บทที่3 การใช้งานอนิ เตอร์เนต็ เบอ้ื งตน้ อนิ เทอร์เน็ตเบือ้ งต้น เราอาจจะได้ความหมายของอินเตอรเ์ นต็ คือเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ แต่โดยเนือ้ แทแ้ ล้วเครอื ขา่ ย อินเตอรเ์ น็ตเปน็ ทงั้ เครอื ขา่ ยของคอมพวิ เตอรแ์ ละเครอื ขา่ ยของเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ตประกอบดว้ ยเครือข่าย ย่อยเปน็ จานวนมากที่ตอ่ เชอ่ื มเข้าหากนั ภายใตห้ ลกั เกณฑท์ เ่ี ป็นมาตรฐานเดียวกนั จนเป็นเครอื ข่ายขนาด ใหญ่ โดยใช้มาตรฐานการตอ่ เชือ่ มเดยี วกันทงั้ หมด เรยี กว่า “ทีซพี /ี ไอพี” (TCP/IP) เราจงึ กล่าวไดว้ า่ อินเตอรเ์ นต็ เป็นเครือข่ายคอมพวิ เตอรท์ ี่ตอ่ เชือ่ มถงึ กนั โดยใช้ทีซพี ี/ไอพี ความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ หรอื ทเี่ รยี กว่า ไอที (IT: Information Technology) หมายถึง ความรูใ้ นการประมวลผล จัดเกบ็ รวบรวมเรยี กใช้และนาเสนอข้อมลู ดว้ ยวิธกี ารทางอเิ ล็คทรอนิกส์ เคร่อื งมือ ทีต่ อ้ งใช้สาหรบั งานไอที คอื คอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณ์สอื่ สารโทรคมนาคมตลอดจนโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ดา้ นการส่ือสารไม่ว่าจะเป็น สายโทรศพั ท์ ดาวเทียม หรอื เคเบล้ิ ใยแก้วนาแสง เครอื ข่ายอินเตอร์เน็ต นับเปน็ เครือ่ งมอื ทสี่ าคญั อยา่ งหนงึ่ ในการประยกุ ต์ใช้ไอทีอนิ เตอรเ์ นต็ จะเปน็ ชอ่ งทางทีท่ าใหเ้ ขา้ ถึงข้อมลู ทตี่ ้องการ ภายใน เวลาอนั รวดเร็ว อินเตอร์เน็ตเปน็ แหลง่ รวบรวมขอ้ มูลแหลง่ ใหญท่ ีส่ ุดของโลกและเป็นท่ีรวมทงั้ บริการ และเครอ่ื งมอื ทส่ี าคัญอย่างหนง่ึ ใน การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศทง้ั ในระดบั บุคคลและองคก์ ร จาก ปรชั ญาของระบบเครือข่ายทมี่ ่งุ หวงั ใหม้ กี ารใช้ทรพั ยากรอยา่ งคุ้มคา่ สงู สดุ หนทางหน่งึ กค็ อื การเปดิ บรกิ ารให้ ผูอ้ ่นื ใชง้ าน ร่วมดว้ ย อนิ เตอรเ์ นต็ จงึ มศี ูนยใ์ หบ้ รกิ ารข้อมลู และขา่ วสารหลากชนดิ หากจะแยกประเภทของ การใหบ้ รกิ ารในอนิ เตอรเ์ นต็ แล้วสามารถแบ่งออกไดด้ งั น้ี 1. จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Mail or E-Mail) จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ สห์ รือทเ่ี รยี กย่อๆ ว่า E-Mail เปน็ วธิ ีตดิ ต่อสื่อสารกนั บนเครือขา่ ยอนิ เตอร์เน็ต โดยทีส่ ามารถสง่ เอกสารท่ีเปน็ ขอ้ ความธรรมดา จนถึงการสง่ เอกสารแบบมัลติมเิ ดยี ทม่ี ที งั้ ภาพและเสยี ง ใน การสง่ ผทู้ ตี่ อ้ งการส่งและรบั จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ สจ์ ะตอ้ งมี Domain name ทแ่ี น่นอน 2. การใชโ้ ปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอรอ์ ่ืน Telnet,Remote Login:rlogin การใหบ้ รกิ ารนเี้ ป็นประโยชน์ และประหยดั คา่ ใชจ้ ่าย การใชโ้ ปรแกรม Telnetทาใหส้ ามารถใชเ้ คร่อื ง คอมพวิ เตอรท์ ่ีอยูห่ ่างไกลออกไปโดยเสมือนอยทู่ ี่ หน้าเครือ่ งนัน้ ๆโดยตรง โปรแกรม Telnet อนุญาตให้ สามารถทางานบนเคร่อื งคอมพิวเตอร์อ่นื ท่อี ยบู่ นอนิ เตอร์เนต็ ได้ เชน่ โปรแกรมทม่ี ีความซับซ้อนมากๆ ใน การคานวณ ไม่สามารถทจี่ ะใชเ้ ครอ่ื งอยบู่ นโตะ๊ Pc หรอื (Work Station แบบปกต)ิ ไดต้ อ้ งส่งโปรแกรมไป ทางานบนเครื่อง Super Computer โดยใชโ้ ปรแกรม Telnet เพ่อื เช่อื มตอ่ เขา้ กับเครื่อง Super Computer 3. การขนถา่ ยแฟ้มขอ้ มลู (File Transfer Protocol) การถ่ายโอนแฟ้มขอ้ มูล หรือ FTP และโปรแกรมตา่ งๆ ทีม่ อี ยใู่ นศูนยบ์ ริการ เป็นบรกิ ารอกี ประเภท หนึง่ ของอินเตอรเ์ นต็ เครือข่ายหลายแหง่ เปิดบริการสาธารณะให้ผู้ใช้ภายนอกสามารถถ่ายโอนข้อมูล โดยไม่ ต้องป้อนรหสั ผ่านและถ่ายโอนไดโ้ ดยไมต่ ้องเสียค่าใชจ้ ่าย แฟม้ ขอ้ มลู ทีถ่ ่ายโอน มีทงั้ ข้อมลู ทวั่ ไป ข่าวสาร ประจาวนั บทความ รวมถึงโปรแกรม 4. บรกิ ารสืบค้นขอ้ มูลข้ามเครือขา่ ย เครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ ในยคุ เรมิ่ ตน้ เป็นเครอื ขา่ ยทีม่ ีคอมพวิ เตอรไ์ ม่กร่ี อ้ ยเคร่อื งตอ่ เชอื่ มกันอยู่ขนาด ของเครอื ข่าย จงึ ไมใ่ หญ่เกินไป สาหรบั การขนถา่ ยแฟม้ เพ่อื การถ่ายโอน แต่เมอ่ื อนิ เตอรเ์ น็ตขยายตัวขน้ึ มาก และมผี ใู้ ชง้ านแทบทกุ กลมุ่ การคน้ หาแฟ้มขอ้ มลู จึงยงุ่ ยากขน้ึ ด้วยเหตนุ ีจ้ งึ มกี ารพัฒนาระบบ ARCHIE อานวย
ความสะดวกชว่ ยในการคน้ หาแฟ้ม และฐานข้อมูลวา่ อยทู่ ีเ่ คร่อื งใด เพือ่ จะใช้ FTP ขอถา่ ยโอนได้ การบรกิ าร จะต้องใช้โปรแกรมArchine,Gopher,VERONICA และ WAIS 5. กลุ่มสนทนาและข่าวสาร (Usenet User News Network) Usenet ชว่ ยใหผ้ ู้ใชเ้ ครอื่ งคอมพวิ เตอร์ต่างระบบกันสามารถทจ่ี ะแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ขา่ วสารเร่อื งต่าง ๆ เชน่ การเสนอข้อคิดเหน็ อภิปรายโต้ตอบตามกล่มุ ย่อยทเ่ี รยี กว่า กลมุ่ ขา่ ว (News Group) โดยผใู้ ช้เพียงแตส่ งั่ คาสง่ั RTIN กจ็ ะสามารถอา่ นข่าว ท่ตี นเองได้บอกรบั (Subscribe) ได้ทนั ที 6. ระบบบรกิ ารสถานี (World Wide Web) เพ่ือสง่ ระบบ Multimedia ข้ามเครือข่ายเนอ่ื งจากระบบสบื ค้นขอ้ มูลแบบเดมิ สามารถส่งไดเ้ ฉพาะ ข้อมลู อักษรและตวั เลข แตเ่ น่ืองจากการเชอ่ื มโยงขอ้ มลู แบบใหม่ ๆ ท่ีเป็นข้อมูล Multimedia และการ เช่ือมโยงของ Modem เป็นข้อมลู แบHypertext/Hypermedia ซงึ่ เชอ่ื มโยงแบบกราฟกิ ท่ใี กล้เคียงกับ ธรรมชาตโิ ดยใชโ้ ปรแกรมLynx, Mosaic และ Netscape โดยท่ีโปรแกรมดังกล่าวสามารถทางานโดย ผ่าน Windows และระบบ Xwindows ของ Unix 7. สนทนาทางเครือข่าย Talk เป็นบริการสนทนาทางเครือข่ายระหวา่ งผู้ใช้สองคนโดยไมจ่ ากดั วา่ ผูใ้ ชท้ ัง้ สองกาลงั ทางาน ภายใน ระบบเดยี วกัน หรอื ต่างระบบกัน ผู้ใชท้ ง้ั สองสามารถพิมพ์ขอ้ ความโตต้ อบกันแบบทนั ทที นั ใดได้ พรอ้ ม ๆกนั ขอ้ ความทพี่ ิมพผ์ ่านแป้นพิมพ์ จะไปปรากฏบนหน้าจอของ ผ้สู นทนา การสนทนาบนเครอื ข่าย อกี รปู แบบหนง่ึ ทีแ่ พรห่ ลาย คือ IRC (Internet Relay Chart) ซึง่ เปน็ การสนทนาทางเครอื ขา่ ยเป็นกลมุ่ ได้ พรอ้ มกันหลายคน 8. ตรวจข้อมลู ผู้ใช้ เครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ตในปัจจบุ ันกาลงั ขยายตวั เปน็ ไปอย่างดใี นท่ตี า่ ง ๆ จะมผี ้ใู ช้รายใหม่เกดิ ข้นึ อยู่ เสมอ อนิ เตอรเ์ นต็ ไม่มีฐานขอ้ มลู กลางเกบ็ รายชือ่ ผใู้ ชท้ งั้ หมดนไี้ วจ้ งึ ไม่มวี ธิ ีสาเร็จรูปแบบใดทรี่ บั ประกันการ คน้ หาผู้ทเี่ ราต้องการ ติดต่อ ดว้ ย โปรแกรมเบื้องตน้ ใน Unixทีใ่ ช้ตรวจหาผ้ใู ช้ในระบบคอื Finger 9. กระดานข่าว BBS BBS หรอื Bulletin Board System เปน็ บรกิ ารข้อมลู รปู แบบหนง่ึ ทผี่ ใู้ ช้ PC โดยทวั่ ไปมักจะคุ้นเคย อยู่กอ่ นภายในอนิ เตอร์เนต็ ก็มศี ูนย์บรกิ ารหลายแหง่ ท่ีใหบ้ รกิ าร BBSแบบเดยี วกัน เราสามารถต่อเชอื่ มไปหา ศนู ย์ BBS ไดโ้ ดยใชโ้ ปรแกรม Telnet ความรู้เบื้องต้นเกีย่ วกับอินเตอรเ์ นต็ อินเตอรเ์ นต็ คือ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรข์ นาดใหญ่ทเี่ ชื่อมตอ่ กับเครื่องคอมพิวเตอรท์ วั่ โลกเข้าด้วยกัน ผใู้ ชอ้ นิ เตอร์เนต็ สามารถสือ่ สารถงึ กนั ได้ ภายในเวลาอันรวดเร็ว ช่วยประหยดั ทรพั ยากรและทส่ี าคัญ อนิ เตอรเ์ นต็ คอื คลงั สมองอันยง่ิ ใหญ่หรอื หอ้ งสมุดโลกทที่ กุ คนสามารถคน้ ควา้ หาความรขู้ อ้ มลู ขา่ วสารไดโ้ ดยไม่ ตอ้ งเดนิ ทางไปยงั แหลง่ ความรนู้ นั้ ประโยชนข์ องอินเตอร์เน็ต พอสรุปไดด้ งั น้ี 1. ด้านการศึกษา (Tele Education) สาหรบั ผทู้ ่อี ย่หู า่ งไกลจาแหลง่ ศกึ ษาหรอื ผทู้ ส่ี นใจจะ ลงทะเบียนเรยี นในตา่ งประเทศ เชน่ สหรฐั อเมรกิ า สงิ คโปร์ องั กฤษ ฯลฯ สามารถเรียนผา่ นอนิ เตอรเ์ นต็ ได้ ซงึ่ เราเรียกว่า การศึกษาทางไกล กลายเป็นทางเลอื กใหมใ่ นการศึกษาทุกระดับ ซง่ึ การศกึ ษาผา่ นทางอนิ เตอรเ์ นต็ ในปัจจบุ ันน้ี เปน็ การศึกษาแบบปฏสิ ัมพันธ์ (Interactive)สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ช่วยประหยัดเวลาและ ค่าใช้จ่าย
2. โฮมเพจกับการโฆษณา เปน็ การโฆษณาสนิ คา้ หรอื ธุรกจิ บนอินเตอรเ์ นต็ บรษิ ัท หรือห้างรา้ นทีท่ า ธรุ กิจบนดินเตอร์เน็ตจะจัดทาโฮมเพจของตนแล้วฝากไวบ้ นอนิ เตอรเ์ น็ต ทาใหก้ ารซื้อขาย และใชบ้ รกิ ารผ่าน อินเตอรเ์ น็ตเปน็ จานวนมาก การทาธรุ กิจการเงินอเิ ล็กทรอนิกส์ (E-money) การซ้อื ขายสนิ ค้า หรอื บรกิ าร ผา่ นอนิ เตอร์เนต็ จะมกี ารชาระหรอื จา่ ยเงนิ คา่ สินคา้ หรอื บรกิ ารนั้น ๆ หรอื ผา่ นบตั รเครดิตของผู้ซือ้ แต่ต้อง ระมดั ระวังเรื่อง การถอดรหสั บตั รเครดิตไปใช้แทนเจา้ ของบตั รนั้น ๆ 3. ด้านความมนั่ คงปลอดภัยของประเทศอินเตอรเ์ น็ตจะช่วยในการสอื่ สารสบื ค้นข้อมลู และใชร้ ะบบ ฐานขอ้ มลู ประวัตอิ าชญากรรว่ มกนั ได้ เชน่ การส่งข้อมลู ประวตั ิของอาชญากรรมขา้ มชาติ เป็นตน้ 4. ดา้ นธรุ กิจ (E-Commerce) โดยเฉพาะธรุ กจิ ไดม้ ีการนาอนิ เตอรเ์ นต็ เขา้ มาเปน็ อันมาก ดังตอ่ ไปนี้ 4.1 ด้านการธนาคาร (E-Banking) ธนาคารได้จดั ทาระบบออนไลนบ์ นเครอื ข่ายท่ชี ่วยให้ สามารถสอบถามยอดเงนิ และโอนเงนิ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว มีการติดต่อสือ่ สาร และมีขอ้ มูลบนเวบ็ เพจของทกุ ธนาคาร 4.2 โฮมเพจกับการโฆษณา เปน็ การโฆษณาสินคา้ หรอื ธรุ กจิ บนอนิ เตอรเ์ น็ต บริษัท หรอื ห้าง รา้ นท่ที าธรุ กจิ บนดินเตอร์เนต็ จะจัดทาโฮมเพจของตนแลว้ ฝากไวบ้ นอินเตอรเ์ น็ต ทาให้การซอ้ื ขาย และใช้ บรกิ ารผ่านอินเตอร์เนต็ เปน็ จานวนมาก 4.3 การทาธรุ กจิ การเงินอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-money) การซื้อขายสนิ คา้ หรือบริการผ่าน อินเตอรเ์ น็ต จะมกี ารชาระหรือจ่ายเงินคา่ สินค้าหรอื บริการนั้น ๆ หรือผา่ นบัตรเครดิตของผซู้ ้ือแตต่ ้อง ระมดั ระวังเรือ่ ง การถอดรหัสบัตรเครดิตไปใชแ้ ทนเจา้ ของบตั รน้นั ๆ 5. การสอ่ื สารผ่านอินเตอรเ์ นต็ เป็นประโยชนข์ ้ันพน้ื ฐานท่ีไดร้ ับจากเครอื ข่ายอนิ เตอร์เน็ต คือ อเี มล์ (E-mail : Electronic Mail) หรอื จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ชว่ ยให้ประหยดั สะดวกและรวดเรว็ อีกทั้งยงั สามารถพูดคยุ กันไดเ้ หมอื นอยใู่ กลก้ นั 6. การประชุมทางไกล (Tele Conference) เป็นการประชมุ ของบุคคลทอี่ ยหู่ ่างไกลกันคนละสถานท่ี โดยอาศยั ระบบโทรคมนาคมซงึ่ สอ่ื สารไดท้ ้งั ตวั อกั ษร เสียงและภาพพรอ้ มกัน ภัยอินเตอร์เน็ต ทุกคนคงปฏเิ สธไมไ่ ด้วา่ ส่งิ ใดกต็ ามทไี่ ด้คุณประโยชน์ก็ย่อมจะมโี ทษในตวั มันเองสงั คมมนษุ ยก์ เ็ ช่นกัน ยอ่ มมที งั้ คนดีและคนเลวปะปนกันไป อนิ เตอรเ์ น็ตถอื ไดว้ า่ เป็นสังคมมนุษยห์ นง่ึ จากเกดิ ข้นึ จากความพยายาม ทจี่ ะตดิ ต่อส่อื สารกันของมนษุ ย์โดยอาศัยเทคโนโลยอี ินเตอรเ์ น็ตเปน็ ส่อื กลางแทนที่จะเปน็ คาพูด ท่าท่าง ฯลฯ แตอ่ ินเตอรเ์ นต็ เป็นสงั คมของคนทง้ั โลกที่ไรพ้ รมแดน (Globalization) ไม่แบ่งช้ันวรรณะย่อมเป็นเร่อื งธรรมดาที่จะตอ้ งมสี ่งิ ไมด่ สี ิ่งท่ีเปน็ ภัยแอบแผงอยมู่ าก รวมทง้ั คนเลวซง่ึ ได้แกบ่ รรดามจิ ฉาชีพ อาชญากรรม (แบบไฮเทค) ไดอ้ าศยั อินเตอรเ์ น็ต เป้นที่แผงตัวและหากนิ บนความทกุ ข์ ของผอู้ ื่น ขอเสนอมมุ มองเรื่องราวอินเตอร์เนต็ ในแงล่ บเพ่อื เปน็ อุทธาหรณส์ าหรบั ผเู้ ลน่ เน็ตอยู่จะได้ ระแวดระวงั และไม่ตกเป็นเหย่อื ของโจรไฮเทคเหลา่ น้ี หลายคนคงทราบวา่ ในอนิ เตอรเ์ น็ตมสี ิ่งย่ัวยกุ ามารมณท์ สี่ อ่ ไปในทางลามกอนาจารอยู่มาก ถงึ แมจ้ ะไม่ มผี ลเสยี ที่เกยี่ วขอ้ งกบั เราโดยตรง แตก่ ม็ ีผลทางออ้ ม โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงกบั เดก็ ๆ ทเ่ี ปน็ ลูกหลานของเรา ต้อง ยอมรบั วา่ กวา่ 50 % ของผ้ชู ายทเ่ี ริม่ ใชอ้ นิ เตอร์เน็ตในครง้ั แรก ๆ มกั จะไปทอ่ งหาเวบ็ ทมี่ ีภาพนดู้ ภาพโป้ตา่ ง ๆ ซง่ึ ถา้ เปน็ การใช้เครื่องทบ่ี ้าน ท่มี ลี ูกหลานกาลังเรียนรแู้ ละพฒั นาทางด้านคอมพวิ เตอร์ กอ็ าจจะไปเขา้ เวบ็ ไซต์เหลา่ นั้น โดยไมร่ ูต้ ัว เพราะซอฟตแ์ วรห์ รอื โปรแกรมท่ีใช้ในการทอ่ งเวบ็ จะมีการเกบ็ บนั ทกึ หมายเลขที่ อยขู่ องเวบ็ ไซต(์ URL – address) เพ่ือความสะดวกในการเขา้ สูเ่ วบ็ ไซตน์ ัน้ ในครงั้ ตอ่ ไป ซึง่ หมายเลขที่อย่นู ส้ี ามารถถูกเรยี กกลบั ขนึ้ มาใชไ้ ดง้ า่ ย ๆ เดก็ ๆ อาจจะเผลอไปเรยี กเขา้ กจ็ ะเข้าสู่
เว็บไซต์ไดท้ ันที และอาจจะกลับไปดซู ้าในครงั้ ต่อ ๆ ไป หากผู้ปกครองละเลยนาน ๆ เขา้ ภาพเหล่านจี้ ะถกู ปลูกฝังในความคดิ ทาใหเ้ ดก็ อาจมีพฤตกิ รรมการแสดงออกทางเทศกับเพศตรงขา้ มทีส่ อ่ ไปในทางทผ่ี ิดและอาจ เลยไปถึงกระทาความผิดอาญาได้เม่อื โตขึน้ ภยั ประเภทนผี้ ลเสยี จงึ เกดิ ข้ึนในทางออ้ มโดยจะตกอยกู่ บั เดก็ ซึ่ง เป็นลูกหลานและครอบครวั ความเป็นมาของอินเตอรเ์ น็ต คอมพิวเตอร์แตล่ ะระบบส่วนใหญ่จะแยกทางานกนั โดยอสิ ระมีเพียงระบบคอมพิวเตอรท์ ่ตี ั้งอยู่ใกลก้ ัน เทา่ น้ันทสี่ ามารถสือ่ สารกนั ดว้ ยความเรว็ ต่า จากปญั หาและอปุ สรรคในการสอ่ื สารระหว่างเครอื่ งคอมพิวเตอร์ และความตอ้ งการในการแลกเปล่ยี นข้อมลู ขา่ วสารกัน จึงทาให้เกดิ โครงการอารพ์ าเน็ต (ARPANET) โครงการอารพ์ าเน็ตอยใู่ นความควบคมุ ดแู ลของอารพ์ า (Advanced Research Projects Agency หรือ ARPA) ซ่ึงเปน็ หนว่ ยงานย่อย ในสงั กดั กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมรกิ า อาร์พาทาหนา้ ที่ สนบั สนนุ งานวจิ ัยพ้ืนฐานท้ังทางดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยให้ทนุ สนับสนุน แก่หน่วยงานอ่ืน ๆ เช่น มหาวทิ ยาลยั และบรษิ ัทเอกชนท่ที าการวจิ ัยและพัฒนา ในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) โครงการอารพ์ าเนต็ ไดร้ ิเรมิ่ ข้นึ โดยเช่อื มตอ่ เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ระหว่างสถาบนั 4 แห่ง คอื มหาวทิ ยาลยั แคลฟิ อร์เนีย ลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลยั แคลฟิ อรเ์ นีย ซานตา บาร์บารา มหาวิทยาลยั ยูทาห์ และสถาบนั วจิ ยั สแตนฟอรด์ ซึ่งเครอื่ งคอมพวิ เตอรจ์ ากสถาบนั ทัง้ 4 แหง่ นเี้ ป็นเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ตา่ งชนดิ กัน และใช้ระบบปฏบิ ตั ิการ ท่ีแตกตา่ งกัน ตอ่ มาเครือขา่ ยอาร์พาเน็ตไดร้ ับความนยิ มอยา่ งมาก มหาวทิ ยาลยั หนว่ ยงานของรัฐและเอกชนตา่ ง ๆ ในสหรฐั อเมรกิ าไดเ้ ขา้ ร่วมเชอ่ื มตอ่ กับเครอื ข่ายนเ้ี พือ่ ประโยชน์ในการศึกษาและวิจัย ในประเทศไทยได้ตดิ ตอ่ กบั อินเตอร์เนต็ ในลกั ษณะของการใช้บรกิ ารไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยในปี พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัย สงขานครนิ ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และสถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชียได้ติดตอ่ ขอใช้ บรกิ ารจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยความรว่ มมอื ระหวา่ งไทย และออสเตรเลียซ่ึงการเช่อื มโยงในขณะนน้ั จะใช้ สายโทรศัพท์ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดจ้ ดั ต้งั เครอื ข่ายเพ่ือเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่ายยูยู เน็ต (UUNET) ของบริษทั ยยู เู นต็ เทคโนโลยี จากัด (UUNET Technologies Co.,Ltd.)ซ่ึงตง้ั อยทู่ รี่ ฐั เวอรจ์ ิเนยี ประเทศสหรฐั อเมริกาและในปเี ดียวกันนี้ สถาบนั การศกึ ษาหลายแหง่ เช่นสถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชีย มหาวทิ ยาลยั มหิดลบ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั และ มหาวิทยาลัยอสั สัมชัญ ได้ขอเช่อื มต่อเข้ากับเครือข่ายจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เรียกเครือข่ายนี้วา่ เครอื ข่ายไทยเน็ต (THAINET) ซึ่งในปจั จบุ นั เครอื ข่ายไทยเนต็ ประกอบด้วยสถาบนั การศกึ ษา 4 สถาบนั คอื สานักวทิ ยาการ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั สถาบนั เทคโนโลยีแหง่ เอเชยี มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ และมหาวทิ ยาลยั อัสสัมชญั ในปีเดยี วศนู ย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนกิ ส์และคอมพิวเตอรแ์ หง่ ชาติ (National Electronics and Computer Technology Center หรอื NECTEC) ได้จัดตั้งเครือขา่ ยไทยสารซงึ่ ต่อมาไดต้ ่อกบั เครือขา่ ยของยู ยูเนต็ และในปจั จบุ ันไทยสารไดเ้ ช่อื มโยงกบั สถาบนั ต่าง ๆ การเชอ่ื มตอ่ เข้าระบบอนิ เตอร์เนต็ การเชอ่ื มต่อเพอ่ื ใชร้ ะบบอินเตอรเ์ นต็ โดยทว่ั ไปแล้วหน่วยงานของ รัฐและสถาบันการศึกษาทงั้ ของรฐั และเอกชนจะใหบ้ ริการแก่ผ้ใู ช้ ผู้ใช้ยงั สามารถเชอื่ มตอ่ ระบบอินเตอรเ์ นต็ โดยใช้บริการขององคก์ รทเี่ รียกวา่ ผู้ใชบ้ รกิ ารอนิ เตอรเ์ น็ต Internet service provider (ISP) ซึง่ ปจั จบุ ันใน ประเทศไทยมจี านวน 18 ราย (ข้อมลู ปจั จบุ นั ศึกษาได้ จาก http://ntl.nectec.or.th/internet/index/html)
การแทนชื่อทอ่ี ยอู่ นิ เตอร์เนต็ 1. การเชื่อมต่ออินเตอรเ์ น็ตโดยตรง (Direct internet access) การเช่อื มต่ออนิ เตอรเ์ นต็ โดยตรง ผใู้ ชจ้ ะตอ้ งมคี อมพิวเตอรเ์ ครือข่ายทเ่ี ชอื่ มต่อกบั โครงขา่ ยหลกั หรอื แบ็กโบน(Backbone) โดยต้องมีอุปกรณ์ ท่ี ทาหน้าทเี่ ป็นเกดเวย์ ในการเชอื่ มตอ่ สถาบันการศึกษาท่ีอนญุ าตใหห้ น่วยงานอื่นใชเ้ ครือขา่ ยรว่ มกนั หรือผทู้ ่ี ใหบ้ รกิ ารอินเตอรเ์ น็ต การเชอื่ มตอ่ อินเตอรเ์ นต็ โดยตรงเปน็ การเชือ่ มตอ่ แบบตลอดเวลา จะเสยี คา่ ใชจ้ ่ายในกา ตดิ ต้ังค่อนขา้ งสงู แต่มีขอ้ ดีคอื การรบั -ส่งขอ้ มูล จะสามารถทาไดโ้ ดยตรงทาใหร้ บั -สง่ ข้อมลู ได้เร็วและมคี วาม น่าเช่อื ถอื 2. การเชื่อมตอ่ ผ่านโทรศัพท์และโมเดม็ (Dial-up access) การเช่อื มตอ่ อินเตอรเ์ นต็ ประเภทน้ีจะ ใช้สายโทรศัพท์ ที่ใชก้ ันตามบา้ นหรอื ท่ที างานทวั่ ไปโดยจะให้เครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งหนงึ่ ติดตอ่ เคร่ือง คอมพวิ เตอร์ในเครือขา่ ยโดยใช้อุปกรณ์แปลงสัญญาณท่เี รียกวา่ โมเดม็ เมอื่ เคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ ชือ่ มต่อกับ คอมพวิ เตอรเ์ ครือขา่ ยทใี่ หบ้ รกิ าร เช่น ISP แลว้ คอมพิวเตอร์เครอ่ื งน้ันกส็ ามารถใช้บริการอนิ เตอรเ์ น็ตเสมือน กับการตอ่ เช่อื มโดยตรง ขอ้ ดขี องการเชอ่ื มตอ่ ประเภทน้ีคอื คา่ ใช้จา่ ยจะถูกกวา่ การเช่ือมตอ่ โดยตรง เนอื่ งมาจากมกี ารเฉลย่ี ค่าใช้จ่ายในการเช่าคูส่ ายโทรศพั ทไ์ ป ยงั ตา่ งประเทศ เวลิ ด์ไวดเ์ วบ็ (World wide web หรอื www) ในช่วงแรก ๆ การบรกิ ารขอ้ มลู ข่าวสารจะสง่ ถึงกันบนโปรโตคอล telnet และใช้ ftp (file transfer protocol) เพอ่ื การแลกเปลยี่ นสง่ ไฟล์ ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1991 Tim Berners – Lee นักเขียนโปรแกรมท่ี ทางานในสถาบนั CERN ซึง่ เปน็ ห้องปฏิบตั กิ ารฟสิ กิ ส์แห่งยุโรป ท่ีประเทศสวัตเิ ซอรแ์ ลนด์ ได้พัฒนาโปรแกรม เพือ่ ใหอ้ นิ เตอร์เนต็ ใช้งานได้ง่ายขน้ึ และช่วยใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถสรา้ งเอกสารบนอินเตอร์เน็ตทเ่ี รยี กว่าเว็บเพจ ที่ สามารถเช่ือมโยง ไปยงั เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั ได้การเช่ือมโยงเอกสารนเี้ รยี กว่า ไฮเปอร์ลงิ ก์ ผู้ใชส้ ามารถเช่ือมโยงเอกสารหนง่ึ ไปยังอกี เอกสารหนง่ึ ที่อยู่ใน คอมพวิ เตอร์เคร่ืองเดียวกันหรือต่าง เครือ่ งกนั ทอี่ ยู่คนละประเทศได้อยา่ งรวดเร็ว เครือขา่ ยของเอกสารเหลา่ นปี้ ระกอบกบั เทคโนโลยีท่ีเกีย่ วขอ้ ง ใน การนาเสนอขอ้ มลู น้บี นอนิ เตอรเ์ น็ตรจู้ กั โดยทว่ั ไปว่า World Wide Web (www) หรอื W3 หรอื Web และ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีใหบ้ ริการเว็บเพจเรยี กวา่ เวบ็ ไซต์ (Web Site) เว็บเพจ (Web Pages) คอื เอกสารทเ่ี ป็นไฮเปอรเ์ ทก็ ส์ หรอื ไฮเปอร์มเี ดยี ซ่ึงไฮเปอรม์ เี ดียเปน็ สอ่ื ประสมต่าง ๆ ท่ีใชใ้ นการเชือ่ มโยงข้อมลู อาจอยู่ในรูปของขอ้ ความ ภาพกราฟฟิส ภาพเคลอ่ื นไหว หรือเสียง การสร้างเว็บเพจสามารถใชภ้ าษา Hypertext Markup Languageหรือ HTML ซ่ึงประกอบดว้ ยชดุ ของคาสงั่ ท่ี เรียกวา่ แท็ก หรอื มารก์ อัป เว็บไซต์ (อังกฤษ: website, web site หรอื site) หมายถงึ หน้าเวบ็ เพจหลายหนา้ ซ่ึงเชือ่ มโยงกนั ผา่ นทางไฮเปอรล์ งิ ก์ ส่วนใหญจ่ ัดทาข้นึ เพ่อื นาเสนอข้อมูลผา่ นคอมพวิ เตอร์ โดยถกู จัดเกบ็ ไวใ้ น เวลิ ด์ไวด์เวบ็ หนา้ แรกของเวบ็ ไซต์ทเี่ ก็บไวท้ ชี่ ื่อหลกั จะเรยี กว่า โฮมเพจ เวบ็ ไซต์โดยทว่ั ไปจะใหบ้ รกิ ารตอ่ ผูใ้ ช้ ฟรี แต่ในขณะเดียวกนั บางเวบ็ ไซต์จาเป็นต้องมกี ารสมัครสมาชกิ และเสยี ค่าบรกิ ารเพื่อทจี่ ะดขู อ้ มลู ในเว็บไซต์ นนั้ ซึง่ ไดแ้ ก่ข้อมลู ทางวิชาการ ขอ้ มลู ตลาดหลักทรัพย์ หรอื ข้อมูลสือ่ ต่างๆ ผ้ทู าเวบ็ ไซต์มีหลากหลายระดบั ตงั้ แต่สร้างเวบ็ ไซตส์ ่วนตวั จนถึงระดบั เว็บไซตส์ าหรับธรุ กจิ หรือองคก์ รต่างๆ การเรยี กดเู วบ็ ไซต์โดยทั่วไปนยิ ม เรียกดผู ่านซอฟตแ์ วร์ในลกั ษณะของ เวบ็ เบราวเ์ ซอร์
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: