Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 3วงจรพัฒนาระบบ SDLC

บทที่ 3วงจรพัฒนาระบบ SDLC

Published by theerakorn kaewkham, 2019-05-27 00:16:27

Description: บทที่ 3วงจรพัฒนาระบบ SDLC

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 3 วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) ________________________________________________________________________ วัตถุประสงค์ 1. นกั ศกึ ษาสามารถบอกความหมายของการวเิ คราะห์ระบบ 2. นักศึกษาบอกความหมายของการออกแบบระบบ 3. นักศึกษาบอกวธิ ีการพฒั นาระบบตามวงจรพัฒนาระบบได้ 4. นักศึกษาบอกส่วนประกอบของวงจรพัฒนาระบบ 5. นักศกึ ษาสามารถบอกหลกั การทางานของ วงจรพัฒนาระบบ 6. นกั ศึกษาอธิบายขนั้ ตอนตามวงจรการพฒั นาระบบ(SystemDevelopmentLifeCycle) 7. นักศกึ ษาสามารถแยกกระบวนการทางานเป็นขั้นตอน ตามวงจรการพัฒนาระบบ 8. นักศึกษาอธิบายความสาคัญของวงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle) สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ 1. บอกความหมายของการวเิ คราะหร์ ะบบ 2. บอกความหมายของการออกแบบระบบ 3. อธบิ ายวิธีการพฒั นาระบบตามวงจรพัฒนาระบบ 4. ยกตัวอย่างของส่วนประกอบของวงจรพฒั นาระบบ 5. ทราบหลกั การทางานของ วงจรพัฒนาระบบ 6. อธบิ ายขั้นตอนตามวงจรการพฒั นาระบบ(SystemDevelopmentLife Cycle) 7. แยกกระบวนการทางานเป็นขั้นตอน ตามวงจรการพฒั นาระบบ 8. อธบิ ายความสาคัญของวงจรการพฒั นาระบบ (System Development Life Cycle)

3.1 ทฤษฎีการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ การวิเคราะหร์ ะบบ (System Analysis) เปน็ การศกึ ษา วเิ คราะห์ และแยกแยะถึงปญั หา ทเี่ กิดขน้ึ ในระบบ พร้อมทง้ั เสนอแนวทางเสนอแนวทางแก้ไขตามความตอ้ งการของผูใ้ ช้งานและ ความเหมาะสมต่อสถานะทางการเงินขององค์กร การออกแบบระบบ (System Design) คอื การสร้างแบบพิมพเ์ ขยี วของระบบใหม่ตามความ ต้องการในเอกสารความต้องการระบบ กาหนดสง่ิ ท่จี าเป็น เช่น อินพทุ เอ้าท์พุท สว่ นต่อประสาน ผู้ใช้ และการประมวลผล เพอื่ ประกันความนา่ เช่ือถอื ความถกู ต้องแม่นยา การบารงุ รักษาได้ และ ความปลอดภัยของระบบ นอกจากนน้ั การออกแบบระบบเป็นวิธีการออกแบบ และกาหนดคุณสมบตั ทิ างเทคนิคโดยนา ระบบคอมพวิ เตอรม์ าประยุคใช้ เพ่ือแก้ปัญหาท่ีทาการวเิ คราะห์มาแล้วขนั้ ตอนการวเิ คราะห์และ ออกแบบระบบออกเป็น 2 ระดบั คือ ข้นั ตน้ และขนั้ สงู 3.1.1 ข้นั ต้น (Basic System Analysis) ประกอบ 8 ขนั้ ตอนคือ 1.1 System Requirement เป็นการรบั ทราบปัญหา หรือความต้องการของผู้ใช้ หรอื เจา้ ของงานอาจเรียกรวมไดว้ ่า เปน็ ข้ันตอนของการเกบ็ รายละเอยี ด 1.2 Context Description เปน็ การกาหนดบริบท ประกอบดว้ ย List of Entities, List of Data และ List of Process 1.3 Context Diagram เป็นการออกแบบโครงสรา้ งบรบิ ท โดยอาศยั ข้อมลู ในขัน้ ตอน ท่ี 1.2 นักวเิ คราะหร์ ะบบบางราย มคี วามถนัดทจ่ี ะทาขัน้ ตอนนี้ก่อนข้นั ตอนท่ี 1.2 ซึ่งไม่มีผลเสยี แต่ อยา่ งไร 1.4 Process Hierarchy Chart เป็นการเขยี นผังการไหลของข้อมูลในระดับต่างๆ ที่ ปรากฏตามขนั้ ตอนที่ 1.3 1.5 Data Flow Diagram : DFD เปน็ การเขียนผังการไหลของข้อมูลในระดับตา่ งๆ ที่ ปรากฏตามขัน้ ตอนที่ 1.4 1.6 Process Description เปน็ การอธิบายรายละเอียด Process ใหช้ ัดเจนขึ้น โดยท่ัวไปนิยมอธบิ ายใน End Process ของแต่ละ Root 1.7 Data Modeling เปน็ ขั้นตอนการกาหนด Cardinality เพ่ือพจิ ารณาความสัมพนั ธ์ ของ Entities ท้ังหมดท่ีเกิดขึ้นในระบบ ซ่ึงใช้ Data Storage ทไ่ี ด้ในขั้นตอน DFD 1.8 Data Dictionary เป็นข้ันตอนกาหนด Attribute ท่ีอ้างถึงใน Data Modeling เพอื่ กาหนดรายละเอยี ดทีจ่ ะเป็นเบื้องตน้ สาหรับใช้ในระบบ 3.1.2 ขัน้ สูง (Advance System Analysis) ประกอบ 4 ขัน้ ตอนคือ 2.1 Database Design เปน็ ขน้ั ตอนการออกแบบฐานข้อมูล โดยอาศัยข้อมูลนาเข้าใน ขัน้ ท่ี 1.7 และ 1.8 ซง่ึ อาจใช้วธิ กี าร Normalization หรือ Entity Relationship Model แลว้ แต่ละ กรณี ซงึ่ ไมจ่ าเปน็ ว่าจะตอ้ งได้ Normal Form (5NF) ข้นึ อยกู่ ับ นกั วิเคราะห์ระบบจะเห็นวา่ มคี วาม จาเป็นและเหมาะสมในระดบั ใด แต่ทัง้ น้ีควรไมต่ ่ากวา่ Boyce Coded Normal Form (BCNF) 2.2 Data Table Description เป็นขน้ั ตอนกาหนดรายละเอยี ด Attribute ที่มีใน

แตล่ ะ Table โดยอาศัยข้อมลู จากข้นั ตอนท่ี 1.8 และ 2.1 2.3 Output Design หรอื การออกแบบส่วนแสดงผล แยกออกเป็น รายงาน เอกสาร และข้อความ มีพฤติกรรม 3 ชนดิ 1) แสดงผลจากฐานขอ้ มลู โดยตรง (Data to Output : D2O) 2) แสดงผลจากการประมวลผลทไ่ี ดร้ ับจากการข้อมลู นาเขา้ (Data-Process to Output: DP2O) 3) แสดงผลโดยตรงจากข้อมูลนาเข้า (Input to Output : I2O) โดยสามารถแสดง ผลไดท้ ้ังกระดาษ และจอภาพ การออกแบบ Output Design ควรกระทาก่อนการออกแบบอื่นๆ ทัง้ หมด เพราะจะชว่ ยตรวจสอบวา่ มี Attribute ที่ออกแบบไวใ้ นขัน้ 2.2 ครบถ้วนหรือไม่ 2.4 Input Design หรอื การออกแบบสว่ นนาข้อมลู เขา้ วตั ถุประสงคเ์ ป็นการออกแบบ เพือ่ นาข้อมลู เข้าไปในระบบคอมพวิ เตอร์ จึงถูกออกแบบให้มีรูปแบบสอดคลอ้ งกบั การแสดงผลทาง จอภาพ คือ 25 บรรทดั 80 คอลมั น์ แม้ว่าบางครงั้ จะถูกออกแบบเป็นแบบบันทกึ ข้อมลู ลว่ งหนา้ กอ่ นนามาบันทึกผา่ นจอภาพ ก็ยังอ้างองิ กบั ตาแหน่งทางจอภาพ เพอื่ หลีกเล่ียงความสบั สนของผู้ใช้ แบ่งออกเปน็ 2 พฤติกรรมคือ 1) ออกแบบฟอรม์ เอกสารกรอกข้อมูล 2) ออกแบบสว่ นติดต่อกับผู้ใช้ ซึง่ มี 3 ชนิด คือ ส่วนตดิ ตอ่ กบั ผู้ใชด้ ้วยเมนู ด้วยคาสั่ง และดว้ ยกราฟกิ รปู ที่ 3.1 แสดงหนา้ จอการออกแบบส่วนรับขอ้ มลู ทีห่ นา้ จอ

รูป 3.2 ออกแบบสว่ นตดิ ต่อกบั ผูใ้ ช้ดว้ ยเมนู ด้วยคาสงั่ และด้วยกราฟิก 3.2 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) รปู 3.3 แสดงวงจรการพัฒนาระบบทงั้ 7 ขัน้ วงจรการพัฒนาระบบ หรือที่นิยมเรียกย่อๆ ว่า SDLC เป็นวธิ ีการทนี่ กั วเิ คราะห์ระบบใช้ในการ พัฒนาระบบงาน เพื่อทจ่ี ะใช้เรียงลาดบั เหตุการณห์ รือกิจกรรม ทจี่ ะต้องกระทาก่อนหรือกระทาใน ภายหลัง เพือ่ ทจี่ ะช่วยใหก้ ารพฒั นาระบบงานทาไดง้ า่ ยขน้ึ ซ่ึงนักวเิ คราะห์ระบบจะต้องทาความ เขา้ ใจใหช้ ดั เจนถูกต้องวา่ ในแตล่ ะข้ันตอนน้นั จะต้องทาอะไร ทาอยา่ งไร เพ่ือให้ไดผ้ ลลัพธ์ตามที่ ต้องการ โดยทัว่ ไปวงจรการพัฒนาระบบจะมกี ารทางานเป็นข้ันตอนต่างๆ ในแต่ละขน้ั ตอนจะ ประกอบดว้ ยรายละเอยี ดของการทางานหลายอยา่ ง รวมทง้ั กาหนดเปา้ หมายของการทางานของ

แต่ละขน้ั ตอน และจะต้องแสดงความกา้ วหนา้ ของโครงการทีไ่ ดก้ ระทาในแต่ละขัน้ ตอนด้วย โดย จะตอ้ งมีการทารายงานเพื่อแสดงผลการทางานในแตล่ ะขน้ั ตอน เพ่ือเสนอใหผ้ บู้ รหิ ารพจิ ารณา ตัดสินใจว่า จะดาเนนิ การในข้ันตอนต่อไปของการพฒั นาระบบ หรือเปล่ียนทศิ ทางของการทา โครงการนั้นหรอื ไม่ หรือหากขั้นตอนการพฒั นาระบบในข้ันตอนใดยังไมช่ ดั เจนเพยี งพอทีจ่ ะทาให้ ผูบ้ รหิ ารตัดสนิ ใจไดก้ ็อาจจะต้องให้นักวิเคราะหร์ ะบบกลับไปศกึ ษารายละเอียดของการทางานใน ขั้นตอนก่อนหนา้ น้นั อกี จนกว่าผบู้ ริหารจะสามารถตดั สินใจได้ วงจรการพัฒนาระบบจะแบง่ ออกเปน็ 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การกาหนดปญั หา (Problem Definition) 2. การศึกษาความเปน็ ไปได้ (Feasibility Study) 3. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 4. การออกแบบระบบ (System Design) 5. การสร้างระบบ (System Construction) 6. การตดิ ต้งั ระบบ SDLC (System Implementation) 7. การประเมินและการบารงุ รกั ษาระบบ ( Post – implementation reviews and maintenance) 3.3 ขน้ั ตอนที่ 1 การกาหนดปัญหา ข้ันตอนที่ 1 การกาหนดปัญหา (Problem Definition) การกาหนดปญั หา หรอื เข้าใจปัญหาเป็นข้นั ตอนเริ่มต้นของการพัฒนาระบบ ซ่ึงนักวเิ คราะห์ ระบบจะต้องทาความเข้าใจถึงปัญหาทีเ่ กิดข้นึ และความต้องการของผูใ้ ช้ เพ่ือหาแนวทางของระบบ ใหม่ท่จี ะตอบสนองความต้องการของผใู้ ช้ และสามารถแก้ปญั หาท่ีเกิดขน้ึ กบั ธุรกิจไดด้ งั น้นั ขน้ั ตอนนี้ จงึ เปน็ ข้ันตอนท่ีมีความสาคัญมากทสี่ ดุ เนื่องจากผลลัพธ์ของการดาเนินงานในขน้ั ตอนการกาหนด ปญั หา กค็ ือ 3.3.1 เปา้ หมายในการทาโครงการท้ังหมด ซงึ่ จะเปน็ ทศิ ทางของการทาโครงการ 3.3.2 ขอบเขตของโครงการ ในการกาหนดปัญหาหรอื เข้าใจปัญหา จะต้องกาหนดกิจกรรมของ ระบบงานที่สามารถเปลีย่ นแปลงได้ กาหนดส่วนของระบบงานทีอ่ ยนู่ อกเหนือขอบเขตการทา โครงการ รวมท้ังข้อจากัด เง่อื นไขตา่ งๆ ของการทาโครงการ 3.3.3 จานวนเงินทนุ ทต่ี ้องใช้ในการจัดทาโครงการ รวมทง้ั วันเรม่ิ ต้นและสิน้ สุดของการทางาน ในแต่ละข้ันตอนอย่างครา่ วๆ และจานวนบุคลากรทค่ี าดว่าจะตอ้ งใชใ้ นแตล่ ะขน้ั ตอนดว้ ย สรปุ ข้ันตอนท่ี 1 : ทาความเขา้ ใจปัญหาในระบบเดิม หนา้ ที่ กาหนดปัญหา และทาความเข้าใจปัญหา บคุ ลากร ผู้ใช้ หรอื ผู้บริหาร มีหน้าทใี่ นการ ชีแ้ จงปัญหาใหแ้ กน่ กั วิเคราะห์ระบบ

3.4 ขนั้ ตอนท่ี 2 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) การศกึ ษาความเป็นไปได้ เปน็ การศกึ ษาเบื้องต้น โดยมจี ุดประสงค์เพ่ือค้นหาว่าแนวทางที่ เปน็ ไปได้ของการทาโครงการ ซ่ึงอาจมหี ลายแนวทาง ทีส่ ามารถแก้ปญั หาของระบบได้โดยเสีย ค่าใช้จา่ ยและเสียเวลาท่ีน้อยที่สุด ได้ผลลัพธ์เป็นทน่ี ่าพอใจ แนวทางตา่ ง ๆ ที่ไดเ้ สนอมาน้ีจะตอ้ งมี การพิสูจนว์ ่ามคี วามเหมาะสมหรอื เป็นไปได้ และจะต้องเปน็ ท่ยี อมรับจากผ้บู ริหารนักวเิ คราะหร์ ะบบ จะตอ้ งศกึ ษาใหเ้ กิดความชัดเจนให้ได้วา่ การแกป้ ญั หาดงั กลา่ วนนั้ มีความเปน็ ไปได้หรือไม่ โดยทวั่ ไป ในการศึกษาความเป็นไปได้ จะพิจารณาจากปัจจยั 3 ประการ คอื 1) ความเปน็ ไปได้ด้านเทคนิค (Technically Feasibility) 2) ความเป็นไปไดด้ า้ นการปฏิบตั ิ (Operational Feasibility) 3) ความเป็นไปได้ดา้ นการลงทุน (Economic Feasibility) 3.4.1 ความเปน็ ไปไดด้ ้านเทคนคิ (Technically Feasibility) การศกึ ษาความเปน็ ไปได้ดา้ นเทคนิค หรอื ด้านเทคโนโลยี จะทาการตรวจสอบวา่ ภายใน องค์กรมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์ อุปกรณ์ต่อพ่วง รวมทั้งเครื่องมืออ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องหรือไม่ จานวนเท่าใด เพียงพอหรือไม่ ถ้ามี สมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในระดับใด ถ้าไมม่ ี จะซอ้ื ได้ หรอื ไม่ ซ้อื ทไ่ี หน นอกจากน้ี ซอฟแวร์จะต้องพัฒนาใหม่ หรอื ต้องซอ้ื ใหม่ เปน็ ต้น 3.4.2 ความเปน็ ไปไดด้ า้ นการปฏบิ ตั ิ (Operational Feasibility) การศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องพิจารณาดูว่า แนวทางแต่ละแนวทางที่จะใช้แก้ไขปัญหานั้น จะต้องสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบหรือไม่ เพียงใด จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อวิธีการทางานของผู้ใช้ระบบหรือไม่อย่างไรและมีความพึงพอใจ กับระบบใหม่ในระดับใด นอกจากน้ี จะต้องพิจารณาว่าบุคลากรท่ีจะพัฒนาและติดต้ังระบบมี ความรู้ความสามารถหรือไม่ และมีจานวน เพียงพอหรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอจะหาได้หรอื ไม่ และระบบ ใหม่สามารถเขา้ กนั กับการทางานของระบบที่มีอยู่ในปัจจุบนั หรอื ไม่ 3.4.3 ความเป็นไปไดด้ า้ นการลงทนุ (Economic Feasibility) การศกึ ษาความเปน็ ไปไดด้ ้านการลงทุน จะเป็นตรวจสอบเกี่ยวกบั คา่ ใช้จ่ายของโครงการ รวมทงั้ เวลาที่จะต้องใช้ในการพัฒนาระบบ โดยพิจารณาวา่ เปา้ หมายของการทาโครงการทไี่ ด้กาหนด ไว้ สามารถทาใหส้ าเร็จไดภ้ ายในวงเงนิ ท่ีกาหนดไว้หรือไม่ และหากมีการดาเนินงานโครงการในขัน้ ต่อไปทั้งหมดจนจบ จะค้มุ คา่ กับการลงทนุ หรือไม่ จะได้รบั กาไรหรือผลประโยชน์จากระบบใหม่ คุ้มค่ากับการลงทนุ หรอื ไม่ ที่จะมีการเปลย่ี นแปลงระบบ ซึ่งผบู้ รหิ ารจะตัดสินใจว่าควรจะดาเนินการ ต่อไปในข้ันตอนการวเิ คราะห์ หรอื จะยกเลิกโครงการทัง้ หมดนักวเิ คราะห์ระบบ จะตอ้ งพิจารณา ความเป็นไปไดท้ ั้ง 3 ดา้ นดงั กล่าว เพ่ือท่ีจะใช้เลอื กแนวทางการพัฒนาระบบงานทีม่ คี วามเป็นไปได้ สงู สุด ดังนัน้ ผลลัพธ์ทไี่ ดจ้ ากการศึกษาความเปน็ ไปได้ของนกั วิเคราะห์ระบบ ก็คือ การเสนอ แนวทางในการแกป้ ญั หาที่เป็นไปได้ พร้อมทง้ั การประมาณการค่าใช้จา่ ย และกาไรท่ีคาดว่าจะได้รับ รวมทั้งรายละเอยี ดอน่ื ๆ ทร่ี ะบบใหมต่ อ้ งการใช้

สรปุ ขั้นตอนที่ 2 : การศกึ ษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) หนา้ ท่ี : กาหนดปัญหา และศึกษาว่าเปน็ ไปไดห้ รอื ไมท่ ี่จะเปล่ียนแปลงระบบ ผลลพั ธ์ : รายงานความเปน็ ไปได้ เครื่องมือ : เก็บรวบรวมขอ้ มลู ของระบบ และคาดคะเนความต้องการของระบบ บุคลากร : ผู้ใช้ระบบจะมีบทบาทสาคัญในการศึกษา ผู้บริหารเป็นคนตัดสินใจว่า จะดาเนินโครงการต่อไปหรือไม่ หนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบ นกั วิเคราะห์ระบบ จะตอ้ งเกบ็ 1. รวบรวมข้อมลู ทง้ั หมดท่จี าเปน็ เกย่ี วกบั ปญั หา 2. คาดคะเนความตอ้ งการของระบบและแนวทางการแก้ปญั หากาหนดความตอ้ งการ 3.5 ข้นั ตอนท่ี 3 การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) การวิเคราะห์ระบบ เป็นข้ันตอนของการศึกษาการทางานของระบบงานเดิม เพื่อต้องการ ค้นหาว่าทางานอย่างไร ทาอะไรบ้าง และมีปัญหาใดเกิดขึ้นบ้าง หรือผู้ใช้ระบบต้องการให้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างไร เปล่ียนแปลงส่วนใดบ้างของระบบ หรือต้องการให้ระบบใหม่ทาอะไรได้บ้าง นักวิเคราะหร์ ะบบจะต้องเกบ็ รวบรวมข้อมลู ต่างๆ ขององคก์ รเพ่ือนามาจดั ทารายงานการทางานของ ระบบ ซ่ึงจะต้องใช้เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล (Fact – Gathering Techniques) โดยการศึกษา เอกสารท่ีระบบใช้งานอยู่ในปัจจุบัน การตรวจสอบวิธีการทางานในปัจจุบันด้วยการสังเกต การใช้ แบบสอบถาม การสมั ภาษณ์ผู้ใช้ และผู้บรหิ าร รวมท้ังผู้ท่ีมีสว่ นเกย่ี วข้องกบั ระบบในการเกบ็ รวบรวม ข้อมูลโดยศึกษาจากเอกสารต่างๆ ท่ีองค์กรน้ัน ใช้งานอยู่ในระบบการทางานในปัจจุบัน ได้แก่ แผนผังการบริหารบุคลากรในองค์กร คู่มือการทางาน แบบฟอร์มรายงานต่างๆ ท่ีใช้หมุนเวียนอยู่ใน ระบบ ซึ่งอาจจะทาให้นักวิเคราะห์ระบบค้นพบข้อผิดพลาดหรือข้อบกพร่อง อันเป็นสาเหตุท่ีทาให้ เกดิ ปญั หาจากระบบงานเดมิ ตัวอย่างเช่น เมื่อพนักงานขายได้รับใบสั่งซ้ือจากลูกค้า จะมีขั้นตอนการทางานอย่างไร เช่น การป้อนข้อมูลการส่ังซื้อสินค้าน้ัน ทาอย่างไร รับชาระเงินอย่างไร ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบอาจจะต้อง ไปเฝ้าสังเกตการทางานในแต่ละขั้นตอนของบุคลากรที่เก่ียวข้อง เพื่อจะให้มีความเข้าใจและเห็น ระบบการทางานจริงๆ อนั จะทาใหส้ ามารถคน้ พบจดุ สาคญั ของระบบว่าคืออะไร นอกจากน้ี นักวิเคราะห์ระบบอาจจะต้องสัมภาษณ์ผู้ใช้และผู้บริหารระบบงาน เพื่อทาให้ ทราบว่าการทางานเป็นอย่างไร ต้องการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง อะไรความไม่พึงพอใจ ความไม่ สะดวกคล่องตัวในการทางาน เน่ืองจากผู้ใช้ระบบ และผู้บริหารจะเป็นบุคคลที่มีความชานาญ ในหน้าที่ ทป่ี ฏิบัติอยู่ ซง่ึ จะสามารถให้ข้อมูลได้ตรงประเด็นทน่ี ักวิเคราะหร์ ะบบตอ้ งการ เพื่อจะใชใ้ น การออกแบบระบบต่อไป ดังน้ันถา้ นักวิเคราะห์ระบบสามารถกาหนดความตอ้ งการได้ชดั เจน ถูกต้อง การพัฒนาระบบใหม่ในข้ันตอนถัดไป ก็จะง่ายข้ึน แต่ถ้าความต้องการไม่ถูกต้อง จะทาให้ระบบที่ พฒั นาขน้ึ ใหม่ อาจลม้ เหลวเกิดความเสียหายได้ เมื่อนักวิเคราะห์ระบบเก็บรวบรวมข้อมูลความต้องการของระบบได้แล้ว อาจนาข้อมูลความ ต้องการดังกล่าว ที่รวบรวมได้มาเขียนเป็น “แบบทดลอง” (Prototype) ซึ่งอาจจะเขียนด้วย ภาษาคอมพิวเตอรต์ า่ งๆ และที่ช่วยใหง้ า่ ยข้นึ ได้แก่ ภาษายคุ ท่ี 4 (Fourth Generation Language)

โดยสามารถทาแบบทดลองมาเสนอผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้เห็นว่า ระบบใหม่ที่จะพัฒนานั้น มีการทางาน อย่างไร มีรูปแบบอย่างไร ทางานอะไรได้บ้าง ตรงกับความต้องการของผู้ใช้หรือไม่ หากยังมีสิ่งท่ีไม่ ถูกต้อง หรือไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ก็จะสามารถแก้ไขได้ทันที ก่อนการนาไปพัฒนาจริงๆ ดงั น้นั แบบทดลองจะช่วยลดความผดิ พลาดท่อี าจเกดิ ขนึ้ ได้ เม่ือดาเนินการในขั้นตอนวิเคราะห์ระบบแล้ว จะต้องมีการเขียนรายงานสรุปออกมาเป็น ข้อมูลเฉพาะปัญหา (Problem Specification) ซึ่งจะประกอบด้วยแผนภาพแสดงรายละเอียดของ ระบบ โดยแผนภาพจะอธิบายการทางานของระบบ ข้อมูลของระบบ และทิศทางการส่งผ่านข้อมูล ของระบบ ดงั นน้ั รายงานในขัน้ ตอนนี้ จะประกอบดว้ ย 3.5.1 รายละเอียดการทางานของระบบงานเดิม ควรเขยี นแผนภาพแสดงกระบวนการ ทางานของระบบพร้อมคาบรรยายแผนภาพ 3.5.2 การกาหนดความตอ้ งการ หรือเป้าหมายของระบบใหม่ โดยเขียนแผนภาพแสดง การทางานของระบบงานใหม่พร้อมคาบรรยายแผนภาพ 3.5.3 ประมาณการต้นทนุ - กาไร ในการดาเนนิ งานตามระบบใหม่ 3.5.4 คาอธิบายวิธีการทางานและการอธิบายปัญหาของระบบทล่ี ะเอียดขึ้นกว่าทจ่ี ะอธบิ าย ไวใ้ นขนั้ ตอนการกาหนดปญั หาจากข้อมลู ความตอ้ งการตา่ งๆ ของผูใ้ ช้ และผบู้ รหิ าร กจ็ ะใช้เปน็ แนวทางในการกาหนดวัตถปุ ระสงคข์ องระบบใหม่ตอ่ ไป และในข้ันตอนนี้ ผบู้ ริหารจะทาการ พจิ ารณาวา่ มีความเป็นไปได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ทวี่ างไว้หรือไม่ ถ้ามีความเปน็ ไปไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ ทว่ี างไว้ จงึ จะเร่ิมดาเนนิ การขั้นตอนถดั ไป คือการออกแบบระบบตอ่ ไป สรุป ขน้ั ตอนที่ 3 : การวเิ คราะห์ (Analysis) หนา้ ที่ : กาหนดความต้องการของระบบใหม่ (ระบบใหม่ทั้งหมดหรือแก้ไขระบบเดิม) ผลลัพธ์ : รายงานข้อมูลเฉพาะของปญั หา เคร่ืองมือ : เทคนคิ การเก็บรวบรวมข้อมลู , Data Dictionary, Data Flow Diagram, Process Specification, Data Model, System Model, Prototype, system Flowcharts หน้าที่ : นกั วเิ คราะห์ระบบต้องเขยี นรายละเอียดต่อไปน้ี 1. คาอธิบายท่วั ไปเก่ยี วกบั ระบบทใ่ี ช้อยู่ (Existing system explanation) - ข้อมลู นาเขา้ (Input) - ขน้ั ตอนการทางาน (Process) - ข้อมูลนาเสนอ หรอื ผลลัพธ์ (Output) - ทรัพยากรตา่ ง ๆ (Recourse) - บุคลากร (Personal) - สินค้าคงคลงั (Stock) - ฐานะการเงนิ (Finance state) - ความสะดวกในดา้ นตา่ ง ๆ (Facility) - ขนั้ ตอนทางด้านบญั ชี (Accounting process) 2. เอกสาร (Document of existing system) - บทสัมภาษณ์ (Interview)

- เอกสารข้อมลู (Data document) - แผนผงั เอกสาร (Document flow) - แผนผงั แสดงการไหลเวยี นของข้อมลู (Data flow diagram) - แผนผังงาน (Layout chart) - แผนผังองค์กร (Organization chart) 3. ข้อดีของระบบท่ใี ช้อยู่ 4. ขอ้ เสยี ของระบบทใ่ี ช้อยู่ 3.6 ขัน้ ตอนที่ 4 การออกแบบระบบ (System Design) การออกแบบระบบ จะเป็นการเสนอระบบใหม่ โดยท่ีนกั ออกแบบระบบจะดาเนนิ การออกแบบ ระบบใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรมเดิมท่ีมีอยู่ ออกแบบฐานข้อมูลใหม่ หรือเปลี่ยนแปลง ฐานข้อมูลเดิมที่มีอยู่ ออกแบบรายละเอียดเก่ียวกับการทางานของผู้ใช้ และจะต้องเลือกอุปกรณ์ ท่ีต้องในการติดตั้งระบบ ในการสร้างระบบใหมจ่ ะต้องใช้อะไรบา้ ง เช่น สมรรถนะและคุณสมบตั ิของ คอมพวิ เตอร์ทจี่ ะใช้ นักวเิ คราะห์ระบบต้องแนะนาดว้ ยว่าเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทจ่ี ะใชใ้ นระบบงานใหม่น้นั ควรจะซ้ือ หรอื เช่า หรือใชข้ องทม่ี ีอยูแ่ ล้ว ซอฟแวรท์ ่ตี ้องใชส้ าหรับการทางานของระบบใหม่ สามารถระบุได้วา่ ซอฟท์แวร์ใดบา้ งทีจ่ ะต้องจะตอ้ งซื้อ หรอื พัฒนาข้ึนมาเอง หากตอ้ งพฒั นาข้นึ เอง จะใชน้ ักเขียน โปรแกรมทม่ี ีอย่ภู ายในหนว่ ยงานเองหรือจะจา้ งมาจากภายนอกหนว่ ยงาน โดยทว่ั ไปในการออกแบบระบบ จะเร่ิมดาเนนิ การออกแบบกวา้ งๆ ก่อนโดยนกั ออกแบบระบบ จะนาแนวทางที่ได้ศึกษาไว้ในข้นั ตอนการศึกษาความเป็นไปได้ มาพิจารณาในรายละเอียดซึง่ จะเสนอ กระบวนการทางานของระบบใหมเ่ ฉพาะข้นั ตอนหลักๆ หรือเปลีย่ นแปลงการทางานบางอยา่ งของ ระบบเดมิ 1) กาหนดข้อมูลเข้า และข้อมลู ออก 2) งานท่จี ะเป็นจะต้องกระทา 3) ส่วนใดจะตอ้ งใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน 4) สว่ นใดทีย่ งั คงทางานด้วยมือได้ การคานวณคา่ ใช้จา่ ยทจี่ ะตอ้ งใชใ้ นโครงการใหม่ ควรเลือกแนวทางท่เี หมาะสมใหม้ ากท่ีสุด แล้วจึงจะเร่ิมดาเนินการออกแบบรายละเอียด ระบบใหม่ 1) ออกแบบฐานข้อมลู 2) ออกแบบฟอร์มสาหรบั ขอ้ มลู เขา้ (Input Form) และข้อมูลออก 3) กาหนดส่วนแสดงผลหรือผลลัพธ์ของระบบ เช่น การออกแบบรายงาน(Report Format) การออกแบบการแสดงผลบนจอภาพ (Screen Format) 4) การปอ้ นขอ้ มูล(Input) 5) การคานวณ(Calculate) 6) การเก็บขอ้ มูล (Stored)

7) การออกแบบการใชโ้ ครงสรา้ งแฟ้มขอ้ มลู (File Structure) 8) เคร่ืองมือจดั เกบ็ ข้อมลู (Storage device) 9) ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล (Process data) 10) การสารองขอ้ มูล(Backup) 11) การออกแบบโปรแกรมให้มคี วามปลอดภยั (Security) ของระบบการ 12) กาหนดจานวนบคุ ลากรทต่ี อ้ งใชป้ ฏิบตั งิ านในระบบใหม่นอกจากน้ี 13) จัดทาค่มู ืออธบิ ายขั้นตอนการทางานโดยละเอียดให้แก่ผู้ใช้ระบบ 14) การออกแบบการตดิ ตอ่ ระหว่างผู้ใช้ระบบกับเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ผลลัพธท์ ่ีจะไดจ้ ากขัน้ ตอนนี้ 1) การนาเสนอเครือ่ งคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ท่เี กี่ยวข้อง คุ 2) คุณสมบตั ิของเคร่ืองคอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณท์ จ่ี ะนามาใช้กับระบบใหม่ 3) การเตรียมฐานข้อมูล 4) งานที่ผูใ้ ชร้ ะบบต้องทา 5) แบบฟอรม์ ตา่ งๆ ทงั้ ท่เี ป็นขอ้ มลู เข้าและข้อมูลออก 6) การตดิ ต่อระหว่างผู้ใช้ระบบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ สรปุ ข้นั ตอนที่ 4 : การออกแบบ (Design) หนา้ ที : ออกแบบระบบใหมเ่ พอื่ ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใชแ้ ละฝา่ ยบรหิ าร ผลลพั ธ์ : ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ(System Design Specification) เคร่อื งมอื : พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary, แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram), ขอ้ มลู เฉพาะการประมวลผล (Process Specification ), รูปแบบข้อมูล (Data Model), รปู แบบระบบ (System Model), ผังงานระบบ (System Flow Charts), ผังงาน โครงสร้าง (Structure Charts), ผังงาน HIPO (HIPO Chart), แบบฟอร์มขอ้ มลู ขาเขา้ และรายงาน บุคลากรและหน้าที่ : 1. นกั วิเคราะห์ระบบ ตัดสินใจเลือกคอมพวิ เตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ (ถา้ ใช้) 2. นกั วิเคราะห์ระบบ เปลย่ี นแผนภาพทง้ั หลายท่ีไดจ้ ากข้ันตอนการวิเคราะห์มาเปน็ แผนภาพลาดับข้นั 3. นกั วิเคราะห์ระบบ ออกแบบความปลอดภัยของระบบ 4. นักวเิ คราะหร์ ะบบ ออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเขา้ รายงาน และการแสดงภาพบนจอ 5. นกั วเิ คราะหร์ ะบบ กาหนดจานวนบุคลากรในหนา้ ท่ตี ่างๆและการทางานของระบบ 6. ผใู้ ช้ ฝา่ ยบรหิ าร และนกั วเิ คราะห์ระบบ ทบทวน เอกสารข้อมลู เฉพาะของการออกแบบ เพือ่ ความถูกต้องและสมบรู ณ์แบบของระบบ หนา้ ท่ี 1. อธบิ ายข้อมูลนาเข้า (Input) 2. อธิบายข้อมูลทน่ี าเสนอ (Output) 3. อธิบายการประมวลขอ้ มลู (Data process) 4. อธบิ ายโครงสร้างแฟ้ม (File structure)

5. อธบิ ายรายละเอียดเก่ยี วกับขอ้ มลู และเมนู (Data dictionary and Menu design) 6. อธิบายการไหลของเอกสาร หรอื ขอ้ มูล (Data flow) 7. อธิบายวธิ กี ารควบคมุ และระบบรักษาความปลอดภยั (Security) 8. อธิบายเทคนิคพเิ ศษทนี่ ามาใชใ้ นการทางานในระบบใหม่ (Technique) 9. อธิบายการเลอื กซือ้ hardware และ software (Hardware & Software) 3.7 ขั้นตอนท่ี 5 การสร้างระบบ หรือพัฒนาระบบ (System Construction) การสรา้ งระบบ หรอื พัฒนาระบบ จะเปน็ การสร้างส่วนประกอบแตล่ ะส่วนของระบบโดยเรมิ่ เขียนโปรแกรมและทดสอบโปรแกรมพฒั นาการติดตอ่ ระหว่างผ้ใู ช้กบั ระบบและฐานข้อมูลจากข้อมูล ตา่ งๆ ของระบบ โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมตามข้อมูลที่ไดจ้ ากการวิเคราะหแ์ ละออกแบบ ระบบ ซ่งึ ควรมีการตรวจสอบผลการทางานของโปรแกรมร่วมกับนกั วเิ คราะห์ระบบเพ่ือค้นหาว่า อาจเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดขึ้นที่ใดบ้าง ในการทดสอบโปรแกรมน้ันเป็นหน้าทขี่ องโปรแกรมเมอร์ ที่จะตอ้ ง ทดสอบกบั ข้อมูลท่ีเลอื กแล้วชดุ หน่ึง ซง่ึ อาจจะเลอื กโดยผใู้ ช้ก็ได้ เพ่ือให้แน่ใจวา่ โปรแกรมจะตอ้ ง ไม่มีความผดิ พลาด ภายหลังจากการเขียนและทดสอบโปรแกรมดาเนินไปด้วยความเรียบร้อยแล้ว จะตอ้ งมกี ารเขยี นคู่มอื การใช้งาน พจนานกุ รม(Data Dictionary) ส่วนของการขอความชว่ ยเหลอื (Help) บนจอภาพ เปน็ ต้นดังนนั้ ภายหลงั จากเสรจ็ ส้ินในข้ันตอนนี้ กจ็ ะไดโ้ ปรแกรมท่ีทางานของ ระบบใหม่ คู่มอื การใช้งาน และเอกสารท่ีเก่ยี วข้องกับการใช้งานระบบใหม่ ทเี่ สร็จสมบรู ณ์พร้อม นาไปดาเนนิ การข้ันตอนต่อไปคือการติดตัง้ ระบบ สรุปขน้ั ตอนท่ี 5 : การพัฒนาระบบ (Construction) หน้าท่ี : เขยี นและทดสอบโปรแกรม ผลลพั ธ์ : โปรแกรมที่ทดสอบเรียบร้อยแลว้ เอกสารคมู่ ือการใช้ และการฝึกอบรม เครื่องมือ : เครื่องมือของโปรแกรมเมอร์ทั้งหลาย Editor, compiler, Structure Walkthrough, วิธีการทดสอบโปรแกรม การเขียนเอกสารประกอบการใช้งาน บคุ ลากรและหน้าที่ : 1. นักวเิ คราะหร์ ะบบ ดูแลการเตรียมสถานทแี่ ละตดิ ตง้ั เครื่องคอมพวิ เตอร์ (ถ้าซ้ือใหม่) 2. นักวเิ คราะหร์ ะบบ วางแผนและดูแลการเขยี นโปรแกรม ทดสอบโปรแกรม 3. โปรแกรมเมอร์เขยี นและทดสอบโปรแกรม หรือแก้ไขโปรแกรม ถา้ ซ้ือโปรแกรมสาเรจ็ รปู 4. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนทดสอบโปรแกรม 5. ทมี ที่ทางานรว่ มกนั ทดสอบโปรแกรม 6. ผู้ใช้ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จว่า โปรแกรมทางานตามตอ้ งการ 7. นกั วิเคราะห์ระบบ ดแู ลการเขยี นคมู่ ือการใช้งานและการฝกึ อบรม 3.8 ขั้นตอนท่ี 6 การตดิ ต้ังระบบ (System Implementation) การตดิ ตัง้ ระบบ จะเป็นการนาส่วนประกอบต่างๆ ท่ีไดส้ ร้างไว้ในขน้ั ตอนของการสรา้ งหรือ การพฒั นาระบบมาตดิ ตั้งเพอื่ ใชท้ างานจรงิ ในการตดิ ตง้ั ระบบสามารถทาได้ 2 วิธี คอื 3.8.1 วธิ ที ่ี 1 ตดิ ตงั้ และใชร้ ะบบใหม่ โดยควบคไู่ ปกับระบบเก่า

วิธนี ี้เป็นวธิ ที ปี่ ลอดภยั ท่ีสุดสามารถป้องกันความเสียหายจากการทางานทผี่ ิดพลาด ของระบบใหม่ได้ แต่กเ็ ปน็ วธิ ีทเี่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยมากและผู้ใช้กไ็ ม่ชอบทางานซา้ ๆ ในขณะเดยี วกัน 3.8.2 วิธีที่ 2 ปรบั เปลยี่ น (Conversion) ไปใชร้ ะบบใหม่โดยหยดุ ทางานระบบเก่า ซึง่ วิธนี ี้ มีความเส่ียงสูงมากตอ่ การเกดิ ความเสยี หาย ถา้ ระบบใหม่เกดิ ทางานผดิ พลาดข้ึน และความผดิ พลาดน้ัน กเ็ กดิ ขึ้นได้งา่ ย เพราะผใู้ ชย้ ังไมช่ ินกับการทางานกบั ระบบใหม่นอกจากน้ี จะตอ้ งมีการฝึกอบรมผ้ใู ช้งานใหม้ คี วามเข้าใจ สามารถใชง้ านและทางานไดโ้ ดยไมม่ ีข้อผดิ พลาดหรือ ปัญหาใดๆ การเขยี นข้ันตอนการปฏิบตั ิ กาหนดการในการติดต้ังว่างานไหนควรทาเม่ือไร และใช้เวลา เท่าไร และการสรา้ งศนู ย์ควบคุมการทางาน กาหนดบุคคลหรือกลุ่มบุคคลทีร่ ับผิดชอบ การกาหนดผู้ มอี านาจในการเปลย่ี นแปลงที่จาเปน็ ตอ้ งกระทากบั ระบบใหม่และการเขยี นรายงานแจง้ ให้ผู้ทีได้รบั ผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลงน้ีทราบภายหลังขั้นตอนน้ดี าเนินการเปน็ ผลสาเรจ็ และผใู้ ช้มคี วาม เข้าใจสามารถทางานกับระบบใหมไ่ ด้อยา่ งชานาญแลว้ กถ็ ือไดว้ ่าโครงการพัฒนาระบบน้ี ไดก้ ระทา สาเรจ็ แลว้ ซึ่งต่อไปจะเปน็ ข้นั ตอนของการประเมินผลการทางาน และการบารงุ รกั ษาระบบ 3.8 ข้นั ตอนท่ี 7 การประเมินผลและการบารงุ รักษาระบบ ( Post – implementation reviews and maintenance) การประเมินผลและบารุงรักษาระบบ เป็นข้นั ตอนสดุ ท้ายของการพัฒนาระบบ ภายหลังขัน้ ตอน การตดิ ตัง้ ระบบและมกี ารใช้งานระบบใหม่มาเป็นเวลาพอสมควร จะต้องมีการประเมินผลการทางาน ของระบบ ซึ่งเป็นการตรวจสอบวา่ ระบบใหมท่ ่ตี ดิ ต้ังใช้งานนี้ โดยการศึกษาประเมินดังรายการ ตอ่ ไปนี้ 3.8.1 ศึกษาถงึ ความสามารถใชง้ านตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ สนองตอบความต้องการของผใู้ ช้ 3.8.2 ศกึ ษาผ้ใู ช้มีความพึงพอใจและยอมรับการทางานกบั ระบบใหม่มากน้อยเพียงใด 3.8.3 ศกึ ษาวา่ ระบบมปี ัญหาอุปสรรคอยา่ งไร โดยจะต้องกลับไปศกึ ษาวตั ถุประสงค์หรือ เปา้ หมายของโครงการท่ไี ดว้ างไว้ วา่ ระบบใหม่น้ี สามารถทางานได้บรรลุตามทต่ี ้องการหรอื ไม่ 3.8.4 การประเมนิ ผลการทางานของระบบ มักจะกาหนดไว้เปน็ แนวทางเพื่อตดั สินใจวา่ จะมี ดาเนนิ การโครงการต่อไปดงั น้ัน 3.8.4 ภายหลงั จากการประเมินผลการทางานของระบบ อาจจะมีการเสนอใหม้ ีการ เปล่ยี นแปลง ระบบบางสว่ นเพอ่ื ความเหมาะสม หรอื ในกรณเี ลวรา้ ยที่สดุ คือการเสนอให้ออกแบบ ระบบใหม่ทง้ั หมด การบารุงรกั ษาระบบนัน้ เป็นส่ิงทจี่ าเป็นทีจ่ ะต้องกระทา เพื่อขจัดข้อผิดพลาดต่าง ๆทอ่ี าจ เกดิ ขนึ้ ในระหวา่ งการทางานของระบบ และเพื่อเปน็ แนวทางในการปรบั ปรงุ ระบบใหเ้ หมาะสมกับ การทางานใหม่ การดาเนนิ การบารุงรักษาระบบ จะต้องมกี ารวางแผนระบบสารสนเทศต่างๆ เพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั เงนิ ทุนทีม่ ีอยู่ หากมีความจาเปน็ ทีจ่ ะต้องเปลยี่ นแปลงสว่ นหลกั ๆ ของระบบงานจะต้อง มกี ารดาเนินการจดั โครงการใหม่ขึ้นมา และมกี ารดาเนินการไปตามขั้นตอนต่างๆ ของวงจรพฒั นา ระบบ

ตารางที่ 3.1 สรุปวงจรการพฒั นาระบบ หน้าท่ี ทาอะไร เขา้ ใจปญั หา ศกึ ษาความเป็นไปได้ ตระหนักว่ามปี ัญหาในระบบ วเิ คราะห์ ออกแบบ 1. รวบรวมขอ้ มูล 2. คาดคะเนคา่ ใช้จ่าย ผลประโยชน์ และอื่นๆ พัฒนาระบบ 3. ตดั สินใจวา่ จะเปลีย่ นแปลงระบบหรือไม่ 1. ศกึ ษาระบบเดมิ ตดิ ตั้งระบบ 2. กาหนดความต้องการของระบบ 3. แผนภาพระบบเกา่ และระบบใหม่ บารุงรักษา 4. สรา้ งระบบทดลองของระบบใหม่ 1. เลือกซ้ือคอมพวิ เตอรฮ์ ารด์ แวร์และซอฟตแ์ วร์ 2. เปลี่ยนแผนภาพจากการวิเคราะหเ์ ป็นแผนภาพลาดับขั้น 3. คานึงถงึ ความปลอดภัยของระบบ 4. ออกแบบ Input ละ Output 5. ออกแบบไฟล์ ฐานขอ้ มลู 1. เตรียมสถานท่ี 2. เขยี นโปรแกรม 3. ทดสอบโปรแกรม 4.เตรียมคู่มอื การใช้ และฝกึ อบรม 1. นาเครอ่ื งมาติดตั้งโปรแกรม 2. เร่มิ ใช้งานระบบใหม่ 3. กรอกขอ้ มูลและทดลองใช้งาน 1. เข้าใจปัญหา 2. ศึกษาสิง่ ที่จะตอ้ งแกไ้ ข 3. ตดั สนิ ใจว่าจะแกไ้ ขหรือไม่ 4. แก้ไขเอกสาร คูม่ ือ 5. แก้ไขโปรแกรม 6. ทดสอบโปรแกรม 7. ใชง้ านระบบที่แกไ้ ขแลว้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook