แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นเตรียมอนุบาล อายุ (ต่ำกว่า 3 ขวบ) สาระที่ควรรู้ : วันสำคัญ หน่วย : วันอาสฬหบูชา-วันเข้าพรรษา ภาคเรียนที่ 1/2561 สัปดาห์ที่ 10 จัดทำโดย นางสาวประทีป ทรวงโพธิ์ รหัส571031321148 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่างหนองแหน สังกัดกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
แผนการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่างหนองแหน สัปดาห์ที่ 10 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 5 วันสำคัญ หน่วยการจัดประสบการณ์ วันอาสาฬหบูชา - วันเข้าพรรษา เมื่อถึงวันสำคัญทางศาสนาศาสนิกชนจะไป เทียนพรรษา แห่เทียน ประกอบศาสนพิธีเพื่อ ความหมายของวันอาสาฬหบูชา การถวายเทียนพรรษา ความสำคัญ 1. เป็นวันที่พระพุทธเจ้าแสดง วันอาสาฬหบูชา ปฐมเทศนา วันเข้าพรรษา แก่ปัญจวคีเป็นครั้งแรก 2. เป็นวันที่พระสงฆ์องค์แรกเกิดขึ้น 3. เป็นวันที่มีพระรัตนตรัยครบ 3 องค์ (พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์) กิจกรรมที่ควรปฏิบัติ ความหมายของวันเข้าพรรษา ทำบุญ, ฟังเทศน์, เวียนเทียน, เป็นวันที่พระสงฆ์อยู่ประจำที่วัดเป็นเวลา 3 เดือน ถวายเทียน, ถวายผ้าอาบน้ำฝน เพื่อบำเพ็ญภาวนา ปฏิบัติตามพระธรรมคำสอน สิ่งที่เด็กรู้แล้ว สิ่งที่เด็กต้องการรู้ สิ่งที่เด็กควรรู้ 1. วันพระ 1. การปฏิบัติตน 1. ความสำคัญ 2. .วันแห่เทียน 2. กิจกรรมที่จัดขึ้น 2. ความหมายวันอาสาฬหบูชา 3 . วันทำบุญ ในวัน 3. ความหมายวันเข้าพรรษา 4. กิจกรรมที่ควรปฏิบัติ สำคัญทาง 5. การถวายเทียนพรรษา ศาสนา
แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่างหนองแหน เตรียมอนุบาล อายุต่ำกว่า (3 ขวบ ) สัปดาห์ที่ 10 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 5 วันสำคัญ หน่วยการจัดประสบการณ์ วันอาสาฬหบูชา - วันเข้าพรรษา กิจกรรม เคลื่อนไหว เสริม สร้างสรรค์ เสรี กลางแจ้ง เกมการ วันที่ และจังหวะ ประสบการณ์ ศึกษา เคลื่อนไหว 1.ความสำคัญ การปั้นและการ เลือกเล่นอย่างมี ปฏิบัติ สังเกตการ ร่างกายตามแบบ ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ความหมายตาม กิจกรรมร่วม ตัดต่อภาพ อิสระ ความสนใจของ กับเพื่อนและ และเชื่อม 1 ตนเอง เพื่อน และ จำแนก โยงภาพ กำหนด ลักษณะหนา- กระบวนการเล่น บาง ได้ ปฏิบัติตามคำสั่ง 2. ความหมาย สร้างสรรค์ผล เลือกเล่นอย่างมี พัฒนากล้าม สังเกตการ ได้ วันอาสาฬหบูชา งานใหม่อยู่เสมอ ความหมายตาม เนื้อเล็ก-ใหญ่ จับคู่ภาพ ความสนใจของ เด็กชาย-เด็ก 2 ตนเอง เพื่อนและ หญิง ลงมือเล่นตาม กระบวนการที่วาง ไว้ได้ เคลื่อนไหวร่าง 3. ความหมาย พัฒนากล้ามเนื้อ เลือกเล่นอย่างมี เล่นเครื่องเล่น สังเกตการ หายประกอบคำ วันเข้าพรรษา มือกับตา ความหมายตาม สนามอย่าง จับคู่ภาพ บรรยาย ความสนใจของ ถูกวิธีและ เหมือนห้อง 3 ตนเอง เพื่อนและ ปลอดภัย ชาย-หญิง ตรวจสอบผลที่เกิด ขึ้นด้วยตนเองได้ แสดงบทบาท 4. กิจกรรมที่ อธิบายผลงาน เลือกเล่นอย่างมี อธิบายวิธีเล่น สังเกตเกี่ยว สมมุติตามข้อ ควรปฏิบัติ ตนเอง ความหมายตาม เกมตี่จับ กับราย ตกลงได้ ความสนใจของ ปฏิบัติตามข้อ ละเอียดของ 4 ตนเอง เพื่อนและ ตกลง ภาพและการ บอกวิธีปรับปรุง ทำ ให้ดีขึ้นเป็น กิจกรรมร่วม ประโยชน์มากขึ้น กัน เคลื่อนไหว 5. การถวาย ตั้งชื่อและนำ เลือกเล่นอย่างมี อธิบายวิธีเล่น สังเกตการ 5 ร่างกายประกอบ เทียนพรรษา เสนอผลงานเป็น ความหมายตาม มอญซ่อนผ้า จับคู่ภาพ เพลงตาม ระบบ ความสนใจของ พยัญชนะ จินตนาการได้ ตนเอง เพื่อน ด,ต,ฒได้ และเปรียบเทียบ เลือกกิจกรรมที่ ชอบมากที่สุด ทำได้ดีที่สุดตรง กับความสามารถ ที่แท้จริง
แผนการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัย สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 1 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 5 เรื่อง วันสำคัญ หน่วยการจัดประสบการณ์ วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย ความสำคัญ ชื่อกิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ จุดประสงค์ 1. การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ 2. ปฏิบัติตามข้อตกลงง่าย ๆ ได้ สาระการเรียนรู้ - การปฏิบัติตามสัญญาณหรือข้อตกลง ประสบการณ์สำคัญ - การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณห้องอย่างอิสระ ดังนี้ การเดิน การ วิ่ง การกระโดด การตบมือโยกตัว ฯลฯ โดยเสียงเครื่องเคาะจังหวะ ถ้า ครูเคาะเร็วให้เคลื่อนไหวเร็ว ๆ ถ้าครูเคาะช้า ๆ ก็ให้เคลื่อนไหวช้า ๆ 2. เด็กปฏิบัติตามข้อ 1 โดยเปลี่ยนจากเครื่องเคาะจังหวะเป็นนกหวีด ถ้า ครูเป่าช้า ให้เคลื่อนไหวช้า ถ้าเป่าเร็วให้เคลื่อนไหวเร็ว 3. เด็กนั่งพักผ่อน คลายกล้ามเนื้อ โดยการนอนราบลงกับพื้นมือวางข้าลำ ตัวและหลับตา 2 – 3 นาที การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. เครื่องเคาะจังหวะ 2. นกหวีด การประเมินผล 1. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกาย 2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
ชื่อกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (ในวงกลม) จุดประสงค์ - บอกความสำคัญของวันอาสาฬหบูชาได้ สาระการเรียนรู้ - วันสำคัญทางศาสนา เป็นวันเกิดเหตุการณ์สำคัญทางศาสนา เมื่อถึงวัน สำคัญของศาสนา ศาสนิกชนจะไปประกอบศาสนพิธี เพื่อบูชาและเป็นการ สืบทอดศาสนาให้มั่นคงสืบไป ประสบการณ์สำคัญ 1. การปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อยู่อาศัย และความเป็นไทย 2. การเชื่อมโยงภาพ ภาพถ่าย และรูปแบบต่าง ๆ กับสิ่งของหรือสถานที่ จริง วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กนั่งเป็นรูปครึ่งวงกลม ครูสนทนาทักทายกับเด็ก 2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับความสำคัญของวันอาสาฬหบูชา วัน เข้าพรรษา เพราะเป็นการสืบทอดเจตนาของศาสนาที่สอนให้ทุกคนเป็นคนดี โดย ใช้ ภาพประกอบ 3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเพิ่มเติมถึงความสำคัญ การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - ภาพประกอบการสอน การประเมินผล - สังเกตการสนทนาและตอบคำถาม
ชื่อกิจกรรม สร้างสรรค์ จุดประสงค์ 1. ใช้กล้ามเนื้อมือให้สัมพันธ์กับสายตาได้ 2. เสนอผลงานและบอกชื่อผลงานได้ สาระการเรียนรู้ - การปั้น ประสบการณ์สำคัญ 1. การปั้นและการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ 2. การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมปั้นดินน้ำมัน 2. ครูแนะนำและสาธิตการปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อให้ผลงานมีความ แปลกใหม่ 3. แบ่งเด็กเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน และให้ลงมือทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามจินตนาการ 4. เด็กนำเสนอผลงานและตั้งชื่อผลงานโดยครูบันทึกไว้ที่ผลงานและให้คำ ชมเชย 5. เมื่อทำกิจกรรมเสร็จเด็กและครูร่วมกันทำความสะอาด/เก็บอุปกรณ์ให้ เรียบร้อย การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. ดินน้ำมัน 2. กระดาษรองปั้น การประเมินผล 1. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือสัมพันธ์กับสายตา 2. สังเกตการทำงานร่วมกับผู้อื่น
ชื่อกิจกรรม เสรี ดประสงค์ 1. เปิดโอกาสให้เด็กได้สังเกต สำรวจ ทดลอง ค้นคว้า คิดแก้ปัญหาในการ ทำงานและการเล่นเป็นกลุ่ม 2. เกิดจินตนาการ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบต่องาน และสิ่งที่ตนเล่น 3. ได้รับประสบการณ์ตรง ทำให้ใช้ภาษาสุภาพ ช่วยเหลือ แบ่งปันผู้อื่นและ รู้จักอดทนรอคอย สาระการเรียนรู้ - การเล่นตามศูนย์เป็นการเล่นในศูนย์ประสบการณ์ต่าง ๆ อย่างอิสระ ซึ่งจะ ช่วยพัฒนา ความคิด และจินตนาการ ของเด็กควบคู่ไปกับความรับผิดชอบ การรอคอยการแบ่งปัน และการอยู่ร่วมกัน เพื่อพัฒนาการเข้าสู่สังคม ประสบการณ์สำคัญ - ช่วยพัฒนาความคิด และจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับการรับผิดชอบ การเล่นร่วมกัน และการคิดแก้ไขปัญหา วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูแนะนำการปฏิบัติตนในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี 2. ให้เด็กเลือกเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีตามความสนใจ 3. ครู เพิ่มเติม ปรับเปลี่ยน จัดเตรียมงานให้ตรงกับหน่วยการเรียน 4. หลังเลิกเล่นให้ทำความสะอาดอุปกรณ์ พร้อมกับเก็บของเข้าที่ให้ เรียบร้อยดูสวยงาม การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จัดไว้ตามศูนย์กิจกรรมเสรี การประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกก่อนและหลังการเข้าศูนย์กิจกรรมเสรี 2. ตรวจผลงานในการทำงาน และการสร้างสรรค์ผลงานในการเล่น 3. บันทึกและตรวจสอบพฤติกรรมในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี
ชื่อกิจกรรมกลางแจ้ง จุดประสงค์ 1. เล่นเกมโยนบอลลงตะกร้าได้ 2. ปฏิบัติตามข้อตกลงและกติกาได้ สาระการเรียนรู้ - การโยนบอลลงตะกร้า - การปฏิบัติตามข้อตกลง ประสบการณ์สำคัญ 1. การเล่นและการทำงานร่วมกับผู้อื่น 2. การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นในกิจวัตรประจำวัน วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กเดินแถวลงสนามอย่างมีระเบียบ และให้เด็กวิ่งเหยาะ ๆ เพื่อเป็นการ อบอุ่นร่างกาย 2.ครูอธิบายและสาธิตการโยนบอลลงตะกร้า โดยมีอาสาสมัครยืนถือ ตะกร้า 1 คน 3. เด็กได้ยินสัญญาณหยุดเล่นให้เด็กเข้าแถวล้างมือให้สะอาด แล้วเข้า ห้องเรียน การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. ลูกบอล 2. ตะกร้า การประเมินผล 1. สังเกตการเล่นเกม 2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงและกติกา
ชื่อกิจกรรมเกมการศึกษา จุดประสงค์ 1. ใช้กล้ามเนื้อมือให้สัมพันธ์กับตาได้ 2. เล่นเกมจับคู่ภาพเหมือนได้ สาระการเรียนรู้ - การเล่นเกมจับคู่ภาพเหมือนขนาดเทียน ประสบการณ์สำคัญ 1. การจับคู่ การจำแนก และการจัดกลุ่ม 2. การแก้ปัญหาในการเล่น วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรมโดยการร้องเพลง 2. ครูแนะนำวิธีการเล่นเกมจับคู่ภาพเหมือนขนาดเทียน และให้เด็กดูภาพ ที่สมบรูณ์ 3. แบ่งเด็กเป็นกลุ่มให้เล่นเกมภาพตัดต่อ สลับกับเกมชุดที่เคยเล่นมาแล้ว ขณะเด็กเล่นเกมครูคอยแนะนำและคอยดูแลกลุ่มที่มีปัญหาในการเล่นเกม 4. เมื่อเลิกเล่นแล้วเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. เกมจับคู่ภาพเหมือนขนาดเทียน 2. เกมที่เคยเล่นมาแล้ว การประเมินผล 1. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือให้สัมพันธ์กับตา 2. สังเกตการเล่นเกม
แผนการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัย สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 2 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 5 เรื่อง วันสำคัญ หน่วยการจัดประสบการณ์ วันอาสาฬหบูชา - วันเข้าพรรษา หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย ความหมายวันอาสาฬหบูชา ชื่อกิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ จุดประสงค์ 1. การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ 2. ฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้ สาระการเรียนรู้ - การเลื่อนไหวตามเพลง ประสบการณ์สำคัญ 1. การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 2. การเล่นและการทำงานร่วมกับผู้อื่น วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณห้องอย่างอิสระ ตามจังหวะเพลง บรรเลง 2. ครูชี้แจงข้อตกลงให้เด็กทราบ ว่าถ้าครูเป่านกหวีดให้เด็กหยุดการ เคลื่อนไหว 3. ปฏิบัติตามข้อ 1 และ 2 ซ้ำ ๆ 2 – 3 ครั้ง 4. เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงข้อตกลง พร้อมนั่งพักผ่อน คลายกล้ามเนื้อ 2 – 3 นาที การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. เทปเพลงบรรเลง 2. นกหวีด การประเมินผล 1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
ชื่อกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (ในวงกลม) จุดประสงค์ - บอกความหมายของวันอาสาฬหบูชาได้ สาระการเรียนรู้ - ความหมายของคำ ประสบการณ์สำคัญ - การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่นับถือ วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กนั่งเป็นรูปครึ่งวงกลม ครูสนทนาซักถามเด็ก 2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับความหมายของวันอาสาฬหบูชา โดยใช้ภาพประกอบ 3. เด็กและครูร่วมกันสรุป โดยครูให้เด็กช่วยกันบอกความหมายสั้น ๆ การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - หนังสือภาพพุทธประวัติของวันอาสาฬหบูชา การประเมินผล 1. สังเกตการสนทนาและตอบคำถาม 2. สังเกตการร่วมกิจกรรม
ชื่อกิจกรรม สร้างสรรค์ จุดประสงค์ 1. ใช้กล้ามเนื้อมือให้สัมพันธ์กับสายตาได้ 2. ฉีก – ปะ กระดาษภาพดอกบัวได้ สาระการเรียนรู้ - การฉีก , ปะ ภาพดอกบัว ประสบการณ์สำคัญ 1. การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม 2. การรับรู้และแสดงความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่นและผลงาน วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม คือ ภาพดอกบัว จานใส่กาว กระดาษสี 2. ครูแนะนำและสาธิตการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้ผลงานมีความแปลกใหม่ 3. แบ่งเด็กเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน และให้ลงมือทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามจินตนาการ 4. เด็กนำเสนอผลงานและตั้งชื่อผลงานโดยครูบันทึกไว้ที่ผลงานและให้คำ ชมเชย 5. เมื่อทำกิจกรรมเสร็จเด็กและครูร่วมกันทำความสะอาด/เก็บอุปกรณ์ให้ เรียบร้อย การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. ใบงานภาพดอกบัว 2. กระดาษสีหน้าเดียว หลากสี 3. กาว 4. จานใส่กาว การประเมินผล 1. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือสัมพันธ์กับสายตา 2. ตรวจผลงาน
ชื่อกิจกรรม เสรี จุดประสงค์ 1. เปิดโอกาสให้เด็กได้สังเกต สำรวจ ทดลอง ค้นคว้า คิดแก้ปัญหาในการ ทำงานและการเล่นเป็นกลุ่ม 2.เกิดจินตนาการ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบต่องาน สาระการเรียนรู้ - การเล่นตามศูนย์เป็นการเล่นในศูนย์ประสบการณ์ต่าง ๆ อย่างอิสระ ซึ่งจะ ช่วยพัฒนา ความคิด และจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับความรับผิดชอบ การรอคอยการแบ่งปัน และการอยู่ร่วมกัน เพื่อพัฒนาการเข้าสู่สังคม ประสบการณ์สำคัญ - ช่วยพัฒนาความคิด และจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับการรับผิดชอบ การเล่นร่วมกัน และการคิดแก้ไขปัญหา วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูแนะนำการปฏิบัติตนในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี 2. ให้เด็กเลือกเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีตามความสนใจ 3. ครู เพิ่มเติม ปรับเปลี่ยน จัดเตรียมงานให้ตรงกับหน่วยการเรียน 4. หลังเลิกเล่นให้ทำความสะอาดอุปกรณ์ พร้อมกับเก็บของเข้าที่ให้ เรียบร้อยดูสวยงาม การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จัดไว้ตามศูนย์กิจกรรมเสรี การประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกก่อนและหลังการเข้าศูนย์กิจกรรมเสรี 2. ตรวจผลงานในการทำงาน และการสร้างสรรค์ผลงานในการเล่น 3. บันทึกและตรวจสอบพฤติกรรมในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี
ชื่อกิจกรรม กลางแจ้ง จุดประสงค์ 1. การเล่นเครื่องเล่นสนามได้ 2. แบ่งปัน อดทน และรอคอยได้ สาระการเรียนรู้ - การเล่นเครื่องเล่นสนาม ประสบการณ์สำคัญ 1. การเล่นรายบุคคล การเล่นเป็นกลุ่ม 2. การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นในกิจวัตรประจำวัน วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กเดินเข้าแถวลงสนามอย่างมีระเบียบ 2. เด็กอบอุ่นร่างกายโดยทำท่ากายบริหารตามครู 3. ครูแนะนำวิธีการเล่นและปฏิบัติตนในการเล่นเครื่องเล่นสนามที่ถูกต้องและ ปลอดภัย 4. เมื่อหมดเวลาครูแนะนำให้เด็กทำความสะอาดมือและเข้าแถวเดินเข้า ห้องเรียน การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. นกหวีด 2. เครื่องเล่นสนาม การประเมินผล 1. สังเกตการเล่นเครื่องเล่นสนาม 2. สังเกตการแบ่งปัน อดทน และรอคอย
ชื่อกิจกรรม เกมการศึกษา จุดประสงค์ - เล่นเกมตัดต่อภาพดอกบัวได้ สาระการเรียนรู้ - การเล่นเกมภาพตัดต่อดอกบัว ประสบการณ์สำคัญ 1. การจับคู่ การจำแนก และการจัดกลุ่ม 2. การเปรียบเทียบ 3. การแก้ไขปัญหาในการเล่น วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูเตรียมความพร้อมเด็กด้วยการร้องเพลง 2. ครูแนะนำ / สาธิตวิธีการเล่นเกมตัดต่อภาพดอกบัว ให้เด็กดูภาพที่สมบูรณ์ 3. แบ่งเด็กเป็นกลุ่มให้เล่นเกมตัดต่อภาพดอกบัว สลับกับเกมชุดที่เคยเล่นมา แล้ว ขณะเด็กเล่นเกมครูคอยแนะนำและดูแลกลุ่มที่มีปัญหา 4. เมื่อเล่นเสร็จให้เด็กเก็บของเข้าที่ การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - เกมตัดต่อภาพดอกบัว การประเมินผล - สังเกตความถูกต้องในการเล่นเกม
แผนการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัย สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 3 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 5 เรื่อง วันสำคัญ หน่วยการจัดประสบการณ์ วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย ความหมายวันเข้าพรรษา ชื่อกิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ จุดประสงค์ 1. การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ 2. ปฏิบัติตามสัญญาณได้ สาระการเรียนรู้ - การเคลื่อนไหวพื้นฐาน ประสบการณ์สำคัญ - การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระ ดังนี้ กระโดดไปข้างหน้า 2 ครั้ง กระโดดถ่อยหลัง 2 ครั้ง กระโดดไปทางซ้ายและขวา 2. ครูชี้แจงข้อตกลงให้เด็กทราบ “ให้เด็กหยุดการเคลื่อนไหวเมื่อได้ยิน เสียงเคาะ จังหวะดัง 2 ครั้ง” 3. ปฏิบัติตามข้อ 1 และ 2 สลับกัน 4. เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงลักษณะท่าทางที่แสดง พร้อมนั่งพักผ่อน คลาย กล้ามเนื้อ 2 – 3 นาที การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - เครื่องเคาะจังหวะ การประเมินผล 1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 2. สังเกตการปฏิบัติตามสัญญาณ
ชื่อกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (ในวงกลม) จุดประสงค์ - บอกความหมายของวันเข้าพรรษาได้ สาระการเรียนรู้ - ความหมายของวันเข้าพรรษา ประสบการณ์สำคัญ 1. การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อยู่อาศัยและความเป็นไทย 2. การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่นับถือ วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กนั่งเป็นรูปครึ่งวงกลม ครูสนทนาทักทายเด็ก 2. ครูอธิบายความหมายของวันเข้าพรรษาให้เด็กฟัง โดยใช้ภาพประกอบ 3. เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงความหมายของวันเข้าพรรษา การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - หนังสือภาพพุทธประวัติ วันเข้าพรรษา การประเมินผล - สังเกตการสนทนาและตอบคำถาม
ชื่อกิจกรรม สร้างสรรค์ จุดประสงค์ 1. ใช้กล้ามเนื้อมือให้สัมพันธ์กับสายตาได้ 2. มีความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ สาระการเรียนรู้ - การระบายภาพด้วยสีเทียน ประสบการณ์สำคัญ 1. การเขียนภาพและการเล่นสี 2. การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม วิธีการจัดกิจกรรม 1.ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ในการระบายสีภาพโดยให้เด็กนั่งทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม 2. ครูนำภาพดอกบัวให้เด็กดูพร้อมทั้งสนทนาถึงภาพดอกบัว ว่ามีลักษณะ เป็นอย่างไร 3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมโดยมีครูคอยดูแลให้คำชี้แนะ 4. เด็กนำเสนอผลงานและตั้งชื่อผลงานโดยครูบันทึกไว้ที่ผลงานและให้คำ ชมเชย 5. เมื่อทำกิจกรรมเสร็จเด็กและครูร่วมกันทำความสะอาด/เก็บอุปกรณ์ให้ เรียบร้อย การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. ใบงานภาพดอกบัว 2. สีเทียน การประเมินผล 1. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือสัมพันธ์กับสายตา 2. ตรวจผลงาน
ชื่อกิจกรรม เสรี จุดประสงค์ 1. เปิดโอกาสให้เด็กได้สังเกต สำรวจ ทดลอง ค้นคว้า คิดแก้ปัญหาในการ ทำงานและการเล่นเป็นกลุ่ม 2. เกิดจินตนาการ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบต่องาน และสิ่งที่ตนเล่น 3. ได้รับประสบการณ์ตรง ทำให้ใช้ภาษาสุภาพ ช่วยเหลือ แบ่งปันผู้อื่นและ รู้จักอดทนรอคอย 4. ส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สาระการเรียนรู้ - การเล่นตามศูนย์เป็นการเล่นในศูนย์ประสบการณ์ต่าง ๆ อย่างอิสระ ซึ่งจะ ช่วยพัฒนา ความคิด และจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับความรับผิดชอบ การรอคอยการแบ่งปัน และการอยู่ร่วมกัน เพื่อพัฒนาการเข้าสู่สังคม ประสบการณ์สำคัญ - ช่วยพัฒนาความคิด และจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับการรับผิดชอบ การเล่นร่วมกัน และการคิดแก้ไขปัญหา วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูแนะนำการปฏิบัติตนในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี 2. ให้เด็กเลือกเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีตามความสนใจ 3. ครู เพิ่มเติม ปรับเปลี่ยน จัดเตรียมงานให้ตรงกับหน่วยการเรียน 4. หลังเลิกเล่นให้ทำความสะอาดอุปกรณ์ พร้อมกับเก็บของเข้าที่ให้ เรียบร้อยดูสวยงาม การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จัดไว้ตามศูนย์กิจกรรมเสรี การประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกก่อนและหลังการเข้าศูนย์กิจกรรมเสรี 2. ตรวจผลงานในการทำงาน และการสร้างสรรค์ผลงานในการเล่น 3. บันทึกและตรวจสอบพฤติกรรมในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี
ชื่อกิจกรรม กลางแจ้ง จุดประสงค์ 1. ปฏิบัติตามข้อตกลงได้ 2. เล่นเกมดอกไม้บาน ดอกไม้ตูมได้ สาระการเรียนรู้ - การเล่นเกมดอกไม้บาน ดอกไม้ตูม ประสบการณ์สำคัญ 1. การเลียนแบบการกระทำและเสียงต่าง ๆ 2. การแก้ปัญหาการเล่น วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูนำเด็กไปที่สนามให้เด็กยืนเป็นวงกลม เพื่ออบอุ่นร่างกาย 3 – 4 นาที 2. ครูแนะนำวิธีการเล่นเกมดอกไม้บาน ดอกไม้ตูม โดยให้เด็กจับมือเป็น วงกลม ครูยืนอยู่ตรงกลางวงเมื่อครูบอกว่าดอกไม้บานก็ให้เด็กขยาย วงกลมให้ออกกว้าง และเมื่อครูบอกว่าดอกไม้ตูมให้เด็กวิ่งเข้ามาหาครู พยายามอย่าให้มือหลุดออกจากกัน 3. เด็กเล่นเกมตามอิสระ โดยมีครูคอยส่งสัญญาณและดูแลความปลอดภัย อย่างใกล้ชิด 4. เมื่อหมดเวลาให้เด็กเข้าแถวและไปทำความสะอาดร่างกายก่อนเดินเข้า ห้องเรียน การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - นกหวีด การประเมินผล 1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง 2. สังเกตการเล่นเกม
ชื่อกิจกรรม เกมการศึกษา จุดประสงค์ 1. เล่นเกมจับคู่ภาพกับเงาได้ 2. เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ สาระการเรียนรู้ - การเล่นเกมจับคู่ภาพกับเงา ประสบการณ์สำคัญ 1. การจับคู่ การจำแนก และการจัดกลุ่ม 2. การเปรียบเทียบ วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูแนะนำ / สาธิตวิธีการเล่นเกมจับคู่ภาพกับเงา 2. แบ่งเด็กเป็นกลุ่มให้เล่นเกมจับคู่ภาพกับเงา สลับกับเกมชุดที่เคยเล่นมา แล้วอย่างอิสระโดยมีครูคอยแนะนำและดูแลกลุ่มที่มีปัญหาและให้เด็ก หมุนเวียนกันจนครบ 3. เด็กและครูร่วมสรปการเล่นเกม และเด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้ เรียบร้อย การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. เกมจับคู่ภาพกับเงา 2. เกมชุดที่เคยเล่นมาแล้ว การประเมินผล 1. สังเกตความถูกต้องในการเล่นเกม 2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
แผนการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัย สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 4 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 5 เรื่อง วันสำคัญ หน่วยการจัดประสบการณ์ วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย กิจกรรมที่ควรปฏิบัติ ชื่อกิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ จุดประสงค์ 1. แสดงท่าทางประกอบเพลงได้ 2. สนุกสนานร่าเริงแจ่มใส สาระการเรียนรู้ - การทำท่าทางประกอบเพลง ประสบการณ์สำคัญ 1. การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 2. การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายบริเวณรอบ ๆ ห้องอย่างอิสระ 2. ครูเปิดเทปเพลง พร้อมทั้งทำท่าทางประกอบให้เด็กดู 1 – 2 ครั้ง 3. เด็กและครูร่วมกันทำท่าทางประกอบเพลงพร้อมกัน 4. เด็กปฏิบัติข้อ 3 ซ้ำ 5. เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงเนื้อเพลง พร้อมนั่งพักผ่อน คลายกล้ามเนื้อ 2 – 3 นาที การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. เทปเพลง 2. นกหวีด การประเมินผล 1. สังเกตการแสดงท่าทางประกอบเพลง 2. สังเกตการร่วมกิจกรรม
ชื่อกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (ในวงกลม) จุดประสงค์ 1. บอกถึงกิจกรรมที่จัดขึ้นในวันอาสาฬหบูชาได้ 2. ร่วมกิจกรรมได้ สาระการเรียนรู้ - การจัดกิจกรรมในวันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา ประสบการณ์สำคัญ 1. การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อยู่อาศัยและความเป็นไทย 2. การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่นับถือ วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กนั่งเป็นรูปครึ่งวงกลม 2. ครูสนทนากับเด็กเพื่อสร้างข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับการดู VCD 3. เด็กดู VCD โดยครูคอยอธิบายเมื่อเด็กไม่เข้าใจและซักถามถึงสิ่งที่ อยากรู้จาก VCD 4. เด็กและครูร่วมกันสรุปร่วมกันอีกครั้ง การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - VCD ประกอบการสอน เรื่องวันสำคัญทางศาสนา (วันอาสาฬหบูชา วัน เข้าพรรษา) การประเมินผล 1. สังเกตการสนทนาและตอบคำถาม 2. สังเกตการร่วมกิจกรรม
ชื่อกิจกรรม สร้างสรรค์ จุดประสงค์ - สร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการได้ สาระการเรียนรู้ - การวาดภาพด้วยสีเทียนตามจินตนาการ ประสบการณ์สำคัญ 1. การเขียนภาพและการเล่นสี 2. การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ให้เด็กและแนะนำ สาธิตวิธีการวาดภาพด้วยสีเทียน ตามจินตนาการ 2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมโดยมีครูคอยดูแลอยู่ใกล้ ๆ 3. เด็กนำเสนอผลงานและตั้งชื่อผลงานโดยครูบันทึกไว้ที่ผลงานและให้คำ ชมเชย 4. เมื่อทำกิจกรรมเสร็จเด็กและครูร่วมกันเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. กระดาษ A4 2. สีเทียน การประเมินผล 1. สังเกตการมีความคิดสร้างสรรค์ 2. ตรวจผลงาน
ชื่อกิจกรรม เสรี จุดประสงค์ 1. เปิดโอกาสให้เด็กได้สังเกต สำรวจ ทดลอง ค้นคว้า คิดแก้ปัญหาในการ ทำงานและการเล่นเป็นกลุ่ม 2. เกิดจินตนาการ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบต่องาน และสิ่งที่ตนเล่น 3. ได้รับประสบการณ์ตรง ทำให้ใช้ภาษาสุภาพ ช่วยเหลือ แบ่งปันผู้อื่นและ รู้จัก อดทนรอคอย 4. ส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สาระการเรียนรู้ - การเล่นตามศูนย์เป็นการเล่นในศูนย์ประสบการณ์ต่าง ๆ อย่างอิสระ ซึ่งจะ ช่วยพัฒนา ความคิด และจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับความรับผิดชอบ การรอคอยการแบ่งปัน และการอยู่ร่วมกัน เพื่อพัฒนาการเข้าสู่สังคม ประสบการณ์สำคัญ - ช่วยพัฒนาความคิด และจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับการรับผิดชอบ การเล่นร่วมกัน และการคิดแก้ไขปัญหา วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูแนะนำการปฏิบัติตนในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี 2. ให้เด็กเลือกเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีตามความสนใจ 3. ครู เพิ่มเติม ปรับเปลี่ยน จัดเตรียมงานให้ตรงกับหน่วยการเรียน 4. หลังเลิกเล่นให้ทำความสะอาดอุปกรณ์ พร้อมกับเก็บของเข้าที่ให้ เรียบร้อยดูสวยงาม การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จัดไว้ตามศูนย์กิจกรรมเสรี การประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกก่อนและหลังการเข้าศูนย์กิจกรรมเสรี 2. ตรวจผลงานในการทำงาน และการสร้างสรรค์ผลงานในการเล่น 3. บันทึกและตรวจสอบพฤติกรรมในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี
ชื่อกิจกรรมกลางแจ้ง จุดประสงค์ 1. ปฏิบัติตนตามข้อตกลงได้ 2. เล่นร่วมกับเพื่อนได้ สาระการเรียนรู้ - การเล่นเกมกระโดด ประสบการณ์สำคัญ 1. การเล่นในห้องเรียนและนอกห้องเรียน 2. การแก้ปัญหาในการเล่น วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูนำเด็กไปที่สนามพร้อมทั้งแนะนำวิธีการเล่นเกมกระโดดให้เด็กฟัง 2. แบ่งเด็กเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มเด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิง ยืนเข้าแถวและเอามิ จับเอวคนที่อยู่ข้างหน้าไว้ 3. ครูเป่านกหวีดให้สัญญาณแล้วให้แต่ละกลุ่มกระโดดไปข้างหน้า โดยไม่ ให้มือหลุดและไม่เสียการ ทรงตัว โดยครูดูแลอยู่ใกล้ ๆ 4. เมื่อเลิกเล่นให้เด็กทำความสะอาดร่างกาย และเดินแถวเข้าห้องเรียน การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - นกหวีด การประเมินผล 1. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง 2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
ชื่อกิจกรรม เกมการศึกษา จุดประสงค์ 1. เล่นเกมเรียงลำดับใหญ่ - เล็กได้ 2. เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ สาระการเรียนรู้ - การเล่นเกมเรียงลำดับภาพเทียนขนเดใหญ่ - เล็ก ประสบการณ์สำคัญ 1. การเล่นรายบุคคลการเล่นเป็นกลุ่ม 2. การเปรียบเทียบ วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูแนะนำ / สาธิตวิธีการเล่นเกมเรียงลำดับภาพเทียนขนาดใหญ่ - เล็ก 2. ครูแบ่งเด็กเป็นกลุ่มให้เล่นเกมเรียงลำดับใหญ่ – เล็ก โดยมีครูคอยแนะนำ และดูแล อยู่ใกล้ ๆ 3. หมุนเวียนกันเล่นเกมที่เคยเล่นมาแล้ว 4. เมื่อเลิกเล่นเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. เกมจับคู่ภาพกับเงา 2. เกมชุดที่เคยเล่นมาแล้ว การประเมินผล 1. สังเกตความถูกต้องในการเล่นเกม 2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
แผนการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัย สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 5 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 5 เรื่อง วันสำคัญ หน่วยการจัดประสบการณ์ วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย การถวายเทียนพรรษา ชื่อกิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ จุดประสงค์ - การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ สาระการเรียนรู้ - การเคลื่อนไหวพื้นฐานตามคำสั่ง ประสบการณ์สำคัญ - การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปรอบบริเวณห้องอย่างอิสระ 2. ครูชี้แจงข้อตกลงร่วมกับเด็ก 3. เด็กฟังสัญญาณจากครูและแสดงท่าทาง เช่น ครูเคาะ 1 ครั้ง ให้แตะหัว ครูเคาะ 2 ครั้งให้แตะหู ครูเคาะรัว ๆ ให้แตะสลับระหว่าง หัว , หู 4. ปฏิบัติกิจกรรมข้อ 3 อีกครั้ง โดยเปลี่ยนจังหวะเร็ว , ช้า 5. เด็กนั่งพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 2 – 3 นาที การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - เครื่องเคาะจังหวะ การประเมินผล - สังเกตการเคลื่อนไหวและปฏิบัติตามคำสั่ง
ชื่อกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (ในวงกลม) จุดประสงค์ - บอกความเป็นมาของการถวายเทียนได้ สาระการเรียนรู้ - การถวายเทียนพรรษาแก่วัดเพื่อใช้ในการเข้าพรรษา ประสบการณ์สำคัญ 1. การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่นับถือ 2. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูให้เด็กนั่งเป็นรูปครึ่งวงกลม 2. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาถึงลักษณะของเทียน และตัวแทนเด็กออกมา แจกภาพ ต้นเทียนพรรษาให้เพื่อนทุกคน 3. ครูอธิบายความเป็นมาที่ต้องถวายเทียนแก่วัดในวันเข้าพรรษา เพื่อพระ สงฆ์จะได้ ใช้จุดเพื่อให้เกิดแสงสว่างในการศึกษาพระธรรม ในเวลากลางคืน 4. เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงการถวายเทียนพรรษา การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - ภาพประกอบการสอนการถวายเทียนพรรษา การประเมินผล - สังเกตการสนทนาและตอบคำถาม
ชื่อกิจกรรม สร้างสรรค์ จุดประสงค์ 1. ใช้กล้ามเนื้อมือให้สัมพันธ์กับสายตาได้ 2. ระบายสีตามจินตนาการได้ สาระการเรียนรู้ - การระบายสีภาพด้วยสีเทียน ประสบการณ์สำคัญ 1. การเขียนภาพและการเล่นสี 2. การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อวัสดุต่าง ๆ วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ในการระบายสีภาพเทียนพรรษาด้วยสีเทียน 2. ครูแจกใบงานภาพเทียนพรรษาให้เด็ก พร้อมสนทนาถึงภาพที่จะระบาย โดยการให้เด็กบอกว่าเป็นภาพอะไร 3. เด็กระบายสีภาพด้วยสีเทียนตามจินตนาการอย่างอิสระโดยครูคอยดูแล อยู่ใกล้ ๆ 4. เด็กนำเสนอผลงานและตั้งชื่อผลงานโดยครูบันทึกไว้ที่ผลงานและให้คำ ชมเชย 5. เมื่อทำกิจกรรมเสร็จเด็กและครูร่วมกันทำความสะอาด/เก็บอุปกรณ์ให้ เรียบร้อย การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. ใบงานภาพเทียนพรรษา 2. สีเทียน การประเมินผล 1. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือสัมพันธ์กับสายตา 2. ตรวจผลงาน
ชื่อกิจกรรม เสรี จุดประสงค์ 1. เปิดโอกาสให้เด็กได้สังเกต สำรวจ ทดลอง ค้นคว้า คิดแก้ปัญหาในการ ทำงานและการเล่นเป็นกลุ่ม 2. เกิดจินตนาการ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบต่องาน และสิ่งที่ตนเล่น 3. ได้รับประสบการณ์ตรง ทำให้ใช้ภาษาสุภาพ ช่วยเหลือ แบ่งปันผู้อื่นและ รู้จักอดทนรอคอย 4. ส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สาระการเรียนรู้ - การเล่นตามศูนย์เป็นการเล่นในศูนย์ประสบการณ์ต่าง ๆ อย่างอิสระ ซึ่งจะ ช่วยพัฒนา ความคิด และจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับความรับผิดชอบ การรอคอยการแบ่งปัน และการอยู่ร่วมกัน เพื่อพัฒนาการเข้าสู่สังคม ประสบการณ์สำคัญ - ช่วยพัฒนาความคิด และจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับการรับผิดชอบ การเล่นร่วมกัน และการคิดแก้ไขปัญหา วิธีการจัดกิจกรรม 1. ครูแนะนำการปฏิบัติตนในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี 2. ให้เด็กเลือกเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีตามความสนใจ 3. ครู เพิ่มเติม ปรับเปลี่ยน จัดเตรียมงานให้ตรงกับหน่วยการเรียน 4. หลังเลิกเล่นให้ทำความสะอาดอุปกรณ์ พร้อมกับเก็บของเข้าที่ให้ เรียบร้อยดูสวยงาม การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม - อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จัดไว้ตามศูนย์กิจกรรมเสรี การประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกก่อนและหลังการเข้าศูนย์กิจกรรมเสรี 2. ตรวจผลงานในการทำงาน และการสร้างสรรค์ผลงานในการเล่น 3. บันทึกและตรวจสอบพฤติกรรมในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี
ชื่อกิจกรรม กลางแจ้ง จุดประสงค์ 1. ใช้กล้ามเนื้อใหญ่ - เล็กได้ เล่นร่วมกับผู้อื่นได้สาระการเรียนรู้ - การเล่นอิสระและการเล่นเครื่องเล่นสนาม ประสบการณ์สำคัญ 1. การเล่นและการทำงานร่วมกับผู้อื่น 2. การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นในกิจวัตรประจำวัน วิธีการจัดกิจกรรม 1. เด็กเดินเข้าแถวลงสนามอย่างมีระเบียบ เข้าแถวและอบอุ่นร่างกายหมุนเข่า หมุนเอว สะบัดข้อมือ หมุนคอ กระโดดอยู่กับที่อย่างละ 5 ครั้ง 2. เด็กและครูสนทนาเกี่ยวกับการเล่นเครื่องเล่นสนามที่ถูกวิธีจะทำให้ไม่เกิด อันตราย 3. ครูให้เด็กเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ 5 – 10 นาที 4. เมื่อหมดเวลาครูเป่านกหวีดให้เด็กเข้าแถวเพื่อทำความสะอาดร่างกายและ เดินเข้าห้องเรียน การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. นกหวีด 2. เครื่องเล่นสนาม การประเมินผล 1. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ - เล็ก 2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
ชื่อกิจกรรม เกมการศึกษา จุดประสงค์ 1. ใช้กล้ามเนื้อใหญ่ - เล็กได้ 2.เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ สาระการเรียนรู้ - การเล่นเกมจับคู่จำนวนภาพที่เท่ากัน ประสบการณ์สำคัญ 1. การจับคู่ การจำแนก และการจัดกลุ่ม 2. การแก้ไขปัญหาในการเล่น วิธีการจัดกิจกรรรม 1. ครูแนะนำการเล่นเกมจับคู่จำนวนภาพที่เท่ากันให้เด็กดู 2. แบ่งเด็กเป็นกลุ่ม เล่นเกมจับคู่จำนวนภาพที่เท่ากัน สลับกับเกมชุดที่เคยเล่น มาแล้ว 3. เมื่อเลิกเล่นเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย 4. เด็กและครูร่วมกันสรุปการเล่นเกม การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม 1. เกมจับคู่จำนวนภาพที่เท่ากัน 2. เกมชุดที่เคยเล่นแล้ว การประเมินผล - สังเกตความถูกต้องในการเล่นเกม
แบบประเมินพัฒนาการ (เด็กอายุ ต่ำกว่า3 ปี) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่างหนองแหน ปีการศึกษา 2561 พัฒนาการด้านสังคม ที่ ชื่อ-สกุล พัฒนาการ พัฒนาการ พัฒนาการ พัฒนาการ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติ 1 ด.ช พุฒิพัฒน์ ทำบุญส่ง จิตใจ ปัญญา 2 ด.ช ภูมินทร์ จำปาบุรี หมายเหตุ 3 ด.ช รชกฤต มีศรี 4 ด.ช วิทยา อ่อนผักแว่น 121212 12 5 ด.ช นนธวัช เรืองธีรพันธ์ 6 ด.ญ กัญญาพัชร ชุ่มพระ 7 ด.ญ พรชนก ประสิรเตสัง 8 ด.ญ ลีลาวดี แข็งฤทธิ์ 9 ด.ญ สุชาวดี ทบวงษ์ 10 ด.ญ สุทัตดา โฉสูงเนิน 11 ด.ญ ไอรดา ดุงสูงเนิน ระดับการประเมิน 3 หมายถึง ดี หมายเหตุ ประเมินภาคเรียน ละ 2 ครั้ง 2 หมายถึง ปานกลาง 1 หมายถึง ปรับปรุง 1 = การประเมินครั้งที่ 1 2 = การประเมินครั้งที่ 2 ลงชื่อ…………………………………หัวหน้าศูนย์ฯ (นางสาวปิยภรณ์ โคตรก่ำ) ลงชื่อ…………………………………ผู้ประเมิน (นางสาวประทีป ทรวงโพธิ์)
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: