หน่วยที่ 9 การประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และการแก้ไขวงจรเบื้องต้น อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคชุมพร
แผนการจดั การเรียนร้มู งุ้ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 9 สอนครั้งที่ 14-18 ช่ือหน่วย ชว่ั โมงรวม 25 ช่ัวโมง การประยุกต์ใชง้ านอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์และการแก้ไข วงจรเบือ้ งตน้ 1. หวั ข้อเร่อื ง 9.1 หลกั การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้น 9.2 ขน้ั ตอนการออกแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บอื้ งตน้ 9.3 การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 9.4 การสรา้ งวงจรไฟกระพริบ 9.5 การสรา้ งวงจรหรี่ไฟ 9.6 การตรวจสอบแก้ไขปัญหาวงจรเบื้องตน้ 2. สาระสำคญั อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์แต่ละตัวในวงจร จะทำงานตามคุณสมบัติของตัวเอง เพอ่ื จดั ระบบการทำงานท่ี เหมาะสมวงจรก็สามารถทำงานได้ อุปกรณ์ทุกตัวในวงจรมีความสำคัญเท่ากันการทำงานผิดปกติของอุปกรณ์ เพยี งตัวใด ตัวหนึง่ ยอ่ มมีผลต่อการทำงานของวงจรทั้งระบบ ในการออกแบบและการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ขั้นตอนท่ีสำคัญที่สุดจะเป็นการพิสูจน์ความรู้ ความสามารถที่ได้จากการเรียนในภาคทฤษฏีในแต่ละวิชา โดยเฉพาะจากการเรียนในรายวิชาอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ หรือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และจะต้องมีความเข้าใจ เกี่ยวกบั การทำงานของวงจร สามารถตรวจสอบการทำงานหรือแก้ไขปญั หาที่เกิดข้ึนได้ จึงจะนำไปสู่การพัฒนา ให้ดขี ึน้ ให้ตรงกบั ความต้องการในการใช้งานต่อไป 3. สมรรถนะหลัก (สมรรถนะประจำหน่วย) แสดงความร้เู ก่ยี วกับการประยุกต์ใช้งานอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละการแก้ไขวงจรเบอ้ื งตน้ 4. สมรรถนะยอ่ ย (สมรรถนะการเรยี นร)ู้ สมรรถนะทวั่ ไป (ทฤษฎ)ี 1. แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั หลักการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องตน้ 2. แสดงความร้เู กีย่ วกบั ข้นั ตอนการออกแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์เบ้ืองตน้ 3. แสดงความร้เู ก่ียวกบั การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 4. แสดงความรู้เกีย่ วกบั การสรา้ งวงจรไฟกระพรบิ 5. แสดงความรู้เกี่ยวกบั การสรา้ งวงจรหรี่ไฟ 6. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั การตรวจสอบแกไ้ ขปัญหาวงจรเบ้ืองต้น สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ (ทฤษฎี) เมื่อผ้เู รียนได้ศึกษาเนื้อหาในบทนแ้ี ลว้ ผูเ้ รียนสามารถ 1. บอกหลกั การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์เบื้องตน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. อธิบายขัน้ ตอนการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นได้ถูกตอ้ ง
แผนการจดั การเรียนรูม้ ้งุ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ 9 สอนครง้ั ท่ี 14-18 ช่อื หน่วย ชัว่ โมงรวม 25 ช่วั โมง การประยุกตใ์ ชง้ านอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์และการแก้ไข วงจรเบอื้ งต้น 3. อธิบายการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสไ์ ด้ถกู ต้อง 4. อธิบายการสรา้ งวงจรไฟกระพรบิ ไดถ้ ูกตอ้ ง 5. อธบิ ายการสรา้ งวงจรหรี่ไฟได้ถกู ต้อง 6. อธบิ ายการตรวจสอบแกไ้ ขปญั หาวงจรเบ้อื งต้นไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะท่ัวไป (ปฏบิ ตั ิ) 1. แสดงทกั ษะการประยกุ ต์ใช้งานอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และการแก้ไขวงจรเบือ้ งตน้ สมรรถนะท่พี งึ ประสงค์ (ปฏิบัต)ิ เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเนื้อหาในบทนแ้ี ลว้ ผู้เรียนสามารถ 1. ประยุกตใ์ ช้งานอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และแก้ไขวงจรเบือ้ งต้นได้ถูกตอ้ ง 5. กิจกรรมการเรยี นการสอน ในการจดั การเรียนการสอนรายวชิ าอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร (20105-2005) ได้กำหนด กจิ กรรมการเรียนการสอนให้ผเู้ รียนได้เกิดการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการจดั การเรยี นการสอนแบบ MIAP และ ใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning แบบการเรยี นรแู้ บบร่วมมือ (Collaborative learning group) โดยมีขนั้ ตอนการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ดงั น้ี กิจกรรมการเรียนการสอน (สอนครั้งที่ 14 ) เวลา 5 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1. ครผู สู้ อนช้ีแจงรายละเอียดเกย่ี วกับสมรรถนะการเรียนรู้ประจำหนว่ ย และสมรถถนะท่ีพงึ ประสงค์ การวดั และประเมินผลการเรยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และข้อตกลงในการจดั การเรยี นการสอน 2. ครผู ้สู อนแสดงตัวอยา่ งเกี่ยวกบั การประยุกตใ์ ชง้ านอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์และการแก้ไขวงจรเบือ้ งต้น 3. ครูผสู้ อนถา่ ยทอดความรู้ ในหนว่ ยท่ี 9 เรือ่ งหลกั การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบอื้ งตน้ 4. ครูผ้สู อนแสดงใบงานการสาธติ การออกแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์พร้อมอธบิ ายขั้นตอน การปฏิบตั ติ ามใบงาน 5. ครูผูส้ อนใหผ้ ูเ้ รียนแบ่งกลุ่ม และปฏิบัตติ ามขั้นตอนการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 6. ครูผูส้ อนประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของผ้เู รียน และให้ผเู้ รียนช่วยกันสรุปสาระสำคัญของเร่ืองที่เรยี นประจำ สปั ดาห์ ครเู น้นย้ำให้ผ้เู รียนตระหนกั ถึงหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในส่วนของความรับผิดชอบในดา้ น การเรยี น ตระหนักถึงความมวี ินัย ตรงต่อเวลา และมีจิตอาสาในการปฏิบัติงานร่วมกันในการทำงาน ในเรือ่ งการออบแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์
แผนการจดั การเรยี นรู้มงุ้ เนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 9 สอนครั้งท่ี 14-18 ช่ือหน่วย ช่วั โมงรวม 25 ชัว่ โมง การประยุกต์ใชง้ านอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์และการแก้ไข วงจรเบื้องต้น กจิ กรรมการเรยี นการสอน (สอนคร้งั ที่ 15 ) เวลา 5 ช่วั โมง/สปั ดาห์ 1. ครูผู้สอนช้แี จงรายละเอียดเกี่ยวกับสมรรถนะการเรยี นรู้ประจำหนว่ ย และสมรถถนะทพ่ี ึงประสงค์ การวดั และประเมนิ ผลการเรียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และข้อตกลงในการจดั การเรียนการสอน 2. ครผู สู้ อนแสดงตวั อย่างเกย่ี วกับการประยุกตใ์ ชง้ านอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสแ์ ละการแก้ไขวงจรเบ้อื งตน้ 3. ครูผู้สอนถ่ายทอดความรู้ ในหน่วยท่ี 9 เร่ืองข้ันตอนการออกแบบวงจรอเิ ล็กทรอนิกสเ์ บอื้ งต้น 4. ครผู ู้สอนแสดงใบงานการสาธิตขน้ั ตอนการออกแบบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์พร้อมอธิบายขนั้ ตอน การปฏิบัติตามใบงาน 5. ครผู ู้สอนใหผ้ เู้ รยี นแบง่ กลุ่ม และปฏบิ ตั ิตามขั้นตอนการออกแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ 6. ครูผสู้ อนประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานของผเู้ รียน และให้ผู้เรยี นชว่ ยกันสรุปสาระสำคญั ของเรือ่ งท่ีเรียนประจำ สปั ดาห์ ครูเน้นยำ้ ให้ผเู้ รยี นตระหนักถึงหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในสว่ นของความรบั ผิดชอบในดา้ น การเรยี น ตระหนักถงึ ความมีวินัย ตรงตอ่ เวลา และมีจติ อาสาในการปฏิบตั งิ านรว่ มกนั ในการทำงานในเรอื่ ง ข้ันตอนการออบแบบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ กิจกรรมการเรยี นการสอน (สอนครงั้ ท่ี 16 ) เวลา 5 ช่ัวโมง/สัปดาห์ 1. ครูผู้สอนชแ้ี จงรายละเอียดเกยี่ วกับสมรรถนะการเรยี นรู้ประจำหน่วย และสมรถถนะทีพ่ ึงประสงค์ การวัดและประเมนิ ผลการเรียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และข้อตกลงในการจัดการเรียนการสอน 2. ครูผสู้ อนแสดงตัวอย่างเกี่ยวกับการประยุกตใ์ ช้งานอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์และการแก้ไขวงจรเบื้องต้น 3. ครผู ูส้ อนถ่ายทอดความรู้ ในหน่วยที่ 9 เรอื่ งการประกอบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์และการแก้ปัญหาวงจร 4. ครูผู้สอนแสดงใบงานการสาธติ การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสแ์ ละการแกป้ ญั หาวงจรพร้อมอธบิ าย ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตติ ามใบงาน 5. ครผู สู้ อนให้ผเู้ รียนแบ่งกลุ่ม และปฏบิ ัตติ ามขน้ั ตอนการออกแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 6. ครผู ู้สอนประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของผู้เรยี น และให้ผ้เู รยี นช่วยกันสรุปสาระสำคัญของเรอ่ื งทีเ่ รยี นประจำ สัปดาห์ ครเู นน้ ย้ำใหผ้ เู้ รยี นตระหนกั ถึงหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในสว่ นของความรับผดิ ชอบในด้าน การเรยี น ตระหนักถึงความมวี นิ ยั ตรงต่อเวลา และมจี ิตอาสาในการปฏบิ ตั ิงานร่วมกันในการทำงานในเร่อื ง การประกอบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละการแก้ปัญหาวงจร
แผนการจัดการเรยี นรมู้ ้งุ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 9 สอนครงั้ ท่ี 14-18 ชือ่ หน่วย ชัว่ โมงรวม 25 ช่ัวโมง การประยุกตใ์ ชง้ านอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์และการแก้ไข วงจรเบือ้ งต้น กจิ กรรมการเรียนการสอน (สอนครง้ั ท่ี 17 ) เวลา 5 ช่วั โมง/สัปดาห์ 1. ครูผสู้ อนชแี้ จงรายละเอียดเกย่ี วกบั สมรรถนะการเรยี นรู้ประจำหนว่ ย และสมรถถนะทพ่ี ึงประสงค์ การวัดและประเมินผลการเรยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และข้อตกลงในการจดั การเรยี นการสอน 2. ครูผู้สอนแสดงตัวอยา่ งเก่ียวกบั การประยุกตใ์ ช้งานอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกสแ์ ละการแก้ไขวงจรเบอ้ื งต้น 3. ครูผู้สอนถา่ ยทอดความรู้ ในหนว่ ยที่ 9 เรื่องการสรา้ งวงจรไฟกระพรบิ 4. ครูผสู้ อนแสดงใบงานการสาธติ การสรา้ งวงจรไฟกระพรบิ พรอ้ มอธิบายขั้นตอนการปฏิบัตติ ามใบงาน 5. ครผู สู้ อนใหผ้ ู้เรียนแบง่ กลมุ่ และปฏบิ ัติตามข้นั ตอนการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 6. ครผู ู้สอนประเมินผลการปฏบิ ัติงานของผเู้ รยี น และใหผ้ ู้เรียนชว่ ยกันสรปุ สาระสำคัญของเร่อื งทเี่ รียนประจำ สปั ดาห์ ครเู น้นยำ้ ใหผ้ ้เู รยี นตระหนักถึงหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในสว่ นของความรับผิดชอบในดา้ น การเรียน ตระหนกั ถงึ ความมีวนิ ยั ตรงต่อเวลา และมีจติ อาสาในการปฏิบตั งิ านร่วมกันในการทำงานในเรอ่ื ง การสรา้ งวงจรไฟกระพรบิ กจิ กรรมการเรียนการสอน (สอนครง้ั ที่ 18 ) เวลา 5 ชวั่ โมง/สัปดาห์ 1. ครผู ู้สอนช้ีแจงรายละเอียดเกย่ี วกบั สมรรถนะการเรยี นรู้ประจำหน่วย และสมรถถนะที่พงึ ประสงค์ การวดั และประเมินผลการเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และข้อตกลงในการจดั การเรียนการสอน 2. ครูผสู้ อนแสดงตัวอยา่ งเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้งานอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกสแ์ ละการแก้ไขวงจรเบอื้ งตน้ 3. ครูผสู้ อนถ่ายทอดความรู้ ในหนว่ ยที่ 9 เรื่องการสรา้ งวงจรหรไี่ ฟ 4. ครผู ู้สอนแสดงใบงานการสาธิตการสรา้ งวงจรหรไ่ี ฟพรอ้ มอธิบาย ขั้นตอนการปฏบิ ตั ติ ามใบงาน 5. ครูผู้สอนใหผ้ ูเ้ รียนแบ่งกลุ่ม และปฏบิ ตั ิตามขั้นตอนการออกแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ 6. ครูผสู้ อนประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานของผู้เรยี น และให้ผู้เรียนชว่ ยกนั สรปุ สาระสำคญั ของเรือ่ งที่เรียนประจำ สปั ดาห์ ครเู น้นย้ำใหผ้ ูเ้ รยี นตระหนักถึงหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงในสว่ นของความรบั ผิดชอบในดา้ น การเรียน ตระหนกั ถึงความมีวินยั ตรงตอ่ เวลา และมจี ิตอาสาในการปฏิบัตงิ านรว่ มกนั ในการทำงานในเรอื่ ง การสร้างวงจรหรไ่ี ฟ
แผนการจัดการเรียนร้มู ้งุ เน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 9 สอนครัง้ ที่ 14-18 ชอื่ หน่วย ชัว่ โมงรวม 25 ชวั่ โมง การประยุกตใ์ ช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละการแก้ไข วงจรเบ้ืองต้น 6. สอื่ การสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เอกสารประกอบการเรียน 3. สือ่ นำเสนอ Power Point 7. งานทีม่ อบหมาย /กจิ กรรม ใหน้ กั เรียนทำแบบฝกึ หัดเสรมิ ทกั ษะ ท้ายหน่วยการเรยี นที่ 9 8. การวัดและประเมนิ ผล วิธกี าร เครื่องมอื เกณฑ์ วดั ผล/ประเมินผล -ทำแบบฝึกหัดเสริม -ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60 ทักษะทา้ ยหน่วย -แบบฝกึ หดั เสริมทักษะ 1.สมรรถนะที่พงึ ประสงค์ -ปฏิบตั ติ ามใบงาน ทา้ ยหนว่ ย -ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 -แบบประเมินผลการ 2.คณุ ลกั ษณะอันพึง -ประเมนิ คุณลักษณะอนั ปฏบิ ตั ิงาน ประสงค์ พงึ ประสงค์ -แบบประเมิน คุณลักษณะอนั พึง ประสงค์
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร หน่วยท่ี 9 การประยกุ ต์ใช้งานอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์และการแก้ไขวงจรเบื้องต้น หวั ข้อเรื่อง 9.1 หลกั การออกแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์เบ้ืองตน้ 9.2 ข้นั ตอนการออกแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์เบ้ืองตน้ 9.3 การประกอบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ 9.4 การสร้างวงจรไฟกระพริบ 9.5 การสร้างวงจรหร่ีไฟ 9.6 การตรวจสอบแกไ้ ขปัญหาวงจรเบ้ืองตน้ แนวคดิ สาคัญ อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์แต่ละตวั ในวงจร จะทางานตามคุณสมบตั ิของตวั เอง เพื่อจดั ระบบ การทางานท่ีเหมาะสมวงจรก็สามารถทางานได้ อุปกรณ์ทุกตวั ในวงจรมีความสาคญั เท่ากันการ ทางานผิดปกติของอปุ กรณ์เพียงตวั ใด ตวั หน่ึง ยอ่ มมีผลตอ่ การทางานของวงจรท้งั ระบบ ในการออกแบบและการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ข้นั ตอนท่ีสาคัญท่ีสุดจะเป็ นการ พิสูจน์ความรู้ ความสามารถท่ีไดจ้ ากการเรียนในภาคทฤษฏีในแต่ละวิชา โดยเฉพาะจากการเรียน ในรายวิชาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ หรื อนาไปใช้ใน ชีวติ ประจาวนั และจะตอ้ งมีความเขา้ ใจเก่ียวกบั การทางานของวงจร สามารถตรวจสอบการทางาน หรือแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดข้ึนได้ จึงจะนาไปสู่การพฒั นาใหด้ ีข้ึน ใหต้ รงกบั ความตอ้ งการในการใชง้ าน ต่อไป
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกบั การประยกุ ตใ์ ชง้ านอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และการ แกไ้ ขวงจรเบ้ืองตน้ มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คุณธรรม จริยธรรม และกิจนิสยั ในงานอาชีพท่ีดี จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. อธิบายหลกั การออกแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์เบ้ืองตน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกข้นั ตอนการออกแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์เบ้ืองตน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อธิบายการประกอบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ไดถ้ ูกตอ้ ง 4. อธิบายการสร้างวงจรไฟกระพริบไดถ้ ูกตอ้ ง 5. อธิบายการสร้างวงจรหร่ีไฟไดถ้ กู ตอ้ ง 6. อธิบายการตรวจสอบแกไ้ ขปัญหาวงจรเบ้ืองตน้ ไดถ้ กู ตอ้ ง 7. แสดงพฤติกรรมลกั ษณะนิสัยท่ีดีในการปฏิบตั ิงานดว้ ยความรับผิดชอบ ความมีวินยั ความสะอาด และความซ่ือสัตยส์ ุจริต
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร เนื้อหาสาระ บทนา การนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาประกอบร่วมกันเพื่อสร้างเป็ นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ น้ัน ผอู้ อกแบบจะตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจท้งั ตวั อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และระบบการทางานของวงจร ที่สร้างข้นึ เพื่อนาไปสู่การแกป้ ัญหาได้ 9.1 หลกั การออกแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์เบื้องต้น จุดเริ่มตน้ ในการออกแบบวงจร ซ่ึงเกิดจากความตอ้ งการที่จะนาวงจรอิเล็กทรอนิกส์บางอยา่ ง ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวนั โดยการสร้างวงจรไม่มีความซับซ้อนหรือใชอ้ ุปกรณ์มากเกินไป ส่ิงที่สาคญั ก็คือจะตอ้ งมีความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การทางานของวงจร และอุปกรณ์พอสมควรพอท่ีจะ สามารถตรวจสอบการทางานหรือแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดข้นึ ได้ การเรียนรู้ในการออกแบบวงจรสาหรับ ผูเ้ ร่ิมตน้ จะเป็ นการเลียนแบบ เพ่ือให้เกิดความมน่ั ใจในการทางานของวงจรอย่างแทจ้ ริง จึงจะเขา้ ไปสู่การแกไ้ ขปรับปรุงเพอ่ื พฒั นาใหด้ ีข้ึน หรือใหต้ รงกบั ความตอ้ งการในการใชง้ านต่อไป 9.2 ข้นั ตอนการออกแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์เบื้องต้น 9.2.1 ศึกษาคน้ ควา้ เพอ่ื กาหนดวงจรที่ตอ้ งการออกแบบมาใชง้ าน 9.2.2 กาหนดรายละเอียดคุณสมบตั ิของวงจรท่ีตอ้ งการออกแบบ 9.2.3 ออกแบบวงจรและศึกษาการทางานของวงจรใหเ้ ขา้ ใจ 9.2.4 สร้างแผน่ วงจรพิมพ์ 9.2.5 ตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใชง้ านในวงจรทุกตวั 9.2.6 บดั กรีอุปกรณ์ลงบนแผน่ วงจรพิมพ์ 9.2.7 ทดสอบการทางาน
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร ตวั อยา่ งวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ 500 Ω Q4010LT A2 3.3 kΩ 5A 100 Ω Q1 15 kΩ G A1 220 V 0.039 µF 50 Hz 0.039 µF AC รูปท่ี 9.1 วงจรหรี่ไฟ 1000 วตั ต์ 9.3 การประกอบวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ในการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ควรศึกษา รายละเอียดตา่ ง ๆ ใหเ้ ขา้ ใจเพอ่ื ความถูกตอ้ งใน การนาไปใชง้ าน ดงั น้ี 9.3.1 เครื่องมือ เคร่ืองมือที่จาเป็ นตอ้ งใชใ้ นการประกอบวงจร เพ่ือให้ไดผ้ ลงานที่คงทนและ สวยงาม ไดแ้ ก่ คีมตดั , คีมจบั , หัวแร้งขนาดไม่เกิน 30 วตั ต์ พร้อมที่วางหัวแร้ง, ท่ีดูดตะกว่ั , ตะกวั่ บัดกรี (ท่ีมีส่วนผสม 60/40 หมายถึง ตะก่ัวบดั กรีที่มีส่วนผสมของดีบุก 60 % และตะกั่ว 40 %) คตั เตอร์, ไขควง และมลั ติมิเตอร์ ดงั รูปท่ี 9.2
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร คีมตดั คีมจบั หวั แร้ง พร้อมท่ีวาง ท่ีดูดตะกวั่ ตะกวั่ ชนิด 60/40 คตั เตอร์ ไขควง มลั ติมิเตอร์ รูปที่ 9.2 เคร่ืองมือสาหรับใชใ้ นการประกอบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ 9.3.2 ทาความเข้าใจอุปกรณ์ทุกตัว เพื่อไม่ให้เกิดการผิดพลาดในการประกอบวงจร ตอ้ ง ทาความเขา้ ใจอุปกรณ์ทกุ ๆ ตวั รู้วา่ ขาไหนคอื อะไร และมีเทคนิคในการประกอบอยา่ งไร 9.3.3 ตัวต้านทานและการอ่านรหัส ตวั ตา้ นทานเป็นอุปกรณ์ท่ีพบในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ มีแถบสีต่าง ๆ คาดอยู่รอบตวั ปลายท้งั สองดา้ นเป็ นลวดโลหะสาหรับบดั กรีได้ แถบสีที่คาดอยู่ รอบตวั จะเป็นรหัสบอกค่าความตา้ นทาน และเปอร์เซ็นตค์ วามผิดพลาดของคา่ น้นั ดว้ ย แถบสีท่ีอยู่ ชิดขาตวั ตา้ นทานมากกวา่ เป็นแถบสีที่ 1 แตล่ ะแถบมีรหสั ดงั รูปท่ี 9.3
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร แบบ 4 แถบสี 4 7 000 5% 47 กโิ ลโอห์ม 5 % หลกั ที่ 1 หลกั ท่ี 2 หลกั ท่ี 3 ตวั คณู ค่าผดิ พลาด แบบ 5 แถบสี 51 กโิ ลโอห์ม 1 % 5 1 0 00 1% รูปท่ี 9.3 ค่ารหสั แถบสีตวั ตา้ นทานชนิด 4 แถบสี และชนิด 5 แถบสี ท่ีมา http://sites.google.com/site/velectornic1/resistor/colorcode 9.3.4 ตัวต้านทานปรับค่าได้ จะมี 3 ขา สามารถปรับคา่ ไดจ้ ากค่าความตา้ นทานต่าสุด ไป จนถึงค่าความตา้ นทานสูงสุด ค่าความตา้ นทานจะระบุอยทู่ ี่ตวั ถงั ชดั เจน ซ่ึงมีรูปร่างและสัญลกั ษณ์ ดงั รูปที่ 9.4
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร (ก) รูปร่าง (ข) สญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 9.4 รูปร่างและสญั ลกั ษณ์ของตวั ตา้ นทานปรับค่าได้ ท่ีมา http://resistor-read.blogspot.com/2010/12/blog-post_6022.html 9.3.5 ตัวเก็บประจุ มีหลายชนิดและหลายขนาด ค่าความจุระบุเป็ นอกั ษรบนตวั อุปกรณ์ บางชนิดก็มีรหัส การใชง้ านกแ็ ตกตา่ งกนั ออกไป เช่น ชนิดอิเลก็ โตไลติก ตอ้ งต่อข้วั ลบและข้วั บวก ใหถ้ ูกตอ้ ง เป็นตน้ สาหรับชนิดที่มีรหสั จะเป็นดงั รูปท่ี 9.5 รูปที่ 9.5 ค่ารหสั ตวั เก็บประจุ ที่มา http://sites.google.com/site/velectronic1/capacitor /codecapacit1
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร แบบไม่มีข้วั แบบมขี ้วั (ก) รูปร่าง (ข) สญั ลกั ษณ์ รูปที่ 9.6 รูปร่างและสญั ลกั ษณ์ของตวั เก็บประจุ ท่ีมา https://www.mwit.ac.th/~ponchai/webCapacitor/WBTPI_Model/Capacitor/capacitor3.html 9.3.6 ไดโอด หนา้ ท่ี เป็นวงจรเร็กติไฟเออร์ทาใหก้ ระแสไหลไดท้ างเดียว การตอ่ ไดโอดลง ในวงจรจึงตอ้ งคานึงถึงทิศทางใหถ้ ูกตอ้ ง ไดโอดมีขนาดและการใชง้ านแตกต่างกนั รหสั เบอร์ของ อุปกรณ์จะระบุติดอยทู่ ่ีตวั ถงั ดงั รูปท่ี 9.7 A (ก) รูปร่าง K KA (ข) สญั ลกั ษณ์ รูปที่ 9.7 รูปร่างและสญั ลกั ษณ์ของไดโอด ท่ีมา https://www.servocity.com/diodKes
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.3.7 ซีเนอร์ไดโอด มีลกั ษณะคลา้ ยไดโอด แต่ซีเนอร์ไดโอดจะใชก้ ารทางานในช่วง การจ่ายแรงดนั ไบอสั กลบั ถึงคา่ แรงดนั พงั หรือคา่ ซีเนอร์เบรกดาวน์และจะยอมใหก้ ระแสผา่ นได้ แต่ แรงดนั ตกคร่อมตวั ซีเนอร์ไดโอดไม่เปล่ียนแปลง จึงใชเ้ ป็นตวั ควบคมุ แรงดนั ใหค้ งท่ี ดงั รูปที่ 9.8 A (ก) รูปร่าง K A (ข) Kสัญลกั ษณ์ รูปท่ี 9.8 รูปร่างและสญั ลกั ษณ์ของซีเนอร์ไดโอด ท่ีมา https://www.thitiblog.com/blog/2K485 9.3.8 ทรานซิสเตอร์ มีหลายชนิดแตกต่างกนั ตามลกั ษณะการใช้งาน ขนาดรูปร่าง รหสั หรือเบอร์จะระบุติดบนตวั ถงั มีรูปร่างและขาตา่ ง ๆ ดงั รูปที่ 9.9 CC BB E E ชนิด NPN ชนิด PNP (ก) รูปร่าง (ข) สญั ลกั ษณ์ รูปที่ 9.9 รูปร่างและสัญลกั ษณ์ของทรานซิสเตอร์ ท่ีมา http://www.songquynh.com.vn/loai_sp/thiet-bi-tu-dong-hoa/thiet-bi-ban-dan-thyristor- diode-mosfet-transistor
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.3.9 เอสซีอาร์ เป็ นอุปกรณ์ที่ยอมให้กระแสไหลผ่านทิศทางเดียว จากแอโนดไป แคโทด เม่ือมีกระแสควบคุมมากระตนุ้ ท่ีขาเกตเทา่ น้นั รูปร่างและสัญลกั ษณ์ ดงั รูปท่ี 9.10 A G K (ก) รูปร่าง K (ข) สัญลกั ษณ์ K รูปที่ 9.10 รูปร่างและสญั ลกั ษณ์ของเอสซKีอาร์ ท่ีมา https://www.westfloridacomponents.com/ K018APL11/TIC106D+5A+400V+SCR+Thyristor+Texas+Instruments.html 9.3.10 ไทรแอก ทาหน้าท่ีคลา้ ย SCR แต่ยอมให้กระแสไหลผ่านไดท้ ้งั สองทิศทาง ถา้ มีกระแสควบคมุ ท่ีถูกตอ้ งและเหมาะสม รูปร่างและสัญลกั ษณ์ดงั รูปที่ 9.11 A2 G A1 (ก) รูปร่าง (ข) สญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 9.11 รูปร่างและสญั ลกั ษณ์ของไทรแอก ที่มา https://www.amazon.fr/bta16-600B-TRIAC-600-broches-220/dp/B00LX6LZRC
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.3.11 ไดแอก มีรูปร่างคลา้ ยกบั ซีเนอร์ไดโอด สามารถนากระแสได้สองทิศทาง เม่ือจ่าย แรงดนั คร่อมตวั ไดแอกสูงถึงค่าที่กาหนด จึงจะยอมให้กระแสไหลผา่ นได้ ดงั น้นั จึงไม่มีข้วั เจาะจง รูปร่างและสัญลกั ษณ์ ดงั รูปท่ี 9.12 A1 (ก) รูปร่าง A2 (ข) สัญลกั ษณ์ รูปท่ี 9.12 รูปร่างและสัญลกั ษณ์ของไดแอก ที่มา https://www.electronics.com.bd/db3-db-3-diac-trigger-diode-do-35 9.3.12 ไอซี เป็นอุปกรณ์ท่ีรวมวงจรต่าง ๆ ไวใ้ นตวั เดียวโดยมีขาต่อออกมาใชง้ านหลาย ขาแต่ละขาทาหนา้ ที่ต่างกนั ตอ้ งดูในคู่มือของอุปกรณ์ตวั น้นั ๆ ขาไอซีมีระบบการนบั ดงั น้ี สังเกต จากดา้ นบนตวั ไอซีใหน้ บั ขวาวนทวนเขม็ นาฬิกา 1 รอบ จุดดชั นีท่ีตวั ไอซี เบอร์ของไอซีแตล่ ะตวั จะพมิ พไ์ วบ้ นตวั ถงั รูปร่างและสัญลกั ษณ์ดงั รูปที่ 9.13 (ก) รูปร่าง (ข) สัญลกั ษณ์ รูปท่ี 9.13 รูปร่างและสัญลกั ษณ์ของไอซี ที่มา https://www.amazon.co.uk/Single-Timer-Dual-Line-Package/dp/B00B2IIA3S
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.3.13 เทคนิคการประกอบ อุปกรณ์ที่สาคญั ท่ีสุด คือ หัวแร้งบดั กรี (Soldering Iron) ตอ้ ง เลือกใชข้ นาดใหเ้ หมาะสม ไม่ร้อนจนเกินไปจะทาใหแ้ ผน่ วงจรพมิ พ์ (Printed Circuit Board; PCB) ชารุด และอุปกรณ์ในวงจรเสียได้ หวั แร้งท่ีใชค้ วรมีขนาดไม่เกิน 30 วตั ต์ ควรเลือกใหเ้ หมาะกบั จุด บดั กรี สิ่งสาคญั ลาดบั ถดั มา คือ ตะกว่ั บดั กรี (Solder) ควรเลือกใชอ้ ยา่ งดีชนิดท่ีมีส่วนผสม 60/40 (ตะกวั่ บดั กรีท่ีมีส่วนผสมดีบุก 60% และตะกว่ั 40%) จะใหจ้ ุดบดั กรีมีลกั ษณะที่เป็นมนั วาวอุปกรณ์ ชิ้นต่อไปคือท่ีดูดตะกว่ั (Solder Sucker) จะช่วยให้สามารถถอดอุปกรณ์ท่ีบดั กรีติดลายวงจรพิมพ์ ออกไดโ้ ดยไม่ทาใหอ้ ปุ กรณ์และลายวงจรพิมพช์ ารุด 9.3.14 การบัดกรี เป็ นสิ่งสาคญั ของการต่ออุปกรณ์เขา้ วงจรแสดงดงั รูปท่ี 9.14 วงจรจะ ทางานไดด้ ีหรือไมข่ ้ึนอยกู่ บั เทคนิคการบดั กรี ดงั น้ี 1) นาชิ้นงานท่ีตอ้ งการบดั กรีมาประกอบเขา้ กบั แผน่ วงจรพิมพ์ 2) จ่ายแรงดนั ไฟฟ้าใหห้ วั แร้งบดั กรีทิ้งไวจ้ นร้อนจดั นาปลายหวั แร้งไปทาความ สะอาด โดยนาไปเชด็ กบั ฟองน้าที่เปี ยกน้าพอหมาด ๆ จากน้นั นาตะกว่ั บดั กรีไปสมั ผสั ปลายหวั แร้ง บดั กรีใหท้ วั่ 3) นาหัวแร้งบดั กรีท่ีพร้อมใชง้ านไปสัมผสั ที่ขาอุปกรณ์และลายทองแดงทิ้งระยะ ประมาณ 2 – 3 วินาที นาตะกวั่ ไปสัมผสั ท่ีจุดบดั กรีที่ปลายหัวแร้งบดั กรีรอจนตะกว่ั หลอมละลาย ท้งั หมด จึงดึงปลายหวั แร้งออก 4) รอยบดั กรีท่ีดีตอ้ งมีลกั ษณะป่ ุมกลมนูนสวยงาม ผวิ เรียบมนั วาว และเชื่อมรอยต่อ ระหวา่ งขาอุปกรณ์และลายทองแดงอยา่ งสนิทโดยรอบ รูปท่ี 9.14 การบดั กรีอุปกรณ์ลงบนแผน่ วงจรพมิ พ์
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.3.15 การถอดอุปกรณ์ การใส่อุปกรณ์ผิดหรือตอ้ งเปล่ียนอุปกรณ์ท่ีชารุด ไม่ควรถอด อุปกรณ์ดว้ ยหวั แร้งอยา่ งเดียว เพราะถา้ ไม่ระมดั ระวงั จะทาให้แผน่ วงจรพิมพช์ ารุ ดไดง้ ่าย ควรใช้ท่ี ดูดตะกั่วช่วย โดยดูดเอาตะกั่วที่เช่ือมรอยต่อออกก่อนจะช่วยให้สามารถถอดอุปกรณ์ออกได้ โดยง่าย 9.3.16 วิธีใช้ที่ดูดตะกั่วแบบดูด เตรียมที่ดูดตะกว่ั ไวพ้ ร้อมจะดูดแลว้ จ้ีปลายที่ดูดให้ใกล้ รอยตอ่ ท่ีสุด โดยใหค้ วามร้อนที่ตอ้ งการจะร้ือดว้ ยหวั แร้ง (ควรใชป้ ลายเลก็ ๆ) เม่ือตะกว่ั เริ่มละลาย ใหก้ ดป่ ุมที่ดูดทนั ที ตะกว่ั จะถกู ดูดออกจากรอยต่อ 9.3.17 วิธีใช้ท่ีดูดตะก่ัวแบบซับ ใชแ้ ถบท่ีซับตะกว่ั ทาบบนรอยบดั กรีที่ตอ้ งการถอดออก ให้หัวแร้งสัมผสั ตรงจุดท่ีตอ้ งการ ตะกว่ั จะละลายมาติดกบั แถบซบั อาจตอ้ งทาซ้าโดยเปล่ียนแถบ ใหมจ่ นรอยตอ่ สะอาดแลว้ จึงถอดอุปกรณ์ 9.3.18 การประกอบอปุ กรณ์ในวงจร ลงอุปกรณ์ตวั ที่ต่าที่สุดบนแผน่ วงจรพิมพก์ ่อน แลว้ จึงลงอุปกรณ์ท่ีสูงตามลาดบั ลงมา ดูข้วั ของทรานซิสเตอร์ ไดโอด ไอซี และตวั เกบ็ ประจุให้ถูกตอ้ ง ก่อนที่จะบดั กรี 9.4 การสร้างวงจรไฟกระพริบ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แต่ละตวั ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์จะมีการทางานตามคุณสมบัติของ ตวั เอง เม่ือจดั วงจรและระบบการทางานท่ีเหมาะสมวงจรกส็ ามารถทางานได้ เช่น วงจรไฟกระพริบ เป็นวงจรท่ีสามารถควบคุมใหห้ ลอดไฟติดหรือดบั ไดด้ ว้ ยตวั เอง นาไปใชเ้ ป็นวงจรไฟกระพริบแบบ ตา่ ง ๆ ได้ 9.4.1 แหล่งจ่ายแรงดนั ไฟตรงคงท่ี แหล่งจ่ายแรงดันไฟตรงคงท่ี คือแหล่งจ่ายกาลัง (Power Supply) ทาหน้าท่ีจ่ายดัน ไฟตรงออกมานาไปใช้เป็ นแหล่งจ่ายไฟเล้ียงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ วงจรประกอบดว้ ยหมอ้ แปลงกาลังชนิดลดแรงดันไฟฟ้า ไดโอด ตัวเก็บประจุ ฟิ วส์ และปล๊ักพร้อมสายไฟ สามารถ ประกอบเป็ นแหล่งจ่ายแรงดนั ไฟตรงได้ 3 แบบ คือ วงจรจ่ายแรงดนั ไฟตรงแบบคร่ึงคลื่น วงจร จ่ายแรงดันไฟตรงแบบเต็มคล่ืน และวงจรจ่ายแรงดันไฟตรงแบบบริดจ์ ท้ังสามแบบมีหลกั การ ทางานเหมือนกัน แตกต่างกันเฉพาะส่วนของวงจรแปลงแรงดันไฟสลบั เป็ นแรงดันไฟตรงใช้ จานวนไดโอดไม่เท่ากันและการจดั ข้วั หม้อแปลงกาลงั ที่จ่ายแรงดันไฟสลบั เข้ามาโดยใช้ข้ัวไม่ เทา่ กนั ส่วนใหญ่นิยมใชว้ งจรแหล่งจ่ายแรงดนั ไฟตรงแบบเตม็ คล่ืน วงจรแสดงดงั รูปที่ 9.15
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 220 VAC 220 V D1 2,C2010 µF 1A 9 1N4007 25 V 0 D2 1N4007 9 0 รูปที่ 9.15 วงจรแหล่งจ่ายไฟตรงคงที่แบบเตม็ คลื่น หลกั การทางาน จากรูปที่ 9.15 แสดงวงจรแหลง่ จ่ายแรงดนั ไฟตรงคงท่ีแบบเต็มคลื่น อธิบายการทางานได้ ดงั น้ี แรงดนั ไฟสลบั 220 VAC จ่ายผ่านหมอ้ แปลงกาลงั เพ่ือลดแรงดนั ให้เหลือ 9 – 0 – 9 โวลต์ จ่าย ผ่านไดโอดและขาร่วม (0 โวลต์) ไดโอด D1 และ D2 ทาหน้าท่ีกาจดั แรงดันไฟสลบั ซีกลบทิ้งไป ยอมให้เฉพาะแรงดนั ไฟสลบั ซีกบวกผ่านไปยงั ตวั เก็บประจุ C เพื่อประจุแรงดนั ซีกบวกเก็บไวท้ า ใหไ้ ดแ้ รงดนั ไฟตรงที่ราบเรียบข้นึ ไดแ้ รงดนั ไฟตรงคงที่ประมาณ 12.7 โวลต์ 9.4.2 วงจรไฟกระพริบ วงจรไฟกระพริบหรือวงจรอะสเตเบิลมลั ติไวรเบรเตอร์ (Astable Multivibrator) เป็ น วงจรท่ีสามารถควบคุมให้หลอดไฟติดและดบั ไดด้ ว้ ยตวั เอง นาไปใช้เป็ นไฟกระพริบแบบต่าง ๆ วงจรเบ้ืองตน้ ประกอบดว้ ย ทรานซิสเตอร์ ไดโอดเปล่งแสง ตวั เก็บประจุ และตวั ตา้ นทาน ลกั ษณะ วงจร แสดงดงั รูปที่ 9.16
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 12 V LED1 LED2 R1 1Rk1 Ω 10R0 2kΩ R 2kΩ 1 kΩ C 100 C 10 µF 25 V 10 µF 25 V 2NQ39104 2NQ39204 รูปท่ี 9.16 วงจรไฟกระพริบ หลกั การทางาน จากรูปท่ี 9.16 แสดงวงจรไฟกระพริบ การทางานของวงจรอธิบายไดด้ งั น้ี แรงดนั ไฟตรง 12 โวลต์ จ่ายเขา้ วงจรส่งผลให้ LED1 และ LED2 ทางานเปล่งแสงติดดบั สลบั กนั ไป ตามสภาวะการ ทางานของตวั ทรานซิสเตอร์ นน่ั คือ เมื่อ Q1 ทางาน LED1 ติดสวา่ ง LED2 ดบั และเมื่อ Q2 ทางาน LED2 ติดสวา่ ง LED1 ดบั สลบั ไปสลบั มาตลอดเวลา ความเร็วในการกระพริบติดและดบั ข้ึนอยูก่ บั ค่าความจุของตวั เก็บประจุ C และค่าความตา้ นทานของตวั ตา้ นทาน R2 คานวณเวลาในการกระพริบ ไดด้ ว้ ยสูตรคานวณโดยประมาณดงั น้ี T = 0.56 R2C …………สมการท่ี 9.1 เม่ือ T แทน เวลา R2 แทน ตวั ตา้ นทาน C แทน ตวั เก็บประจุ จากค่าท่ีใชง้ านจะได้ T = 0.56 100 103 10 10-6 F = 0.56 วินาที ถา้ ตอ้ งการเปลี่ยนค่าความเร็วในการกระพริบของวงจร ให้เปลี่ยนค่าตวั เก็บประจุ C และตวั ตา้ นทาน R2หากใช้ค่าท้งั สองมากข้ึน เวลาในการกระพริบจะช้าลง และถา้ ใช้ค่าท้งั สอง นอ้ ยลง เวลาในการกระพริบจะเร็วข้นึ
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร ลาดับข้ันตอนการประกอบวงจรไฟกระพริบ มีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. สร้างแผ่นวงจรพิมพ์ วงจรแหล่งจ่ายแรงดนั ไฟตรงคงที่แบบเต็มคลื่น ตามข้นั ตอนการ สร้างแผน่ วงจรพิมพ์ แสดงดงั รูปที่ 9.17 รูปที่ 9.17 ลายวงจรพิมพว์ งจรแหลง่ จ่ายแรงดนั ไฟตรงคงที่แบบเตม็ คลื่น 2. ลงอปุ กรณ์ตามตาแหน่งบนลายวงจรพิมพ์ โดยทาการวดั หาขา และขดู ขาอปุ กรณ์ก่อน วางอปุ กรณ์ลงบนแผน่ วงจรพิมพ์ โดยวางอุปกรณ์ตามลาดบั ต่าไปหาสูง แสดงดงั รูปท่ี 9.18 รูปท่ี 9.18 ลายวงจรพิมพว์ งจรแหล่งจ่ายแรงดนั ไฟตรงคงที่ดา้ นการวางอปุ กรณ์ 3. ทาการบดั กรีอุปกรณ์ทุกตวั และตดั ขาอปุ กรณ์ใหไ้ ดข้ นาดที่พอเหมาะ แสดงดงั รูปท่ี 9.19
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร รูปท่ี 9.19 วงจรแหลง่ จ่ายแรงดนั ไฟตรงคงที่ที่ลงอปุ กรณ์เรียบร้อยแลว้ 4. สร้างแผ่นวงจรพิมพ์ วงจรไฟกระพริบ ตามข้นั ตอนการสร้างแผ่นวงจรพิมพ์ แสดงดงั รูปที่ 9.20 รูปท่ี 9.20 ลายวงจรพมิ พว์ งจรไฟกระพริบ 5. ลงอุปกรณ์ตามตาแหน่งบนลายวงจรพมิ พ์ โดยทาการวดั หาขา และขดู ขาอุปกรณ์ก่อน วางอปุ กรณ์ลงบนแผน่ วงจรพิมพ์ โดยวางอุปกรณ์ตามลาดบั ต่าไปหาสูง แสดงดงั รูปที่ 9.21 รูปที่ 9.21 ลายวงจรพมิ พว์ งจรไฟกระพริบดา้ นการวางอุปกรณ์
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 6. ทาการบดั กรีอุปกรณ์ทุกตวั และตดั ขาอุปกรณ์ใหไ้ ดข้ นาดที่พอเหมาะ แสดงดงั รูปที่ 9.22 รูปท่ี 9.22 วงจรไฟกระพริบท่ีลงอุปกรณ์เรียบร้อยแลว้ 7. เมื่อลงอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพิมพ์และทาการบัดกรีครบทุกตวั แล้ว ตรวจสอบความ สมบูรณ์ และความถูกตอ้ งของตาแหน่งอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพิมพ์ ทดสอบการงานโดยต่อวงจร แหล่งจ่ายแรงดันไฟตรงคงที่เขา้ กบั วงจรไฟกระพริบ สังเกตการณ์ทางาน นั่นคือ หลอด LED ท้งั สองดวงจะตอ้ งสลบั กระพริบไป-มาได้ แสดงดงั รูปท่ี 9.23 รูปที่ 9.23 ทดสอบการทางานวงจรไฟกระพริบ 8. ถ้าหากวงจรไม่ทางานให้ตรวจสอบลายวงจรพิมพ์ ตาแหน่งของอุปกรณ์ทุกตวั รอย บดั กรีตอ้ งสมบรู ณ์ทุกจุด
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.5 การสร้างวงจรหร่ีไฟ เคร่ืองหรี่ไฟฟ้า (Drimmer) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ท่ีใชค้ วบคุมกาลงั ไฟฟ้าจ่ายไปให้โหลดมาก หรือน้อย ถูกนาไปใชง้ านแตกต่างกนั เช่น วงจรหรี่แสงสวา่ งหลอดไฟ (Light Dimmer) วงจรปรับ ความเร็วมอเตอร์ (Motor Speed Control) และวงจรปรับความร้อนเคร่ืองทาความร้อน (Heater Dimmer) เป็ นต้น วงจรเบ้ืองต้นประกอบด้วย ไทรแอก ไดแอก ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ลกั ษณะวงจรและลายวงจรพมิ พ์ แสดงดงั รูปที่ 9.24 1 A 10V0Rk1Ω 100 W R1 220 VAC A2 10 kΩ A1 2A 400 V HT32 G 220CnF1 220 V รูปที่ 9.24 วงจรหร่ีไฟ หลกั การทางาน จากรูปที่ 9.24 แสดงวงจรหร่ีไฟแสงสว่างจากหลอดไฟ ตวั ไทรแอกทาหน้าท่ี เป็ นสวิตช์ ชนิดควบคุมไดท้ ี่ขาเกต (G) ควบคุมให้หลอดไฟติดสว่าง การทางานของวงจรอธิบายไดด้ งั น้ี เม่ือ จ่ายแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั 220 โวลต์ เขา้ วงจร ในคร้ังแรกไทรแอกยงั ไม่ทางาน ตวั เก็บประจุ C1 จะประจุแรงดันไวจ้ นถึงค่า แรงดันเบรกโอเวอร์โวลต์เตจ (Breakover Voltage) ของตัวไดแอก ไดแอกยอมให้แรงดนั จาก C1 จ่ายไปกระตุน้ ขา G ของไทรแอก ตวั ไทรแอกเป็ นสวิตช์ต่อวงจรมี แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั 220 โวลตจ์ ่ายไปใหห้ ลอดไฟ หลอดไฟติดสวา่ งตลอดเวลา การปรับความสวา่ งของหลอดไฟ ข้ึนอยกู่ บั การปรับเปลี่ยนค่าความตา้ นทาน VR1ถา้ ปรับ ค่าความตา้ นทาน VR1 มีค่ามาก ทาให้ตวั เก็บประจุ C1 ประจุแรงดนั ชา้ ถึงค่าแรงดนั เบรกโอเวอร์ โวลตเ์ ตจของตวั ไดแอกชา้ ทาให้ช่วงเวลาในการทางานของไทรแอกต่อแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั น้อยลง ส่งผลให้หลอดไฟสว่างน้อย ถา้ ปรับค่าความตา้ นทาน VR1 มีค่าน้อย ทาให้ตวั เก็บประจุ C1 ประจุแรงดนั ไดเ้ ร็วข้ึนถึงค่าแรงดันเบรกโอเวอร์โวลตเ์ ตจของตวั ไดแอกเร็ว ทาให้ช่วงเวลาใน การทางานของไทรแอกตอ่ แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั มากข้นึ ส่งผลใหห้ ลอดไฟสวา่ งมากข้นึ
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร ลาดบั ข้ันตอนการประกอบวงจรหร่ีไฟ มีดงั ต่อไปน้ี 1. สร้างแผน่ วงจรพมิ พ์ วงจรหรี่ไฟ ตามข้นั ตอนการสร้างแผน่ วงจรพิมพ์ แสดงดงั รูปที่ 9.25 รูปที่ 9.25 ลายวงจรพมิ พว์ งจรหรี่ไฟ 2. ลงอุปกรณ์ตามตาแหน่งบนลายวงจรพิมพ์ โดยทาการวดั หาขา และขดู ขาอปุ กรณ์ก่อน วางอปุ กรณ์ลงบนแผน่ วงจรพมิ พ์ โดยวางอุปกรณ์ตามลาดบั ต่าไปหาสูง แสดงดงั รูปที่ 9.26 รูปท่ี 9.26 ลายวงจรพมิ พว์ งจรหรี่ไฟดา้ นการวางอุปกรณ์
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 3. ทาการบดั กรีอปุ กรณ์ทุกตวั และตดั ขาอุปกรณ์ใหไ้ ดข้ นาดท่ีพอเหมาะ แสดงดงั รูปที่ 9.27 รูปที่ 9.27 วงจรหรี่ไฟที่ลงอุปกรณ์เรียบร้อยแลว้ 4. เมื่อลงอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพิมพ์และทาการบัดกรีครบทุกตัวแล้ว ตรวจสอบความ สมบูรณ์ และความถูกต้องของตาแหน่งอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพิมพ์ ทดสอบการทางานโดยต่อ แหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั 220 โวลตใ์ ห้กบั วงจร สังเกตหลอดไฟติดสว่างตลอดเวลา ถา้ ตอ้ งการปรับความสวา่ งของหลอดไฟ โดยการปรับตวั ตา้ นทานปรับค่าได้ แสดงดงั รูปที่ 9.28 รูปท่ี 9.28 ทดสอบการทางานวงจรหร่ีไฟ 5. ถ้าหากวงจรไม่ทางานให้ตรวจสอบลายวงจรพิมพ์ ตาแหน่งของอุปกรณ์ทุกตวั รอย บดั กรีตอ้ งสมบรู ณ์ทกุ จุด
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6 การตรวจสอบแก้ไขปัญหาวงจรเบือ้ งต้น 9.6.1 การตรวจสอบตาแหน่งอุปกรณ์ ตรวจสอบตาแหน่งอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพมิ พ์ (PCB) วา่ ลงถูกตาแหน่งตามที่ระบุไวบ้ น แผน่ วงจรพมิ พห์ รือไม่ โดยเฉพาะอุปกรณ์ท่ีมีข้วั เช่น ตวั เก็บประจุ, LED, ไดโอด เป็นตน้ 9.6.1.1 ตรวจสอบค่าความตา้ นทาน ตรวจสอบค่าความตา้ นทานบนแผ่นวงจรพิมพใ์ ห้ตรง กบั คา่ ความตา้ นทานท่ีระบุไวบ้ นแผน่ วงจรพิมพ์ รูปท่ี 9.29 การสงั เกตค่าความตา้ นทานบนแผน่ วงจรพิมพ์ จากรูปท่ี 9.29 ค่าความตา้ นทานที่ระบุไวบ้ นแผน่ วงจรพิมพ์ มีคา่ ความตา้ นทาน 1 k 9.6.1.2 ตรวจสอบเบอร์ทรานซิสเตอร์ รูปท่ี 9.30 การสังเกตเบอร์ทรานซิสเตอร์บนแผน่ วงจรพิมพ์ จากรูปท่ี 9.30 เบอร์ทรานซิสเตอร์ท่ีระบุไวบ้ นแผน่ วงจรพมิ พ์ เบอร์ C458
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6.1.3 ตรวจสอบเบอร์และข้วั ไดโอด ตรวจสอบเบอร์และข้วั ของไดโอดที่ใส่ใหต้ รงกบั ที่ ระบบุ นแผน่ วงจรพิมพ์ รูปท่ี 9.31 การใส่ข้วั ไดโอดบนแผน่ วงจรพิมพ์ จากรูปที่ 9.31 ตาแหน่งขาแอโนด (A) และแคโทด (K) ของไดโอดท่ีระบุไวบ้ น แผน่ วงจรพิมพ์ 9.6.1.4 ตรวจสอบตาแหน่งข้วั แบตเตอร่ี ตรวจสอบตาแหน่งข้วั บนแบตเตอร์ร่ีให้ตรงกบั ที่ ระบุบนแผน่ วงจรพิมพ์ รูปท่ี 9.32 การใส่ข้วั แบตเตอร่ีบนแผน่ วงจรพมิ พ์ ที่มา https://leeselectronic.com/en/product/16284.html จากรูปที่ 9.32 ตาแหน่งข้วั แบตเตอร่ี (+) สีแดง และข้วั แบตเตอร่ี (-) สีดา ใหต้ รงกบั ตาแหน่งบนแผน่ วงจรพิมพ์
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6.1.5 ตรวจสอบตาแหน่งทรานซิสเตอร์ ตรวจสอบตาแหน่งของทรานซิสเตอร์ใหต้ รงกบั ท่ีระบุบนแผ่นวงจรพมิ พ์ รูปที่ 9.33 การใส่ทรานซิสเตอร์บนแผน่ วงจรพิมพ์ จากรูปที่ 9.33 การใส่ทรานซิสเตอร์ใหส้ งั เกตดา้ นหนา้ ที่เรียบของทรานซิสเตอร์ จะตอ้ ง ตรงกบั ท่ีระบุบนแผน่ วงจรพิมพ์ 9.6.1.6 ตรวจสอบตาแหน่งแอลอีดี (LED) ตรวจสอบตาแหน่งของแอลอีดี ใหต้ รงกบั ท่ี ระบบุ นแผน่ วงจรพิมพ์ รูปที่ 9.34 การใส่ LED บนแผน่ วงจรพมิ พ์ จากรูปท่ี 9.34 ใส่ LED ใหต้ รงตาแหน่งท่ีระบบุ นแผน่ วงจรพิมพ์ ซ่ึงการใส่ที่ถกู ตอ้ งให้ สังเกตรอยบากจะตอ้ งตรงกบั ที่ระบุบนแผน่ วงจรพิมพ์
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6.2 การตรวจสอบลายทองแดง ตรวจสอบลายทองแดงที่เป็นเส้นเดียวกนั ต่อถึงกนั หรือไม่ ซ่ึงสามารถใชม้ ลั ติมิเตอร์ แบบเขม็ ตรวจสอบได้ (ก) ผลการวดั ลายทองแดงที่ตอ่ ถึงกนั (ข) ผลการวดั ลายทองแดงที่ต่อไมถ่ ึงกนั รูปท่ี 9.35 การตรวจสอบลายทองแดง รูปท่ี 9.35 แสดงการตรวจสอบลายทองแดง ต้งั ย่านการวดั ความตา้ นทาน โดยต้งั ไวท้ ี่ย่านการ วดั R 1 สังเกตเข็มมิเตอร์ ถา้ เข็มกระดิกข้ึน แสดงว่า ลายทองแดงต่อถึงกนั (รูปที่ 9.35 ก) ถา้ เข็มไม่ข้ึน แสดงวา่ ลายแดงต่อไม่ถึงกนั (รูปท่ี 9.35 ข) หรือ ต้งั ยา่ นการวดั ไวท้ ี่ย่านวดั เสียง โดยนา สายวดั มาวดั ท่ีลายทองแดงท้งั สองดา้ น ถา้ เกิดเสียงดงั แสดงวา่ ลายทองแดงเส้นน้นั ต่อถึงกนั แต่ถา้ ไม่เกิดเสียงดงั แสดงว่า ลายทองแดงเส้นน้นั ต่อไม่ถึงกนั มีจุดที่ขาดหายไป ซ่ึงเป็นสาเหตุใหว้ งจร ไมท่ างาน
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6.2.1 การซ่อมลายทองแดงที่ต่อไมถ่ ึงกนั รูปที่ 9.36 ตาแหน่งลายทองแดงบนแผ่นวงจรพิมพต์ ่อไมถ่ ึงกนั จากรูปที่ 9.36 แสดงตาแหน่งลายทองแดงบนแผน่ วงจรพมิ พท์ ี่ต่อไม่ถึงกนั จะสงั เกตวา่ มี ลายทองแดงเส้นหน่ึงขาดหายไป ทาใหว้ งจรต่อไม่ถึงกนั รูปท่ี 9.37 ลายทองแดงบนแผน่ วงจรพมิ พท์ ี่เช่ือมตอ่ แลว้ จากรูปที่ 9.37 แสดงลายทองแดงบนแผ่นวงจรพิมพท์ ่ีเช่ือมต่อแลว้ โดยใชล้ วดหรือสายไฟ ยาวพอประมาณ แลว้ ทาการบดั กรีเพ่ือเชื่อมต่อลายทองแดงใหต้ ิดกนั
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6.3 การตรวจสอบจุดบัดกรี ตรวจสอบจุดบดั กรีใหค้ รบทกุ จุดบนแผน่ วงจรพมิ พ์ รูปท่ี 9.38 จุดบดั กรีบนแผน่ วงจรพมิ พไ์ ม่ติดขาอปุ กรณ์ จากรูปท่ี 9.38 ตะกว่ั ที่บดั กรีจะติดกบั ขาอุปกรณ์ไมเ่ ตม็ จุดบดั กรี ซ่ึงทาใหว้ งจรไม่ทางาน เพราะอปุ กรณ์ต่อไม่ถึงกนั รูปที่ 9.39 รอยบดั กรีที่สมบูรณ์ รูปที่ 9.39 จุดบดั กรีท่ีถกู ตอ้ งสมบูรณ์ ตะกวั่ จะยดึ ติดกบั ขาอุปกรณ์ และรอยบดั กรีตะกวั่ เตม็ จุดบดั กรีทกุ จุด
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6.4 การตรวจสอบสายไฟ ตรวจสอบสายไฟทุกเสน้ วา่ สายไฟขาดหรือไม่ (ก) การตรวจสอบสายไฟ(ข) ผลการวดั ดว้ ยมลั ติมิเตอร์ รูปที่ 9.40 การตรวจสอบสายไฟดว้ ยมลั ติมิเตอร์ รูปที่ 9.40 ต้งั มลั ติมิเตอร์ที่ย่านการวดั ความตา้ นทาน โดยต้งั ไวท้ ่ียา่ นการวดั R 1 แลว้ สงั เกตเขม็ มิเตอร์ ถา้ เขม็ บา่ ยเบนข้นึ แสดงวา่ สายไฟไมข่ าด ถา้ เขม็ ไมข่ ้ึนแสดงวา่ สายไฟขาด หรือ ใช้มลั ติมิเตอร์ต้งั ย่านการวดั ไวท้ ่ีย่านวดั เสียง จากน้ันนาสายวดั มาวดั ท่ีปลายสายไฟท้งั สอง ถา้ เกิด เสียงดงั แสดงวา่ สายไฟไมข่ าด ถา้ ไมเ่ กิดเสียงดงั แสดงวา่ สายไฟมีจุดที่ขาด ซ่ึงเป็นสาเหตุใหว้ งจร ไมท่ างาน 9.6.5 การตรวจหาอปุ กรณ์ที่น่าจะชารุด เม่ือตรวจทกุ อยา่ งตามข้นั ตอนขา้ งตน้ ครบ ไม่มีสิ่งผดิ ปกติ ข้นั ตอนต่อไปสนั นิฐานวา่ น่าจะมี อุปกรณ์ตวั ใดบา้ งชารุด ซ่ึงอุปกรณ์ที่ชารุดไดง้ ่าย มีดงั น้ี 9.6.5.1 ทรานซิสเตอร์ รูปท่ี 9.41 ทรานซิสเตอร์ ชนิดตวั ถงั TO – 92 ท่ีมา https://www.elprocus.com/using-transistor-as-a-switch/
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร ทรานซิสเตอร์เป็นอุปกรณ์ตวั แรกท่ีน่าสงสัยมากที่สุด เพราะเป็นอปุ กรณ์ท่ีทนความ ร้อนไดไ้ ม่สูงนกั ซ่ึงอาจเสียหายไดต้ อนที่ทาการบดั กรี ตอ้ งใชม้ ลั ติมิเตอร์ตรวจสอบ 9.6.5.2 ไอซี รูปท่ี 9.42 ไอซี ชนิด 8 ขา ที่มา https://www.google.co.th/search?q=ไอซี+555&tbm=isch&tbs=rimg ไอซี อาจเสียหายเน่ืองจากจ่ายแรงดันไฟเขา้ วงจรมากเกินไป หรือจ่ายสลบั ข้วั กัน ซ่ึงจะทาให้ไอซีร้อนมากจนพงั ได้การตรวจสอบทาไดย้ าก ตอ้ งอาศัยตวั ใหม่เปล่ียนเขา้ ไปแล้ว ทดสอบดู ถา้ วงจรใชง้ านไดแ้ สดงวา่ ไอซีเสีย ถา้ ยงั มีอาการเหมือนเดิม แสดงว่าอุปกรณ์ตวั อื่นที่ ไม่ใช่ไอซี เสียหาย 9.6.5.3 แอลอีดี รูปที่ 9.43 แอลอีดี ท่ีมา htps://www2.warwick.ac.uk/fac/sci/physics/current/postgraduate/regs/mpags/ex5/devices/led/ แอลอีดี ส่วนใหญ่จะเสียหาย เพราะจ่ายแรงดนั ไฟมากเกินไปจนทาใหห้ ลอดขาด
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6.5.4 ไดโอด รูปที่ 9.44 ไดโอด ท่ีมา http://www.eak-electronic.com/index.php?route=product/product&product_id=1013 สาเหตุของไดโอดท่ีเสียมาก คือ ไดโอดซ็อต นน่ั คอื ไม่สามารถจากดั ทิศทางการไหลของ กระแสได้ ส่วนใหญส่ าเหตุมาจากการลดั วงจร 9.6.5.5 สวติ ชก์ ดติดปล่อยดบั รูปท่ี 9.45 สวิตชก์ ดติดปลอ่ ยดบั ท่ีมา https://www.arduinothai.com/product/366/6-x-6-x-5mm-micro-switch สวิตชก์ ดติดปล่อยดบั ใหส้ ังเกตที่ป่ มุ กดมกั จะเสีย เพราะถา้ กดบ่อยแลว้ ป่ ุมอาจคา้ งหรือกด ไมล่ ง 9.6.5.6 ตวั เกบ็ ประจุ รูปที่ 9.46 ตวั เกบ็ ประจุ ทม่ี า https://www.google.co.th/search?q=ตวั เก็บประจุ&hl=th&source=lnms&tbm=isch&sa
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร ตวั เก็บประจุชนิดอิเลก็ โตรไลติก โดยปกติแลว้ จะเสียหายไดย้ าก แต่กม็ ีโอกาสเส่ือมสภาพ ได้ ซ่ึงสังเกตไดว้ า่ ถา้ ตวั เกบ็ ประจุเริ่มบวมแสดงวา่ เสื่อมสภาพแลว้ ใหเ้ ปลี่ยนตวั ใหม่ทนั ที 9.6.5.7 ตวั ตา้ นทาน รูปที่ 9.47 ตวั ตา้ นทาน http://www.estecs.com.mx/producto/resistencia-510/ ตวั ตา้ นทานจะเสียหายไดย้ ากท่ีสุด แตก่ ็ใช่วา่ ไมม่ ีโอกาสเสียเลย ซ่ึงการตรวจสอบ เบ้ืองตน้ ใหด้ ูวา่ มีรอยไหมท้ ี่ตวั ตา้ นทานหรือไม่ ถา้ มีแสดงวา่ ชอ็ ตหรือขาด 9.6.6 การวดั อุปกรณ์ในวงจร การใชม้ ลั ติมิเตอร์วดั อุปกรณ์ในวงจรน้นั ไมส่ ามารถทาการวดั ไดท้ ุกตวั เพราะวา่ ภายใน วงจรมีการเช่ือมต่อกบั อปุ กรณ์อื่นอยดู่ ว้ ย ทาใหก้ ารวดั ผิดพลาดได้ ซ่ึงมีอปุ กรณ์ที่สามารถวดั ภายในวงจรไดด้ งั น้ี 9.6.6.1 ตวั ตา้ นทาน สามารถวดั คา่ ความตา้ นทานในวงจรไดโ้ ดยที่ไมต่ อ้ งถอดออกมา รูปท่ี 9.48 การวดั ตวั ตา้ นทาน จากรูปท่ี 9.48 ใชม้ ลั ติมิเตอร์วดั คา่ ความตา้ นทานโดยใช้สายมลั ติมิเตอร์วดั คร่อมท่ีขาตวั ตา้ นทานในวงจร เพอ่ื อา่ นค่าความตา้ นทาน
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6.6.2 แอลอีดี ใชม้ ลั ติมิเตอร์โดยต้งั ยา่ นการวดั ที่ R 1 แลว้ ใชส้ ายมลั ติมิเตอร์วดั คร่อมตวั แอลอีดี ถา้ แอลอีดี ไม่เสียจะเปล่งแสงออกมา (ก) แอลอีดี ใชง้ านได้ (ข) แอลอีดี ใชง้ านไม่ได้ รูปที่ 9.49 การวดั แอลอีดี จากรูปที่ 9.49 การวดั แอลอีดี ตอ้ งวดั ใหถ้ ูกข้วั ขาแอโนดใหใ้ ชส้ ายวดั บวก ส่วนขา แคโทดใหใ้ ชส้ ายวดั ลบ 9.6.6.3 สวิตชก์ ดติดปล่อยดบั ใชม้ ลั ติมิเตอร์ในการตรวจสอบ โดยใหต้ ้งั ยา่ นการวดั ไวท้ ่ี ยา่ นเสียง รูปที่ 9.50 การวดั สวติ ชก์ ดติดปลอ่ ยดบั การวดั สวิตชก์ ดติดปลอ่ ยดบั ใหต้ ้งั ยา่ นการวดั มลั ติมิเตอร์ไปท่ีเสียง แลว้ วดั คร่อมสวติ ชใ์ ช้ มือกดป่ ุมสวิตช์ ถา้ ไดย้ นิ เสียงดงั แสดงวา่ สวิตชด์ ี
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6.6.4 บชั เซอร์ ใชม้ ลั ติมิเตอร์ตรวจสอบ โดยต้งั ยา่ นการวดั ท่ี R 1 นาสาย มลั ติมิเตอร์ วดั คร่อมท่ีบซั เซอร์ ถา้ ใชง้ านไดจ้ ะมีเสียงดงั รูปท่ี 9.51 การวดั บซั เซอร์ จากรูปท่ี 9.51 ใชส้ ายมลั ติมิเตอร์วดั ที่จุดบดั กรีของบซั เซอร์ โดยการกลบั ดา้ น แผน่ วงจรพมิ พ์ ดูตาแหน่งข้วั ก่อนทาการวดั ท่ีจุดบดั กรี เพราะดา้ นบนไม่มีขาใหว้ ดั 9.6.6.5 ไดโอด ใชม้ ลั ติมิเตอร์ตรวจสอบโดยต้งั ยา่ นการวดั ไวท้ ี่ยา่ นเสียง รูปที่ 9.52 การวดั ไดโอด และการสลบั สายวดั ไดโอด จากรูปท่ี 9.52 การวดั ไดโอดท่ีขาแอโนดใหใ้ ชส้ ายวดั สีดา ส่วนขาแคโทดใหใ้ ชส้ ายวดั สีแดงจะไดย้ นิ เสียง และใหส้ ลบั สายวดั จะไมไ่ ดย้ นิ เสียง ซ่ึงแสดงวา่ ไดโอดใชง้ านได้ หมายเหตุ การวดั อุปกรณ์ในวงจร จะใหเ้ ท่ียงตรงที่สุดตอ้ งถอดอุปกรณ์ออกจากแผน่ วงจร พิมพก์ ่อนที่จะทาการวดั เพราะถา้ วดั ในวงจรผลการวดั ท่ีไดอ้ าจจะคลาดเคลื่อนเน่ืองจากมีอุปกรณ์ อื่น ๆ เช่ือมต่ออยดู่ ว้ ยกนั
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 9.6.7 สรุปข้ันตอนการแก้ปัญหาเบือ้ งต้น เร่ิมการตรวจสอบวงจร ดงั น้ี 1) ตรวจสอบตาแหน่งอุปกรณ์บนแผน่ วงจรพิมพ์ เช่น ตาแหน่งขาอุปกรณ์ , คา่ อปุ กรณ์ ข้วั อุปกรณ์ ,ข้วั แบตเตอรี่ สีแดง (+) , สีดา (-) และตรวจสอบแรงดนั ของแบตเตอรี่วา่ ถกู ตอ้ งหรือไม่ 2) ตรวจสอบลายทองแดง วา่ ขาดหรือชอ็ ตกนั หรือไม่ 3) ตรวจสอบจุดบดั กรี 4) ตรวจสอบสายไฟที่เชื่อมต่อจุดต่าง ๆ วา่ ครบหรือไม่ 5) ถา้ วงจรยงั ไม่ทางาน ใหถ้ อดอุปกรณ์ออกมาทดสอบทีละตวั 6) ถา้ วงจรยงั ไม่ทางาน อาจจะเกิดจากการออกแบบวงจรไม่ถกู ตอ้ ง แนะนาใหป้ รึกษา ผเู้ ช่ียวชาญ
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร บทสรุป การออกแบบวงจรเป็ นพ้ืนฐาน ของวงจรที่ใชง้ านกนั โดยทวั่ ไป ๆ โดยจะตอ้ งยดึ หลกั การ ออกแบบที่ถูกตอ้ ง เช่น ตอ้ งเลือกวงจรท่ีตอ้ งการออกแบบ ศึกษาคน้ ควา้ เพื่อกาหนดวงจรท่ีตอ้ งการ ออกแบบมาใชง้ าน ตอ้ งศึกษาการทางานของวงจรท่ีเลือกใหเ้ ขา้ ใจ กาหนดรายละเอียดคุณสมบัติ ของวงจรที่ต้องการออกแบบ ตอ้ งเลือกอุปกรณ์ต่าง ๆ สร้างแผ่นวงจรพิมพ์ที่จะใช้ให้มีความ เหมาะสม และควรตรวจสอบความถูกตอ้ งของอุปกรณ์แต่ละตวั เม่ือออกแบบวงจรเสร็จแลว้ ส่วน การประกอบวงจรจะตอ้ งยดึ หลกั เร่ืองของเครื่องมือที่ใช้ อุปกรณ์ทกุ ตวั ที่ใชต้ อ้ งรู้จกั เป็นอยา่ งดี ไม่ ว่าจะเป็ นค่าที่บอกมาเป็ นรหัสสี บอกมาเป็ นรหัสตวั เลข สัญลกั ษณ์ ขา หรือ ข้วั ของอุปกรณ์แต่ละ ชนิด สุดทา้ ย คือ การบดั กรี ตอ้ งรู้ วิธีการบดั กรี เช่น การใชห้ วั แร้ง การใชต้ ะกว่ั บดั กรี ตลอดจน เทคนิคต่าง ๆ ในการบดั กรี และทดสอบการทางาน เป็นตน้ วงจรไฟกระพริบหรือวงจรอะสเตเบิลมลั ติไวรเบรเตอร์ (Astable Multivibrator) เป็นวงจร ที่สามารถควบคมุ ใหห้ ลอดไฟติดและดบั ไดด้ ว้ ยตวั เอง นาไปใชเ้ ป็นไฟกระพริบแบบตา่ ง ๆ เคร่ืองหร่ีไฟฟ้า (Drimmer) เป็นวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ที่ใชค้ วบคุมกาลงั ไฟฟ้าจ่ายไปใหโ้ หลด มากหรือนอ้ ย นาไปใชง้ านแตกตา่ งกนั เช่น หร่ีแสงสวา่ งหลอดไฟ (Light Dimmer) ปรับความเร็ว มอเตอร์ (Motor Speed Control) และปรับความร้อนเคร่ืองทาความร้อน (Heater Dimmer) เป็นตน้ การสร้างชิ้นงานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นการรวบยอดความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีได้ เรียนมาเพ่อื ประยกุ ตใ์ ชง้ านใหเ้ กิดผลงานที่ส่ือแนวคดิ ทางทฤษฎีใหเ้ กิดประโยชน์ในทางปฏิบตั ิหรือ การพสิ ูจนห์ ลกั การที่เรียนมาเพอ่ื นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั
แบบฝึ กหัด อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร คาชีแ้ จง 1. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 9 การประยกุ ตใ์ ชง้ านอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และการแกไ้ ขวงจร เบ้ืองตน้ มีท้งั หมด 2 ตอน คะแนนเตม็ 30 คะแนน ดงั น้ี 1.1ตอนที่ 1 แบบฝึกหดั ชนิดตอบคาถาม จานวน 15 ขอ้ ๆ ละ 1 คะแนน 1.2ตอนที่ 2 แบบฝึกหดั ชนิดถูกผิด จานวน 15 ขอ้ ๆ ละ 1 คะแนน 2. เวลาท่ีใชใ้ นการทาแบบฝึกหดั ท้งั หมด จานวน 30 นาที ........................................... ตอนท่ี 1 ตอบคาถามต่อไปน้ีใหถ้ กู ตอ้ ง คะแนนเตม็ 15 คะแนน 1. จุดเร่ิมตน้ ในการออกแบบวงจรเกิดจากอะไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. ส่ิงท่ีสาคญั ที่สุดในการออกแบบวงจร คืออะไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. ข้นั ตอนในการออกแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์เบ้ืองตน้ มีกี่ข้นั ตอน ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. เคร่ืองมือที่จาเป็นในการใชป้ ระกอบวงจร ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 5. จงบอกเทคนิคการบดั กรี ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 6. จงบอกเทคนิคการประกอบอปุ กรณ์ในวงจร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 7. จงบอกวธิ ีการถอดอุปกรณ์ออกจากวงจรพมิ พ์ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 8. วงจรไฟกระพริบหรือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ วงจรอะไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 9. จงอธิบายการทางานของวงจรไฟกระพริบ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 10. จงอธิบายการทางานของวงจรหร่ีไฟ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 11. การตรวจสอบแกไ้ ขปัญหาวงจรเบ้ืองตน้ มีประโยชน์อยา่ งไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 12. ทาไมตอ้ งถอดอปุ กรณ์ออกจากแผน่ วงจรพิมพก์ ่อนทาการวดั ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 13. ลายทองแดงที่ต่อถึงกนั เมื่อใชม้ ลั ติมิเตอร์วดั ผลจะเป็นอยา่ งไร ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 14. จงบอกวิธีการเชื่อมต่อลายทองแดงท่ีขาดบนแผน่ วงจรพมิ พ์ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 15. ตะกว่ั ท่ีบดั กรีขาอุปกรณ์ไมเ่ ตม็ จุดบดั กรีจะมีผลอยา่ งไรกบั วงจร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ตอนที่ 2 ทาเครื่องหมายถกู ( ✓ ) หนา้ ขอ้ ท่ีถูก และทาเครื่องหมาย ( ) ลงในหนา้ ขอ้ ท่ีผดิ คะแนนเตม็ 15 คะแนน 1. การออกแบบวงจรจะตอ้ งศึกษาการทางานของอปุ กรณ์ทกุ ตวั ในวงจร 2. ตะกว่ั บดั กรีท่ีดีตอ้ งมีส่วนผสม 40/60 3. การประกอบอปุ กรณ์บนแผน่ วงจรพมิ พค์ วรลงอุปกรณ์ตวั ต่าท่ีสุดก่อน 4. จุดบดั กรีท่ีดีในการประกอบอุปกรณ์ตอ้ งมนั วาว 5. การใชท้ ี่ดูดตะกวั่ แบบดูดตอ้ งทาซ้าหลาย ๆ รอบ 6. วงจรไฟกระพริบหรือวงจรโมโนสเตเบิลมลั ติไวรเบรเตอร์ 7. การควบคุมความเร็วในการติดดบั ของวงจรไฟกระพริบข้นึ อยกู่ บั R และ C 8. วงจรหรี่ไฟนาไปใชค้ วบคุมความสวา่ งของหลอดไฟเทา่ น้นั 9. การควบคุมความสวา่ งของวงจรหรี่ไฟถูกควบคมุ ดว้ ยตวั ตา้ นทานปรับค่าได้ 10. หลกั การทางานของวงจรหรี่ไฟอาศยั การทางานของไดแอกควบคุมไทรแอก 11. การตรวจสอบตาแหน่งอุปกรณ์บนแผน่ วงจรพิมพเ์ ป็นส่ิงสาคญั
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 12. การตรวจสอบวงจรผตู้ รวจสอบตอ้ งรู้การทางานของวงจรอยา่ งละเอียด 13. การวดั อุปกรณ์ควรใชด้ ิจิตอลมิเตอร์ดีกวา่ มลั ติมิเตอร์แบบเขม็ 14. การแกไ้ ขปัญหาวงจรเบ้ืองตน้ เป็นการพสิ ูจน์ความรู้ทางทฤษฎี 15. ถา้ วงจรไม่ทางานควรใชช้ ่างผเู้ ชี่ยวชาญดูทุกคร้ัง
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร เอกสารอ้างองิ ชาญวิทย์ หาญรินทร์. วงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์: สานกั พมิ พศ์ ูนยส์ ่งเสริมอาชีวะ. กรุงเทพฯ. พนั ธ์ศกั ด์ิ พฒุ ิมานิตพงศ.์ วงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์: สานกั พมิ พศ์ นู ยส์ ่งเสริมวิชาการ. กรุงเทพฯ. 2549. พนั ธ์ศกั ด์ิ พฒุ ิมานิตพงศ.์ อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจร: สานกั พิมพศ์ นู ยส์ ่งเสริมวิชาการ. กรุงเทพฯ. พุทธารักษ์ แสงก่ิง. อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์: สานกั พิมพศ์ นู ยส์ ่งเสริมอาชีวะ. กรุงเทพฯ. ยนื ภวู่ รวรรณ. ทฤษฏแี ละการใช้งานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เล่ม 1: บริษทั ซีเอ็ดยเู คชนั่ . กรุงเทพฯ.2540. ไวพจน์ ศรีธญั . อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ : สานกั พมิ พว์ งั อกั ษร. กรุงเทพฯ.2552. สุจารี พงษก์ ลุ สิริ. วงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์: บริษทั ศูนยห์ นงั สือเมืองไทย จากดั . กรุงเทพฯ. 2553. อภิเชษฐ์ การัยภูมิ. อเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบชาวบ้าน เล่ม 2: วิตต้ีกรุ๊ป. กรุงเทพฯ. 2550. อดุลย์ กลั ยาแกว้ . อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจร: สานกั พิมพศ์ นู ยส์ ่งเสริมอาชีวะ. กรุงเทพฯ. David A.Bell. Electronic Devices & Circuits :Virginia,Reston Publishing Compamy, Inc.,1980. Robert Boylestad. Electronic Devices And Circuit Theory . USA : Prentice – Hall Inc,1978.
อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคชุมพร
Search
Read the Text Version
- 1 - 47
Pages: