมุนไพรไทยที่กกั เก็บในแคปซลู นาโน 54 22. ผลิตภัณฑน ำ้ ปลาหวานจากกุงคดั ขนาดอบแหง 23. แผนมาสกห นานาโนเซลลโู ลสจากขาวไทย 24. Application Platform iShop ในการจดั จำหนายสินคา ออนไลน กลุม งานว�จยั เพ่อื งานอตุ สาหกรรมสรา งสรรค 25. เคร�่องเจ�ยระไนพลอยขนาดเล็ก 58 26. การออกแบบพฒั นาผลิตภณั ฑแฟช่นั ชดุ ลำลองดว ยเทคนคิ การสรางลวดลาย ดวยวธ� ก� ารมัดยอม 60 27. นวัตกรรมการยอ มสีธรรมชาติจากใบยานาง เพอ่ื การแปรรปู รองเทาสตร� จงั หวัดสระแกว 62 28. การพัฒนาเพือ่ ยกระดับผลติ ภัณฑผา ทอมือดงบัง ดว ยการยอ มสธี รรมชาติจากใบไผ กลุมสตรผ� า ทอมอื ดงบงั ตำบลดงบงั อำเภอประจันตคราม จังหวดั ปราจ�นบุร� 64 29. การพัฒนายกระดบั OTOP ดวยว�ทยาศาสตรเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม กลุมสตรท� อผา บานดงบัง จงั หวัดปราจน� บรุ � 66 30. การพัฒนาเสนใยกลวยในงานแฟชั่นเคร่�องแตง กายและเคหะสิ่งทอ 68
กลมุ งานวจ� ยั เพอื่ การพัฒนาการเกษตร และอตุ สาหกรรมเกษตรแปรรูป
การผลิตขา วหมากโพรไบโอติกดวยกลา เช้ือผสม ไดร บั การสนับสนุนทนุ ว�จัยจาก สำนกั งานพฒั นาการวจ� ัยการเกษตร (องคก ารมหาชน) งบประมาณท่ีไดร บั 600,000 บาท ผูชว ยศาสตราจารย ดร.เจร�ญ เจรญ� ชยั รา Amylomyces rouxii บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคัญ พัฒนาเทคโนโลยีกลาเช�้อผสม ระหวางรา Amylomyces rouxii ยีสต Saccharomyces cerevisiae และแบคทีเรย� โพรไบโอติก Pediococcus pentosaceus ในการผลิตขาวหมากโพรไบโอติก โดยแยกเช�้อทั้งสามชนิดจากขาวหมาก ทดสอบ คุณสมบัติโพรไบโอติก และศึกษาอัตราสวนผสมของกลาเช�้อที่เหมาะสมในการ ผลิตขาวหมากที่มีคุณภาพเปนไปตามมาตรฐาน และมีจำนวนโพรไบโอติกตาม ที่กฎหมายกำหนด 2
ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเช�งพาณิชย 2564 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi แบคทเี รย� โพรไบโอตกิ ทแี่ ยกไดจ ากขา วหมาก จด� เดนของผลงาน เทคโนโลยีการใชกลาเช�้อ ทำใหผลิตภัณฑขาวหมากมีคุณภาพสม่ำเสมอ และมี คุณสมบตั เิ ปนโพรไบโอตกิ ที่พิสูจนได การนำไปใชป ระโยชนเช�งพาณิชย ยังตอ งมกี ารพฒั นาการผลติ กลาเชอ้� ผสมสำเร็จรูป เพอื่ ใหสะดวกตอ การใชงาน ในระดบั อตุ สาหกรรมการผลติ ขา วหมาก ทรัพยสินทางปญญา อยูระหวา งการดำเนนิ การ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร. เจรญ� เจร�ญชัย คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 081 649 4337 3
การผลติ เคร�่องดื่มนำ้ สมสายชหู มักจากนำ้ สาโทเหลือทงิ� ไดรับการสนบั สนุนทนุ วจ� ัยจาก สำนกั งานคณะกรรมการสงเสร�มว�ทยาศาสตร ว�จัย และ นวัตกรรม งบประมาณที่ไดร ับ 280,000 บาท ผูชว ยศาสตราจารย ดร.เจร�ญ เจรญ� ชัย บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคัญ ในกระบวนการผลิตสาโทของบร�ษัท ไทยโปรดักสแอนดเบเวอรเรจ จำกัด มีน้ำสาโทเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิต จ�งไดนำมาใชเปนวัตถุดิบในการหมัก น้ำสมสายชู โดยใชแอลกอฮอลจากสาโทเปนสารตั้งตน และหมักกรดอะซ�ติกดวย แบคทีเร�ย Acetobacter aceti ในระบบถังหมักขนาดโรงงานตนแบบ ในสภาวะ เติมออกซ�เจนอิ่มตัว จากนั้นนำกรดอะซ�ติกที่ไดผสมกับน้ำเช�่อมขาวของบร�ษัท อัดกาซบรรจ�ขวด 4
ผลงานวจ� ัย และนวัตกรรมเช�งพาณิชย 2564 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดน ของผลงาน ผลิตภัณฑที่ได เปนเคร�่องดื่มเช�งสุขภาพ โดยกรดอินทร�ยที่เกิดจากการหมัก มีประโยชนตอสุขภาพทั้งตอระบบทางเดินอาหาร และการตานจ�ลช�พ มีรสชาติ หวานอมเปร�้ยว สามารถอัดกาซเพื่อเพิ่มความซาใหผลิตภัณฑ และในปจจ�บัน เคร�่องดื่มที่ไดจากการหมักกรดอะซ�ติกไดรับความสนใจจากผูบร�โภคเพิ่มมากข�้น เชนคอมบชู า เปนตน การนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณิชย บร�ษัทฯ อยูระหวางการปรับปรุงโรงงานเพื่อเพิ่มพื้นที่จากโรงงานผลิตสาโท ใหม สี ายการผลติ เครอ่� งดม่ื จากนำ้ สม สายชู และสามารถถา ยทอดใหผ ปู ระกอบการ รายอนื่ นำไปผลติ จำหนายได ทรัพยสนิ ทางปญญา อยรู ะหวา งการดำเนินการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.เจร�ญ เจร�ญชัย คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 081 649 4337 5
เครอ่� งดมื่ คราฟตโซดาจากใบกาแฟพันธุอาราบิกา CRAFT SODA FROM ARABICA COFFEE LEAVES ไดร บั การสนบั สนุนทนุ วจ� ยั จาก งบประมาณสวนตัว งบประมาณที่ไดร ับ 50,000 บาท รองศาสตราจารย ดร.วร�นธร พูลศร� บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคญั ในกระบวนการผลิตสาโทของบร�ษัท ไทยโปรดักสแอนดเบเวอรเรจ จำกัด มีน้ำสาโทเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิต จ�งไดนำมาใชเปนวัตถุดิบในการหมัก น้ำสมสายชู โดยใชแอลกอฮอลจากสาโทเปนสารตั้งตน และหมักกรดอะซ�ติก ดว ยแบคทเี รย� Acetobacter aceti ในระบบถงั หมกั ขนาดโรงงานตน แบบ ในสภาวะ เติมออกซ�เจนอิ่มตัว จากนั้นนำกรดอะซ�ติกที่ไดผสมกับน้ำเช�่อมขาวของบร�ษัท อัดกาซบรรจ�ขวด 6
ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเช�งพาณชิ ย 2564 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดนของผลงาน การเพื่อพัฒนากรรมว�ธ�การผลิตเคร�่องดื่มชนิดใหม ไมใชกระบวนการอัดกาซ แตจะหมักใหเกิดกาซแทน เคร�่องดื่มชนิดนี้ถูกเร�ยกวา “คราฟตโซดา” ตอยอด จากการนำใบกาแฟที่นำไปทำชาเพิ่มทางเลือกใหกับเกษตรกรไรกาแฟ และเพิ่ม มูลคาใหกับใบกาแฟ เปนการลดปร�มาณของเสียในกระบวนการผลิตเมล็ดกาแฟ ชวยลดมลพิษสิ่งแวดลอม การนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณิชย เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับใบกาแฟ และเปนการเพิ่มรายไดใหแกเกษตรกรผูปลูกกาแฟ รวมถึงยังเปนการสรางผลิตภัณฑใหมแกตลาด อีกทั้งยังชวยพัฒนาระบบ เศรษฐกิจไทยตอไปไดอีกดวย ทรพั ยส นิ ทางปญญา คำขอรบั สิทธบ� ตั ร เลขที่ 1901000450 รองศาสตราจารย ดร.วรน� ธร พูลศร� คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 592 1955 7
เคร่�องด่ืมคราฟตเ บียรจ ากเปลือกกาแฟพันธอุ าราบิกา CRAFT BEER FROM ARABICA COFFEE CHERRY ไดรบั การสนับสนนุ ทุนวจ� ัยจาก งบประมาณสว นตัว งบประมาณท่ีไดรับ 50,000 บาท รองศาสตราจารย ดร.วร�นธร พูลศร� บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคัญ ในปจจ�บันการบร�โภคการแฟเปนที่ยอมอยางมาก โดยพบวาในแตละปจะมีการ ปลูกกาแฟ ซ�่งในกระบวนการผลิตเมล็ดกาแฟนั้นจะมีสวนที่เปนวัสดุเหลือทิ้งหลัก คือ เปลือกกาแฟมากที่สุด คิดเปนน้ำหนักประมาณรอยละ 55 ของผลกาแฟสด ทั้งหมด โดยปกติจะถูกกำจัดโดยว�ธ�การฝงกลบ หร�อปลอยใหยอยสลายเอง ตามธรรมชาติ จง� ไดศ กึ ษาการนำเปลือกกาแฟสดมาทำการพฒั นาข�น้ เปนผลติ ภัณฑ คราฟตเบียรจากเปลือกกาแฟเพื่อเปนการลดปร�มาณของเสียหร�อปร�มาณขยะ ในการผลิตกาแฟ เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับเปลือกกาแฟ และเปนการเพิ่มรายไดใหแก เกษตรกรผูปลูกกาแฟ 8
ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2564 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จ�ดเดนของผลงาน การเพื่อพัฒนากรรมว�ธ�การผลิตเบียรแบบใหม โดยใชเปลือกเมล็ดกาแฟสด มาทำการพัฒนาข�้นเปนผลิตภัณฑคราฟเบียรจากเปลือกกาแฟเพื่อเปนการลด ปร�มาณของเสียในกระบวนการผลิตเมล็ดกาแฟ ชวยลดมลพิษสิ่งแวดลอม การนำไปใชประโยชนเช�งพาณิชย เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับเปลือกกาแฟ และเปนการเพิ่มรายไดใหแกเกษตรกรผูปลูก กาแฟ รวมถึงยังเปนการสรางผลิตภัณฑใหมแกตลาด อีกทั้งยังชวยพัฒนาระบบ เศรษฐกิจไทยตอไปไดอีกดวย ทรัพยส ินทางปญ ญา คำขอรับสทิ ธบ� ัตร เลขท่ี 1901000452 รองศาสตราจารย ดร.วรน� ธร พูลศร� คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 592 1955 9
ซุปผงขา วหอม ไดรบั การสนบั สนุนทนุ ว�จยั จาก ทุนสวนตวั งบประมาณที่ไดร บั 50,000 บาท ผชู วยศาสตราจารย ดร.อินทิรา ลิจนั ทรพ ร บทสรุปดา นนวตั กรรม และความสำคญั การบร�โภคซุปเปนทางเลือกหนึ่งแกผูสูงอายุที่มีภาวะการกลืนลำบากและ สวนใหญนิยมบร�โภคขาวดังนั้นการเลือกขาวที่นำมาบร�โภคจ�งมีสวนสำคัญ ขาวหอมนางพญาแมทองดำเปนขาวพันธุพื้นเมืองของจังหวัดจันทบุร�มีลักษณะ เดนคือเมล็ดเล็กมีเยื่อหุมเมล็ดสีมวงอมดำ มีว�ตามินอี ธาตุเหล็ก ไนอะซ�น และ ยงั มปี ร�มาณกรดโฟลิกสงู กวา ขาวพนั ธุพน้ื เมอื งอ่ืน รวมทัง้ มีสารตานอนุมูลอสิ ระ และสารแอนโทไซยานินสามารถชวยลดการอักเสบของเนื้อเยื่อ ไขมันอุดตัน ในเสนเลือด และโรคความดันโลหิตสูง งานว�จัยนี้จ�งมีแนวคิดในการนำขาวหอม นางพญาแมทองดำมาผลิตเปนซุปที่มีสวนผสมของผักและเนื้อสัตวเพื่อใหมี สารอาหารครบและเหมาะกับผูสูงอายุ 10
ผลงานว�จยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2564 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดน ของผลงาน ผลติ ภณั ฑซ ปุ กง่ึ สำเรจ็ รปู จากผงขา วหอมมคี ณุ คา ทางโภชนาการสงู เปน แหลง ที่ดีของกรดโฟลิก สารตานอนุมูลอิสระ เสนใยอาหาร ไมมีคอเลสเตอรอล และมี ปร�มาณโซเดียมนอย สามารถจัดเตร�ยมไดงายโดยชงละลายน้ำไดทันที ซ�่งทำให สะดวกตอการบร�โภค นอกจากนี้ยังใหเนื้อสัมผัสเนียนละเอียดและมีสีมวงออน เพื่อตอบสนองความตองการของกลุมผูสูงอายุและเพิ่มทางเลือกใหกับผูบร�โภค ทั่วไป การนำไปใชประโยชนเ ช�งพาณชิ ย ซุปผงขาวหอมเปนผลิตภัณฑที่มีคุณคาทางอาหารสูงใชขาวหอมนางพญา แมทองดำซ�่งชวยเพิ่มรายไดใหเกษตรกรผูปลูก รวมทั้งสรางผลิตใหมแกตลาด ชวยพัฒนาระบบเศรษฐกิจใหมีความยั่งยืนตอไป ทรพั ยส ินทางปญ ญา คำขออนุสทิ ธ�บัตร เลขที่ 2003002106 ผูชว ยศาสตราจารย ดร.อนิ ทิรา ลิจนั ทรพร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 592 1955 11
ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเช�งพาณชิ ย 2564 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi กลมุ งานว�จัย เพ่ือพลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ ม
อปุ กรณก รองไมโครพลาสตกิ ในน้ำเสยี จากขยะพลาสติก ไดร ับการสนบั สนนุ ทุนว�จยั จาก ภายใตก รอบงานว�จยั แผนงานสำคญั (Flagship) ประจำปงบประมาณ 2563 ชุมชนนวตั กรรมเพ่อื การพฒั นาอยา งยั่งยืน งบประมาณท่ีไดรับ 200,000 บาท ดร. ณรงคชัย โอเจรญ� บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคญั การพัฒนาตัวกรองที่ข�้นรูปจากขยะพลาสติกก็พบวา ขยะพลาสติกชนิด LDPE ทไี่ ดจากถุงพลาสตกิ หูห้ิว สามารถเตร�ยมใหมีรพู รุนทมี่ ีความสมำ่ เสมอและเหมาะสม ในการทำตัวกรองไดดีทสี่ ุดเมอื่ เทยี บกบั ขยะพลาสติกชนดิ อื่นๆ โดยไดขนาดรูพรุน อยูท่ี 0.4-1.0 มิลลเิ มตร โดยในงานว�จัยน้ีสามารถขน�้ รูปไดท นี่ ำ้ หนกั สูงสุด 40 กรัม และพบวาสามารถใหประสิทธ�ภาพในการกรองเสนใยตัวอยางไดมากกวา 99% และสามารถทนตัวทำละลายชนิดน้ำสบูและผงซักฟอกไดดี แตยังพบปญหากับ ตัวทำละลายในกลุม รูปที่ 1 ตัวกรองทีข่ ้น� รูปไดจ ากขยะพลาสติกขณะทดสอบการกรองเสนใยขนาด 600 ไมโครเมตร 14
ผลงานวจ� ัย และนวัตกรรมเช�งพาณิชย 2564 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi รูปท่ี 2 ภาพขยายแสดงความเปนรพู รุน (ซาย) และลักษณะของตวั กรอง (ขวา) จด� เดนของผลงาน ผลิตภัณฑจากงานว�จัยนี้ไดแนวคิดจากปญหาที่พบในการนำขยะพลาสติก กลับมาข�้นรูปใหมดวยการข�้นรูปแบบหมุนแมพิมพ (Rotational Molding) พบวา จากขยะพลาสติกบางชนิดที่เตร�ยมไดทำใหช�้นงานไมสมบูรณ เกิดรูพรุนขนาดเล็ก จำนวนมากในชน้� งาน จง� มแี นวคดิ ทจ่ี ะประยตุ ม าใชเ ปน วสั ดตุ วั กรองในระบบกรองนำ้ ในชมุ ชนเพอ่ื ปอ งกนั การปนเปอนของไมโครพลาสติกลงสูแหลงนำ้ ชุมชน การนำไปใชประโยชนเชง� พาณชิ ย การใชประโยชนเช�งพาณิชยเนนไปที่การเตร�ยมวัสดุจากขยะพลาสติกเพื่อนำ กลับมาใชใหม เพื่อเปนการสรางมูลคาใหกับขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งจากแหลงชุมชน พบวาสามารถนำมาใชในการข�น้ รปู ผลิตภัณฑไดหลากหลายชนิด และมีลักษณะเดน ในเร่�องของสีสนั และลกั ษณะพื้นผิวผลติ ภณั ฑ ตามชนดิ ของขยะพลาสตกิ ท่นี ำมาใช และว�ธก� ารเตร�ยมขยะพลาสตกิ ทรพั ยส นิ ทางปญญา อยูระหวา งการดำเนินการ ดร.ณรงคชยั โอเจรญ� คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3480 15
บรรจภ� ัณฑช นดิ กลวงจากผงไผเ หลือทิ�ง ไดร บั การสนับสนุนทุนว�จัยจาก กิจกรรมสง เสรม� และสนับสนนุ การวจ� ยั จากกองทนุ สง เสรม� ววน. , หนวยบร�หารและจัดการทุนดานการพัฒนาพื้นที่ (บพท.) และสำนักงานสภานโยบาย การอุดมศกึ ษา ว�ทยาศาสตร ว�จัยและนวตั กรรมแหงชาติ (สอวช.) ประจำปงบประมาณ 2563 รองศาสตราจารย ดร. สรพงษ ภวสปุ รย� และ ดร. ณรงคช ัย โอเจรญ� บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคัญ บรรจภ� ณั ฑช นดิ กลวงจากผงไผเหลอื ทิง้ เปน บรรจภ� ณั ฑทผี่ ลิตโดยใชว ัสดุผสม จากผงไผเหลือทิ้งกับพลาสติกแลวนำไปข�้นรูปดวยกระบวนการข�้นรูปแบบหมุน ซ�่งการนำผงไผเหลือทิ้งมาเปนวัสดุผสมจะชวยเพิ่มมูลคาและขอเสียในชุมชน ลดขยะ จากไผเหลือทิ้ง และ PM 2.5 ภายใตแนวคิด “ขยะไผ อยาเผา อยาทิ้ง ขายได” 16
ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2564 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดน ของผลงาน บรรจ�ภัณฑชนิดกลวงจากผงไผเหลือทิ้งจะเปนผลิตภัณฑที่ชวยเพิ่มมูลคาจาก ของเหลือทิ้งในชุมชน และเพิ่มรายไดกลับคืนชุมชน ไดรวมเขาประกวดนวัตกรรม BCG ในนามของ มทร.ธัญบุร� ซ�่ง มทร.ธัญบุร� ไดรางวัล Platinum Award ถวยพระราชทาน (Thailand Research Expo 2020) การนำไปใชประโยชนเชง� พาณิชย บรรจ�ภัณฑชนิดกลวงจากผงไผเหลือทิ้งไดผลิตออกมาเปน 2 รูปแบบคือ ถังที่นั่งอเนกประสงคดานในสามารถบรรจ�ของไดขนาด 70 ลิตร กระถางทรง ส่เี หลยี่ มขนาด 75 ลติ ร กระถางทรงกลมขนาด 170 ลิตร มีการจำหนา ยและผลติ ที่ บร�ษัท โรโตแมชช�นเอ็นจ�เนียร�ง จำกัด (088-417-5428) หร�อติดตอไดที่ สถาบันว�จัยและพัฒนา มหาว�ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� ทรัพยสนิ ทางปญ ญา คำขอรับอนุสิทธ�บัตร เลขที่ 11775, 13400, 140356 รองศาสตราจารย ดร.สรพงษ ภวสุปรย� และ ดร.ณรงคช ยั โอเจร�ญ คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3480 17
ผลงานว�จัย และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2564 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi กลมุ งานวจ� ัย เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรม สำหรบั ภาคอตุ สาหกรรม
การออกแบบและพัฒนาระบบ ชดุ เก็บเกีย่ วเมล็ดกาแฟอัตโนมตั ิ ไดรบั การสนบั สนุนทนุ ว�จยั จาก งบประมาณ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 งบประมาณที่ไดรับ 2,996,373 บาท รองศาสตราจารย ดร.ศิรช� ัย ตอ สกลุ และคณะ บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคัญ กาแฟเปนพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย แตตนทุนการผลิตของไทย อยูในระดับสูงเมื่อเปร�ยบเทียบกับคูแขง ทำใหไมสามารถแขงขันกับประเทศคูแขง ในดานราคาได ซ�่งการเก็บเกี่ยวประสบปญหาคาแรงงานสูงและขาดแคลนแรงงาน การนำเคร�่องจักรเก็บเกี่ยวเมล็ดกาแฟมาใชในขั้นตอนการเก็บเกี่ยวเปนทางหนึ่ง ที่สามารถลดตนทุนได 20
ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2564 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จ�ดเดน ของผลงาน ระบบชุดเก็บเกี่ยวเมล็ดกาแฟอัตโนมัติ สามารถเก็บเมล็ดกาแฟไดอยางมี ประสิทธภ� าพ ลดเวลาในการเก็บ และลดตน ทนุ การผลิตดานแรงงาน และลดปญหา การขาดแคลนแรงงานคนในการเก็บเมลด็ กาแฟ การนำไปใชประโยชนเชง� พาณชิ ย ระบบชุดเก็บเกี่ยวเมล็ดกาแฟ ความเร็วรอบ 450 รอบตอนาที และวัสดุกานตี แบบไฟเบอรกลาสในการทดสอบ ใชเวลา 8 นาทีตอการเก็บเมล็ดกาแฟ 1 ตน สามารถเก็บเมล็ดกาแฟได 1990.30 กรัม ผลการว�เคราะหเศรฐศาสตร พบวา ระบบชุดเก็บเกี่ยวเมล็ดกาแฟอัตโนมัติ มีคาใชจายต่ำกวาการใชแรงงานคนในการ เก็บเกี่ยวผลผลิตที่มีตนทุนจากคาจางเหมา ทรพั ยส ินทางปญ ญา อยรู ะหวา งการดำเนนิ การ 1) รองศาสตราจารย ดร.ศริ �ชยั ตอ สกลุ 2) ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.กุณฑล ทองศร� 3) ผูช วยศาสตราจารย ดร.พนั ธพุ งษ คงพันธุ 4) นายชวลิต อินปญ โญ 5) นายธงชัย เพ็งจันทรด ี 6) นายบุญเกอ้ื ทองแท คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� [email protected] โทรศพั ท 02 549 3490 21
เคร�่องเหว�่ยงแยกน้ำออกจากหนังหมูสำหรับใชทำแคบหมู ไดร บั การสนบั สนนุ ทนุ วจ� ยั จาก สำนกั งานคณะกรรมการสง เสรม� วท� ยาศาสตร วจ� ยั และ นวตั กรรม (สกสว.) งบประมาณท่ไี ดร บั 288,000 บาท ผูช วยศาสตราจารย ดร.มานพ แยม แฟง เครอ่� งเหวย่� งแยกนำ้ ออกจากหนงั หมสู ำหรบั ใชท ำแคบหมู บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคัญ ปจจบ� ันกระบวนการผลิตแคบหมมู ีกระบวนการแยกน้ำออกจากหนงั หมู ซง�่ เปน ขน้ั ตอนหลงั จากการทำความสะอาดหนงั หมู จากนน้ั จะนำไปแยกนำ้ ออกจากหนงั หมู โดยการนำหนงั หมไู ปแขวนไวท ีร่ าวเหมือนการตากผา เพอ่ื ใหน้ำหยดออกจากหนงั หมู ซ่�งใชร ะยะเวลานาน เมอ่ื ตอ งการลดระยะเวลาจำเปนตอ งนำพดั ลมขนาดใหญมาชวย แตก็ทำใหเสียคาใชจายเพิ่มมากข�้น ดังนั้นผูว�จัยจ�งไดออกแบบและสรางเคร�่องเพื่อ ชว ยลดระยะเวลาในข้ันตอนดงั กลา ว 22
ผลงานวจ� ัย และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2564 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดน ของผลงาน 1. สามารถลดระยะเวลาในกระบวนการผลติ แคบหมู 2. เพม่ิ ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ านเนอ่ื งจากไมม นี ำ้ ทม่ี คี วามมนั หยดมาจาก หนังหมูเมื่อใชว�ธ�การแขวนบนราวและใชพัดลมเปา 3. เคร�่องที่ออกแบบและสรางไมซับซอนผูใชสามารถบำรุงรักษาเคร�่องได การนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย สามารถขยายผลไปสผู ปู ระกอบการผลติ แคบหมรู ายอน่ื หรอ� นำไปเหวย่� งสลดั นำ้ ออกจากวสั ดหุ รอ� ผลติ ภณั ฑอ น่ื ๆทม่ี ลี กั ษณะใกลเ คยี งกนั ทรพั ยส นิ ทางปญญา - สิทธ�บัตร เลขที่ 76548 - อนสุ ิทธ�บตั ร เลขท่ี 16439 ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.มานพ แยมแฟง คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3435 23
เครอ่� งอบแหง ดวยรังสีอินฟราเรดรวมกับลมรอน ไดรบั การสนับสนุนทนุ ว�จัยจาก งบประมาณสวนตวั งบประมาณท่ีไดรับ 60,000 บาท ผูช วยศาสตราจารย ดร.ขวญั ชัย จอยเจร�ญ บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคญั เปนเคร�่องอบแหงขนาดกะทัดรัดเมื่อเทียบกับปร�มาตรหองอบแหง สามารถ ใหความรอนภายในเนื้อวัตถุดิบไดโดยตรง ชวยลดการเกิดสีคล้ำกับผลิตภัณฑ สามารถเลือกฟงกชันการอบแหงได 3 รูปแบบ คืออบแหงดวยรังสีอินฟราเรด รว มกบั ลมรอน หร�อ ลมรอนเพียงอยา งเดยี ว หร�อรงั สอี นิ ฟราเรดเพียงอยางเดยี ว ชวยประหยัดพลังงาน ไฟฟา และสามารถประเมินคาความสิ้นเปลืองพลังงานจำเพาะ ตอ ผลผลติ ไดทันที 24
ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเชง� พาณชิ ย 2564 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดน ของผลงาน สามารถอบแหงวัตถุดิบประเภทอาหารไดหลายประเภททั้งผลไม ผัก และ เน้ือสัตวท ห่ี นั่ เปน แวน หร�อเปน ชน�้ สามารถเลือกไดว า จะอบแหงดวยรังสีอนิ ฟราเรด รวมกบั ลมรอน หร�อลมรอนเพยี งอยางเดียว หร�อรงั สอี ินฟราเรดเพียงอยางเดียว เพื่อใหเหมาะกับวัตถุดิบแตละประเภท เคร�่องอบแหงยังไดติดตั้งมาตรวัดพลังงาน ไฟฟาที่ใชในระหวางการอบแหง เพื่อใหส ามารถประเมินคา ความสน้ิ เปลอื งพลงั งาน จำเพาะได การนำไปใชป ระโยชนเ ช�งพาณิชย เคร�่องอบแหงที่ประดิษฐข�้นนี้มีขนาดกะทัดรัดจ�งเหมาะสำหรับนำไปใชระดับ ครัวเร�อน เพื่อใหบุคคลทั่วไปสามารถใชเคร�่องอบแหงอบผลิตภัณฑตางๆ ตามที่ ตองการได ความตองการใชเคร�่องอบแหงจ�งเหมาะที่จะผลิตเคร�่องอบแหงในเช�ง พาณิชยได นอกจากนี้อาจนำเคร�่องอบแหงไปผลิตอาหารอบแหงประเภทตางๆ เพื่อจำหนายในเช�งพาณิชยได หร�ออาจใชเปนตนแบบเพื่อขยายขนาดใหเหมาะ สำหรับระดับในเช�งอุตสาหกรรม ทรัพยส ินทางปญ ญา อยรู ะหวางการดำเนนิ การ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ขวญั ชยั จอ ยเจรญ� คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3430 25
นวตั กรรมสเปรยเคลือบผิววสั ดุของพอลเิ มอรไมโครแคปซูล กกั เกบ็ อนภุ าคไมโครไอรอนอะลูมิเนตสำหรบั สะทอนความรอ น ไดร ับการสนับสนนุ ทนุ วจ� ัยจาก ทนุ โครงการสรา งภาคบี ัณฑิตศกึ ษา รวมกบั สถาบันว�จยั วท� ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หง ประเทศไทย ประจำป 2562 งบประมาณที่ไดร บั 180,000 บาท รองศาสตราจารย ดร.ปรย� าภรณ ไชยสตั ย บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคัญ พอลเิ มอรไมโครแคปซูลกกั เกบ็ อนุภาคไมโครไอรอนอะลูมิเนตทม่ี ปี ระสิทธ�ภาพสงู ในการสะทอ นรงั สอี นิ ฟราเรดและควบคมุ อณุ หภมู ิ โดยการเตรย� มในรปู ของสเปรย พนเคลือบที่มีพอลิเมอรไมโครแคปซูลกระจายตัวอยูในน้ำที่เปนตัวกลาง เปนมิตร ตอ สิ่งแวดลอม ใชง านไดงาย สามารถเคลอื บลงบนผิววสั ดรุ องรบั ชนดิ ตางๆ เชน กระจก เมทัลชท� และพลาสติก ไดโดยตรงโดยไมตอ งใชส ารตัวเช่อ� มภายนอก 26
ผลงานว�จัย และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2564 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi (a) สารแขวนลอย (b) อนุภาคพอลิเมอรไมโครแคปซูล (c) ประสิทธภ� าพการสะทอ นรังสอี นิ ฟราเรด และ (d) ประสิทธ�ภาพการควบคุมอณุ หภูมิของกระจกเคลอื บดว ยพอลเิ มอรไมโครแคปซลู กกั เก็บ อนุภาคไมโครไอรอนอะลูมิเนต จด� เดน ของผลงาน พอลิเมอรไมโครแคปซูลทรงกลมที่มีความแข็งแรง มีประสิทธ�ภาพการกักเก็บ อนุภาค ไมโครไอรอนอะลมู ิเนตสงู มีประสทิ ธ�ภาพสงู ในการสะทอนรงั สีอินฟราเรด และควบคุมอุณหภูมิ สามารถลดอุณหภูมิลงได 14-15 องศาเซลเซ�ยส สามารถ เตร�ยมเปนสเปรยพนเคลือบลงบนวัสดุรองรับไดงายและคงทน โดยหลักการเกิด ฟลมที่ยึดติดพื้นผิวดวยพอลิบิวทิลอะคร�เลตที่เปนองคประกอบของไมโครแคปซูล จง� ไมตอ งใชส ารตวั เช่อ� มภายนอก การนำไปใชป ระโยชนเ ช�งพาณชิ ย สเปรยของพอลิเมอรไมโครแคปซูลสามารถใชงานไดงาย สะดวก โดยการเจ�อจาง สารแขวนลอยของพอลิเมอรไมโครแคปซูลดวยน้ำใหมีความเขมขนที่เหมาะสม ทำการพนลงบนวสั ดรุ องรบั ชนดิ ตาง ๆ เชน กระจก เมทลั ช�ท และพลาสตกิ ไดโดยตรง เมื่อน้ำระเหยออกจะไดฟลมของพอลิเมอรไมโครแคปซูลเคลือบบนผิววัสดุรองรับ อยา งคงทน ทรัพยส นิ ทางปญ ญา คำขอรบั อนุสทิ ธบ� ัตร เลขที่ 2003003278 รองศาสตราจารย ดร.ปรย� าภรณ ไชยส ัตย คณะวท� ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 4164 27
การพัฒเคนราอ�่ลงวอดบลแาหยง แลบะบกคาลรนื่ตลัดมเยร็อบนชุดเดรส ดวยผายอมดินภูเขาไฟ (ภูอัคนี) ไดร บั การสนบั Dสeนvนุ eทlุนoวpจ� mัยจeาnกtมoหfาpวท�aยttาeลrยั nเทsคaโนnโลdยdรี าeชsมiงgคnลoธัญf dบrุรe� sses งบประมาณที่ไดรบั 250,00w0 iบthาทcloth dye volcanic soil. รองศาสตราจารย ดร.ชาญณรงค วนั ทา บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคญั เคร�่องอบแหงแบบคลื่นลมรอน (Pulsating hot air dryer) ที่พัฒนาข�้นใหมนี้ มปี ระสทิ ธภ� าพสงู เหมาะตอ การใชง านในการอบแหง พชื ผลการเกษตร เครอ่� งอบแหง ที่พัฒนานี้ มีชุดกลไกที่ออกแบบข�้นพิเศษเพื่อเหนี่ยวนำใหลมรอนมีคุณลักษณะ การไหลเปนคลื่นไซนกอนเขาลดความช�้นในผลิตภัณฑ นอกจากนี้การวัดน้ำหนัก ของผลติ ภณั ฑทเี่ ปลย่ี นแปลงกับเวลาสามารถทำไดโดยอัตโนมัติ จ�งมีความสะดวก ตอการใชงาน 28
ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2564 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดน ของผลงาน เคร�่องอบแหงแบบคลื่นลมรอน มีชุดกลไกที่ออกแบบข�้นพิเศษเพื่อเหนี่ยวนำ ใหลมรอนมีคุณลักษณะการไหลเปนคลื่นไซนกอนไหลไปถึงผลิตภัณฑ ซ�่งการไหล แบบคลื่นไซตที่มีความถี่และแอมพลิจ�ดของคลื่นจะชวยทำใหเกิดการถายเทมวล ของผลิตภัณฑเปนไปอยางรวดเร็วกวาการไหลแบบลมรอนไหลราบเร�ยบปกติ นอกจากนี้เคร�่องอบแหงแบบคลื่นลมรอนไดติดตั้งชุดวัดน้ำหนักอัตโนมัติ ซ�่งจะ ตรวจสอบระดับความช�้นที่ตองการไดงายและแมนยำข�้น การนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย เคร�่องอบแหงแบบคลื่นลมรอน มีประโยชนตอเกษตรกรหร�อว�สาหกิจชุมชุน ที่มีความประสงคตองการใชเคร�่องอบแหงผลิตภัณฑที่มีประสิทธ�ภาพสูง ใชระยะ ในการอบแหงนอย ทรัพยส ินทางปญญา รองศาสตราจารย ดร.ชาญณรงค วนั ทา อยูระหวา งการดำเนินการ คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 549 3580 29
การพัฒนาชุดทดสอบแบบกระดาษสำหรบั ตรวจวัดคลอร�น ซลั ไฟดแ ละฟอรม าลดีไฮดไดในเวลาเดยี วกัน โดยตรวจวัดดว ยสมารท โฟน สำหรับตรวจวัดน้ำทิ�งกอ น และหลังผา นระบบบำบดั นำ้ เสยี จากโรงงานอุตสาหกรรม ไดร บั การสนับสนุนทุนวจ� ยั จาก โครงการพัฒนานักวจ� ยั และงานว�จัยเพือ่ อุตสาหกรรม (พวอ.) งบประมาณท่ีไดร บั 502,000 บาท รองศาสตราจารย ดร.ศริ �วรรณ ตี้ภู On-site detection chlorine sulfide formaldehyde บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคญั กระทรวงอตุ สาหกรรมจ�งไดออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรอ�่ ง กำหนด มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิง้ จากโรงงาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ทำใหแตละโรงงานตองมี ระบบบำบัดน้ำเสียกอนปลอยออกสูธรรมชาติ ดังนั้นงานว�จัยนี้จ�งไดสรางชุดทดสอบ แบบกระดาษสำหรบั ตรวจวดั คลอรน� ซลั ไฟดแ ละฟอรม าลดไี ฮด ไดในเวลาเดยี วกนั โดยตรวจวัดดวยสมารทโฟน สามารถตรวจวัดไดในภาคสนาม 30
ผลงานวจ� ัย และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2564 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จ�ดเดน ของผลงาน กระดาษทดสอบที่พฒั นาขน�้ มีความเท่ยี ง ความถกู ตอ ง และความจำเพาะเจาะจง สงู มีขด� จำกัดในการตรวจพบคลอรน� ไฮโดรเจนซัลไฟด และฟอรมาลดไี ฮด ตำ่ กวา คามาตรฐานกำหนด ตรวจวัดไดในเวลาเดียวกันภายใน 5 นาที ชุดทดสอบแบบ กระดาษมีอายุการใชงาน 10 สัปดาห มีประสิทธ�ภาพเทียบเทาเคร�่องมือขั้นสูง และสามารถตรวจวดั ไดดว ยตวั เองไดในภาคสนาม การนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณิชย เปน ตน แบบที่สามารถนำไปตอ ยอดในเช�งพาณชิ ยได ทรัพยสินทางปญญา อยรู ะหวางการดำเนนิ การ รองศาสตราจารย ดร.ศิรว� รรณ ตภี้ ู คณะวท� ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3529 31
ตูฆา เช้อื หนา กากอนามัยและภาชนะใสอาหารดว ยรังสี UVC ไดรบั การสนับสนุนทนุ วจ� ยั จาก คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � งบประมาณที่ไดร บั 50,000บาท ผูช วยศาสตราจารย ดร.มานพ แยมแฟง ตฆู า เช้�อหนากากอนามัยและภาชนะใสอาหารดว ยรังสี UVC บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคัญ ปจ จ�บันมกี ารแพรร ะบาดของโรคโควด� 19 ซ่�งเกดิ จากการติดเช�้อผา นการสัมผสั เชอ้� โรคตามอปุ กรณต า ง ๆ การฆา เชอ้� โควด� 19 ดว ยรงั สี UVC เปน อกี หนง่ึ วธ� ก� าร ท่ีใชในการลดการแพรร ะบาดของเชอ้� ดงั นน้ั ผวู จ� ยั จง� ไดอ อกแบบและสรา งตฆู า เชอ้� หนากากอนามัยและภาชนะใสอาหารเพื่อชวยลดการแพรกระจายและการติดเช�้อ โควด� 19 32
ผลงานว�จัย และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2564 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดน ของผลงาน 1. สามารถลดการแพรกระจายของเช้�อโคว�ด 19 2. เพิ่มความปลอดภัยสำหรับบุคลากร มทร.ธัญบุร� ที่ใชวัสดุและอุปกรณ โรงอาหาร 3. ตูทอี่ อกแบบและสรางไมซ บั ซอ นผูใชส ามารถใชงานไดส ะดวก การนำไปใชป ระโยชนเ ช�งพาณชิ ย สามารถขยายผลไปสสู ถาบนั การศึกษาหร�อผปู ระกอบการรา นอาหารเพื่อลด การแพรกระจายของเช�้อโคว�ด 19 รวมถึงเพิ่มความปลอดภัยใหกับผูที่เขามาใช บร�การ ทรัพยส นิ ทางปญ ญา คำขอรับสิทธบ� ตั ร เลขท่ี 2102000456 ผชู วยศาสตราจารย ดร.มานพ แยม แฟง คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3435 33
หนากากผา แสดงผลผปู ว ยที่มอี ณุ หภมู สิ ูง ดว ยการเปลี่ยนสขี องสารเทอรโมโครมกิ ไดร ับการสนบั สนุนทุนว�จัยจาก โครงการท่เี กีย่ วเนื่องกบั การพฒั นานวตั กรรม หรอ� ส่งิ ประดิษฐท ่ีสามารถแกป ญหาและผลกระทบจากการแพรร ะบาดของเชอ�้ ไวรสั โควด� -19 คณะว�ศวกรรมศาสตร งบประมาณท่ีไดรับ 50,000 บาท ดร.นาร�รตั น จร�ยะปญญา บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคัญ บทสรุปผลการออกแบบพบวาหนากากผาปองกันไวรัส COVID-19 โดย แสดงผลผูปวยที่มีอุณหภูมิสูงดวยการเปลี่ยนสีของสารเทอรโมโครมิกนั้น สามารถใชงานไดอยางมีประสิทธ�ภาพ คณะนักว�จัยคาดวานวัตกรรมหนากากผา ปองกันไวรัส COVID-19 โดยแสดงผลผูปวยที่มีอุณหภูมิสูงดวยการเปลี่ยนสี ของสารเทอรโมโครมิกจะสามารถเปนตนแบบนวัตกรรมหนากากผาในเช�งพานิชย ไดในอนาคต 34
ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2564 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จ�ดเดน ของผลงาน หนากากผา สามารถเปลยี่ นสีไดเม่ือผูสวมใสมอี ณุ หภมู ิสูงเกิน 37.5 องศาเซสเซย� ส หนากากสามารถปองกันแบคทีเร�ย สะทอนน้ำและปองกันไฟฟาสถิตยดวยการนำ ผาเสนใยไมโครไฟเบอรที่ผสมเสนใยไฟเบอรคารบอนทอผสมผสานลงในเนื้อผา และการตกแตงเพิ่มคุณสมบัติผา การนำไปใชป ระโยชนเช�งพาณชิ ย สามารถตอยอดผลิตหนากากผาแสดงผลผูปวยที่มีอุณหภูมิสูงดวยการ เปลี่ยนสีของสารเทอรโมโครมิก ในเช�งพาณิชยไดในอนาคตซ�่งกลุมเปาหมาย เหมาะกับบุคคลทั่วไป ทรพั ยสนิ ทางปญ ญา คำขอรบั อนสุ ิทธ�บตั ร เลขที่ 2003002861 ดร.นารร� ัตน จร�ยะปญญา คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 549 3450 35
เครอ่� งอดั ข�น้ รูปจากวสั ดธุ รรมชาติ ไดร ับการสนบั สนุนทนุ ว�จยั จาก ภาคว�ชาว�ศวกรรมเกษตร คณะวศ� วกรรมศาสตร งบประมาณที่ไดร บั 3,000 บาท อาจารย ว�รศักด์ิ หมูเ จรญ� รปู ที่ 1 เครอ่� งอัดขน้� รูปจากวัสดุธรรมชาติ บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคัญ ปจ จบ� ันผกั ตบชวาไดม ีจำนวนเพิม่ มากข�น้ เรอ�่ ยๆ จนกลายเปนขยะของแหลง น้ำ และไมมีผูคนนำไปแปรรูปใหเกิดประโยชน กลุมผูว�จัยจ�งเกิดความสนใจตองการ แปรรปู ผักตบชวาเหลา น้ี โดยการนำผกั ตบชวานีม้ าเปน สว นผสมในการทำถาดเกษตร เพื่อตอ งการประหยัดคาใชจายในการซ�้อถาดเกษตร (ถาดพลาสติก) เพ่อื การเพาะชำ และนำวชั พชื ชนดิ น้ีมาแปรรปู ใหเกิดประโยชน ในการปลกู กลาพนั ธุพ ืชตางๆ ในราคา ไมแ พง 36
ผลงานว�จยั และนวตั กรรมเช�งพาณชิ ย 2564 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi รปู ที่ 2 ถาดเพาะกลาไมจ ากวสั ดุเหลือใชทางการเกษตร จด� เดน ของผลงาน สรา งว�ธจ� ดั การขยะใหดขี น้� หรอ� พัฒนารปู แบบวธ� ก� ารจดั การขยะมูลฝอยใหด ีขน้� พัฒนาเคร�่องมืออำนวยความสะดวกในการจัดการขยะ ไดวัสดุจากธรรมชาติ มาแทนถาดพลาสติกมีราคาแพง ใชเวลาสลายตัวไดสั้นกวา รักษาสมดุลทาง ธรรมชาติ การนำไปใชป ระโยชนเชง� พาณิชย นวตั กรรมเช�งผลติ ภัณฑซ ง�่ ตอยอดสามารถสรา งรายไดหร�อใชป ระโยชนไดจร�ง ดังนนั้ เพ่อื เปนการลดตน ทุนทางตรง คอื ทำแมพ มิ พใหมรี าคาถูก คาใชจ ายในการ ผลิตต่ำสุด ผลิต ประกอบ และทดสอบไดงาย การสรางแมพิมพใหมีราคาถูก จง� เปนทางเลือกของคณะผวู �จยั จง� ไดเลอื กใชคูกับเคร่�องกดไฮดรอลกิ ทส่ี รา งข้�นมา เพ่อื เปนตวั อยางใหก บั ผูท่ีสนใจ ทต่ี องการผลิตสินคา ใชตน ทนุ ตำ่ ตอ ไป ทรพั ยส ินทางปญญา คำขอรบั อนสุ ิทธ�บตั ร เลขท่ี 2003002862 อาจารย ว�รศกั ด์ิ หมเู จรญ� คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3580 37
38
Search