Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดอกไม้

ดอกไม้

Published by chantnissara5, 2019-09-23 03:21:34

Description: ดอกไม้

Search

Read the Text Version

ค น รั ก ต้ น ไ ม ้ กกี้เมาส์.... ดอกไม้การ์ตูน ไวโอเล็ต าเอย่ ถงึ “มิกกเี้ มาส์” ทุกคนโดยเฉพาะเด็กๆ คงจะ นกึ ไปถึงการต์ ูนของวอลท์ดสิ นยี ์ ที่อาจเรียกได้วา่ เปน็ ตวั การต์ นู อมตะ ทก่ี ยี่ คุ กสี่ มยั เดก็ ๆ กจ็ ะรจู้ กั แมป้ จั จบุ นั จะมกี ารต์ นู ญป่ี นุ่ อยา่ งคติ ต้ี หรอื โดราเอมอน เขา้ มามบี ทบาท แยง่ ซีนความนา่ รัก น่านิยมไปบ้าง แตม่ กิ กเ้ี มาส์ก็ยงั ไมไ่ ด้ ลบเลอื นไปจากความทรงจำของเดก็ ๆ สว่ น “มกิ ก้ีเมาส์” ทตี่ ัง้ ใจจะพูดถงึ น้ี ไมใ่ ช่การต์ ูน แต่เป็นไม้ดอกไม้ประดับ ท่ีมีลักษณะแปลกเฉพาะตัว ไม่นา่ เชอ่ื ว่าธรรมชาตจิ ะสรา้ งสสี ันดอกไมช้ นดิ นใี้ ห้มที ัง้ สี เหลอื ง สเี ขียว และสีแดงในดอกเดียวกันได ้ น.ส.พ. กสกิ ร ปที ี่ 83 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - กมุ ภาพันธ์ 2553 83

มกิ กี้เมาส์ เปน็ ไม้พมุ่ สงู ไดถ้ ึง 3 เมตร เปลือกตน้ สนี ำ้ ตาลดำ เปน็ ตน้ ไมท้ แ่ี ตกกิ่งก้านมาก ใบเดีย่ ว ทรงรี หนา สีเขยี วเขม้ ปลาย แหลมมีหนาม ขอบใบหยกั เหมอื นฟันเลอ่ื ย กา้ นใบสนั้ ออกดอกเป็นช่อสน้ั ๆ ตามปลายกง่ิ ดอกจะบานเป็นสองช่วง ชว่ งแรกจะมีกลบี ดอกบาง สีเหลอื ง 5 กลีบ หลงั จากกลีบดอกสเี หลือง โรยไปแลว้ กลบี รองดอกระยะแรกมสี ีเขียว เม่อื กลีบสเี หลืองหลุด ร่วงไปแล้ว กลบี รองดอกจะกลายเป็นสีแดงสด ในดอกมเี มล็ด 3 - 4 เมลด็ ระยะแรกสเี ขียว เม่อื เมล็ดแกจ่ ะเปลยี่ นเป็นสดี ำ ลกั ษณะของกลีบรองดอกท่ีมีเมล็ดสีดำติดอยู่น่ีละกระมัง ท่ี ดเู หมอื นมกิ ก้เี มาส์ และเมลด็ น้ีจะใช้ในการเพาะขยายพนั ธุ์ หรอื จะ ขยายพนั ธ์ุโดยวธิ ปี ักชำกงิ่ หรือตอนก่ิงก็ได้ มิกกี้เมาส์ มชี ือ่ วิทยาศาสตรว์ ่า Ochna Kiirkii Oliv. อยใู่ น วงศ์ Ochnaceae เปน็ ไม้พน้ื เมอื งของแอฟริกา เป็นไม้ทีช่ อบแดด รดนำ้ ไมต่ อ้ งมาก ถา้ ต้องการจะปลูกไม้ดอกไมป้ ระดับ ลกั ษณะพ่มุ ที่ต้นสงู พอ สมควร มคี วามทนทาน และออกดอกตลอดทงั้ ปี มกิ กเ้ี มาส์ กน็ า่ สนใจ 84 น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 83 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - กมุ ภาพนั ธ์ 2553

เ ก็ บ ม า ฝ า ก นย์รวบรวมและ อนุรักษ์พันธุกรรม พืชพรรณไทย พรรณนยี ์ วิชชาช ู รมวิชาการเกษตรไดจ้ ัดสรา้ งสวน เฉลมิ พระเกียรติ 55 พรรษา เพ่ือน้อมเกลา้ ฯ ถวายสมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในวโรกาสทท่ี รงเจริญ พระชนมพรรษา 55 พรรษา ภายในสวนดงั กลา่ วประกอบดว้ ย 2 สว่ น คอื ศนู ย์เรียนรูก้ ารผลิตพชื ตามแนวพระราชดำริ ทฤษฎีใหม่ ซง่ึ “กสกิ ร” ไดเ้ คยนำเสนอไปแลว้ อีกส่วน หนง่ึ คือ ศนู ย์รวบรวมและอนุรักษพ์ ืชพรรณไทย ศนู ยร์ วบรวมและอนรุ กั ษพ์ ชื พรรณไทย จดั สรา้ งขนึ้ บนเนอื้ ที่ 7 ไร่ วัตถปุ ระสงค์เพื่อเกบ็ รวบรวมพนั ธุกรรมพืช นำมาปลูกรักษาไว้ในสภาพธรรมชาติ ให้เปน็ แหลง่ อนุรักษ์ น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบับท่ี 1 มกราคม - กุมภาพนั ธ์ 2553 85

และรวบรวมพันธ์พุ ชื หายากหรอื ใกลจ้ ะสูญพันธุ์ เพอื่ ให้ กลุม่ ผักพ้นื บา้ น มพี รรณไมจ้ ำนวน 94 ชนดิ เปน็ ผสู้ นใจทงั้ นกั เรียน นักศกึ ษาและประชาชนทวั่ ไป ได้เขา้ ไม้หายาก 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ ดปี ลากงั้ ผกั เฮือด มะแขว่น มาใชป้ ระโยชน์ในการศกึ ษาเรยี นรู้ ขณะเดียวกนั ยงั เปน็ การ เพ่มิ พ้ืนที่สีเขยี วใหก้ บั กรงุ เทพฯ และยังช่วยปกป้องการ และ สะแล ฉกฉวยการใช้ประโยชน์พันธ์ุพืชของไทยโดยชาวต่างชาติ กลมุ่ ไมห้ อม มพี รรณไมร้ วม 92 ชนดิ เปน็ ไมห้ ายาก ภายใต้อนุสัญญาวา่ ดว้ ยความหลากหลายทางชีวภาพด้วย 7 ชนิด ไดแ้ ก่ ข้าวหลาม จันอนิ จำปนู มณฑาดอย มะปว่ น พรรณไม้ท่ปี ลกู รวบรวมพันธุไ์ วใ้ นศนู ย์ฯ แห่งน้ี มมี ากกว่า 600 ชนิด ปลูกในลักษณะรปู แบบสวนสวยงาม โมกหลวง และอรพิม แยกพันธไุ์ มอ้ อกเป็นหมวดหมู่ ประกอบด้วย กลุม่ ผกั กลมุ่ ปาลม์ ไทย มพี ชื ตระกลู ปาลม์ รวม 29 ชนดิ เปน็ พ้นื บ้าน กล่มุ ไมห้ อม กลุ่มปาลม์ ไทย กลุ่มไม้พ้ืนเมือง ไม้หายาก 10 ชนดิ ไดแ้ ก่ กะพ้อ ค้อ ปาลม์ เจ้าเมืองถลาง กลุม่ ไม้เศรษฐกิจ กลุ่มพชื สมุนไพร และกล่มุ ไผ่ ซ่ึงมี พนั ธุ์ไมท้ วั่ ไป 563 ชนดิ และพนั ธ์ไุ มห้ ายาก 41 ชนิด ปาลม์ เจา้ เมอื งตรงั ปาลม์ นเรศวร ปาลม์ บงั สรู ย์ มะพรา้ วซอ บางชนดิ เปน็ พนั ธพ์ุ ชื หายากทใี่ กลจ้ ะสญู พนั ธ์ุ หากไมอ่ นรุ กั ษ์ พนั ธ์ุเอาไว้ อนาคตอาจสญู หายไปจากประเทศไทยได้ ลาน ปาล์มศรสี ยาม หมากเตย้ี กลุ่มไม้พื้นเมือง มพี รรณไม้รวม 121 ชนิด เป็นไม้ ไผล่ จี่ ู ไผส่ ่เี หลีย่ ม หายาก 13 ชนดิ ไดแ้ ก่ กนั ภยั มหดิ ล กาญจนกิ า คำมอกหลวง จำปีสิรินธร ตาว ทองกวาวเหลือง นิ้วมือพระนารายณ์ ประคำไก่ พระเจา้ หา้ พระองค์ พจ้ี นั่ มะคา่ แต้ มะตาด มะเลอ่ื ม กลุม่ พืชเศรษฐกิจ มีพรรณไมร้ วม 62 ชนดิ เป็น ไมห้ ายาก 3 ชนิด คอื ช้างนา้ ว เทพธาโร และยายถีบหลาน กลมุ่ พืชสมนุ ไพร มีพืชสมุนไพรรวม 102 ชนิด มพี ืชหายาก 4 ชนิด ไดแ้ ก่ การบนู เปล้าน้อย สฟี นั คณฑา และ อบเชย กลุม่ ไผ่ มไี ผท่ ี่รวบรวมไว้รวม 25 ชนดิ เช่น ไผ่ดำ ไผเ่ ลยี้ งทอง ไผล่ จี่ ู ไผส่ เี่ หลย่ี ม ไผบ่ งหวานเมอื งเลย เปน็ ตน้ นอกจากน้ียังมีพรรณไม้อื่น ๆ ทไ่ี มไ่ ด้จัดกลุ่ม แต่ ปลูกไวใ้ นบริเวณรอบสระน้ำในบริเวณสวนอีก 84 ชนิด “กสกิ ร” จะขอนำตัวอย่างพชื บางชนดิ มานำเสนอไว้ ณ ทน่ี ้ี ไผ่บงหวาน ไผ่เลี้ยงทอง ไผด่ ำ 86 น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 83 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - กมุ ภาพนั ธ์ 2553

กลุ่มผักพ้นื บา้ น ดปี ลากง้ั ดีปลาก้ัง หรือ ดีวัวดำ เป็นไม้พุ่มสูง ใบเดี่ยว มะแขว่น รปู ใบหอกหรอื รปู ใบหอกกลบั ถงึ รปู ขอบขนาน ดอก ชอ่ ดอก เกิดตามปลายก่ิง เป็นแบบช่อเชิงลดหรอื คล้ายชอ่ กระจกุ ผกั หวานบ้าน เปน็ ไมย้ นื ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถงึ 2 แยกแขนง กลบี ดอก 5 กลีบ เชอื่ มกันเป็นหลอดปลาย เมตร กงิ่ เลก็ ใบเดย่ี วรปู ไข่ ปลายแหลม ขอบเรยี บออก แยกเปน็ 5 แฉก ขนาดเล็ก สชี มพอู มมว่ งเขม้ ผลเปน็ ผล เป็นคู่ตรงข้าม ดอกมีขนาดเลก็ กลบี ดอกสีขาว กลีบรอง แบบแหง้ แตกใชใ้ บสด เปน็ ผกั จม้ิ ลาบ ยำ สา้ ราก ตม้ ดืม่ ดอกสแี ดง ออกดอกตามซอกใบ ผลกลมฉ่ำน้ำ ผิวเป็นพู แก้เบาหวาน สเี ขียวถึงขาว ห้อยอยูใ่ ตใ้ บ มะแขวน่ หรอื ชอื่ อืน่ ๆ วา่ ลูกระมาศ หมากมาศ ใบและตน้ ใช้ยางหยอดตาแก้ตาอกั เสบ รักษาแผล (กรุงเทพฯ) กำจัด กำจดั ต้น มะแขว่น (เหนือ) มะแข่น ในจมูก ราก ระงบั ความรอ้ น ถอนพิษไข้ แก้โรคคางทมู มะข่วน บา่ แข่น หมกั ขว่ ง (แมฮ่ อ่ งสอน) เปน็ ไมย้ นื ตน้ สงู ผกั หวานมคี ณุ คา่ ทางโภชนาการมากมาย มสี ารอาหารหลาย 5 - 10 เมตร มีหนามตามลำต้นและก่ิงก้าน ใบเปน็ ใบ ชนิด เชน่ โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต วติ ามนิ ซี มเี บตา้ แคโรทีน ประกอบแบบขนนกเรยี งสลบั กนั มใี บยอ่ ยประมาณ 6 - 8 คู่ แคลเซยี ม ฟอสฟอรัส และแมกนเี ซยี ม ใบมลี กั ษณะยาวรหี รือรูปขอบขนาน ฐานใบไม่เสมอกนั นิยมนำใบ และยอดออ่ นมารับประทาน โดยใช้เป็น ปลายใบเรยี วแหลม ดอก ออกเปน็ ชอ่ และกา้ นดอกยาว ผักจ้ิม ทำแกงเลยี ง ตม้ จืด หรือผดั นำ้ มันหอย เปน็ ต้น ดอกมขี นาดเล็กสีขาวอมเขียว เปน็ ดอกไม่สมบูรณเ์ พศ ผล มลี กั ษณะแห้งกลม ผิวขรุขระสนี ำ้ ตาล เมอื่ แก่ผลจะแตก จนเหน็ เมล็ดสดี ำกลม ผวิ เรียบเปน็ มัน มกี ลิ่นหอมฉนุ คล้ายผกั ชี มีรสเผ็ดเล็กน้อย แพทย์แผนโบราณใช้รากและเน้ือไม้เป็นยาขับลม ในลำไส้ ลมข้ึนเบื้องสูงทำให้หน้ามืดตาลาย วิงเวียน ลดความดัน เป็นยาขบั โลหิตระดูของสตรี เมลด็ สามารถ สกดั นำ้ มนั หอมระเหย หรือ ใช้ช่วยทำใหร้ สชาตขิ องอาหาร ดีขึ้น เชน่ ควั่ ใสล่ าบ ยังนยิ มใสใ่ นยำช้ินไก่ หลู้ แกงขนนุ แกงผักกาด มักข้ึนในป่าดิบแล้ง หรือป่าดิบเขา แหล่งที่พบ บรเิ วณภาคเหนือ โดยเฉพาะทีต่ ำบลเมอื งลี อำเภอนาหมน่ื จงั หวัดนา่ น ผกั หวานบ้าน น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบับท่ี 1 มกราคม - กมุ ภาพันธ์ 2553 87

กลมุ่ ไม้หอม จำปูน เปน็ ไม้พุ่มกงึ่ ไม้ต้น สงู 4 - 6 เมตร กง่ิ ออ่ น สเี ขยี วเข้ม เปลือกต้นสีนำ้ ตาลปนเทา ใบเปน็ ใบเด่ียว ออก เรียงสลับ รูปรขี อบขนาน ขอบใบเรียบ แผน่ ใบเรียบสเี ขยี ว เป็นมัน ด้านลง่ ใบสีอ่อนกว่า ดอก สขี าว กลิน่ หอม ออก ดอกเด่ยี วหรอื เป็นช่อ 2 - 4 ดอก ออกตรงขา้ มกับใบ ใกล้ปลายก่งิ กลีบเลี้ยงสีเขยี วเขม้ มี 3 กลีบ กลีบดอกมี 6 กลบี เรียง 2 ชนั้ ๆ ละ 3 กลีบ ผล เป็นผลกล่มุ มีผลย่อย 4 - 8 ผล ผลแก่แตกออกได้ และดดี เมล็ดกระเดน็ ไปไกล มีเมล็ด 1 - 2 เมลด็ สีดำเป็นมนั ปลกู เปน็ ไมป้ ระดบั ดอก มกี ลิ่นหอม ใช้รอ้ ยมาลัย และ ทำนำ้ หอม จำปนู โมกหลวง โมกหลวง หรอื ชอ่ื อน่ื ๆ วา่ โมกใหญ่ พดุ พทุ ธรกั ษา โมกหลวง มูกมนั น้อย มูกมนั หลวง มูกหลวง โมกเขา โมกทุง่ ซอทึ พอแก สา่ ตึ หนามเน้ือ ยางพดู เป็นไมต้ ้นขนาดเลก็ เปลือก เปลอื กตน้ แหง้ ปน่ ละเอยี ด ทาตวั แกโ้ รคทอ้ งมาน แกเ้ สมหะ ตน้ เรยี บ สนี ำ้ ตาลเขม้ มยี างสขี าวคลา้ ยนำ้ นม ใบ เปน็ ใบเดยี่ ว เป็นพิษ ปรงุ เป็นยาแก้เบาหวาน แก้ไขจ้ บั สน่ั ใบ เป็นยา ออกตรงข้ามกนั รปู รีกว้าง ปลายใบแหลม โคนใบมน ขับน้ำนม ชว่ ยระงบั อาการปวดกลา้ มเนอื้ ดอก เปน็ ยา ขอบใบเรยี บ แผ่นใบเรยี บสเี ขยี ว ด้านลา่ งมขี นละเอียด ถ่ายพยาธิ เมลด็ มรี สฝาด เป็นยาฝาดสมาน แก้ไข้ แกบ้ ดิ สขี าว ดอกออกเป็นชอ่ ท่ีปลายยอด ดอกสขี าวมีกลิ่นหอม ชว่ ยถา่ ยพยาธิในลำไส้เล็ก รกั ษาโรคผิวหนงั แก้ท้องเสยี กลบี เล้ยี งสีเขียว ดอกเชือ่ มตดิ กันเปน็ หลอดยาว ปลายแยก ราก มรี สร้อน เปน็ ยาขับประจำเดือน เปน็ 5 แฉก ผล เป็นฝักสีขาว ขัว้ ตดิ กนั เปน็ คู่ ปลายแหลม โคนฝกั แบน ฝกั แหง้ แตกออกเปน็ 2 ซกี เมลด็ แบน สนี ำ้ ตาล มีพขู่ นยาวสีขาวตดิ อยู่ เปลือกต้นมีรสขมฝาด แก้บิดมูกเลือด เป็นยา เจริญอาหาร ต้มน้ำดื่ม ช่วยระงบั อาการปวดกล้ามเนือ้ 88 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบับที่ 1 มกราคม - กมุ ภาพันธ์ 2553

อรพิม หรอื คิ้วนาง เปน็ ไม้เถาเลื้อย มีมอื เกาะ อรพมิ ใบเดยี่ ว เรียงสลบั รปู โลห่ รอื รปู ไข่กวา้ ง โคนใบมนตัด ปบี ทอง หรือเวา้ รูปหัวใจ ปลายใบจักลกึ เปน็ สองแฉกหรอื ผา่ ตลอด ทั้งแผ่นคลา้ ยใบประกอบ ปลายแฉกมนกลม หลังใบมี ขนประปราย หูใบเล็กมาก ดอกออกเปน็ ช่อกระจะสน้ั ๆ ตามซอกใบและปลายกิ่ง กลบี เลย้ี งเช่อื มติดกนั ปลาย แยกเป็น 5 กลีบ ดอกสีขาวมี 4-5 กลบี เปลีย่ นเปน็ เหลอื งนวลเมือ่ แก่ เกสรเพศผู้ 10 อัน ผลเป็นฝักรูปขอบ ขนาน เรยี วแคบ ปบี ทอง เป็นไม้ตน้ ผลดั ใบ สงู ประมาณ 10 เมตร เรือนยอดเป็นพมุ่ หนา ใบเปน็ ใบประกอบ ใบย่อยรูปไข่ ปลายใบแหลม ปบี ทองเปน็ พนั ธไ์ุ มพ้ ระราชทานเพอื่ ปลกู เปน็ ไมม้ งคลประจำจังหวัดเชียงราย ดอกสีเหลอื งอมสม้ หรือ สสี ม้ ออกเปน็ กระจุกตามก่ิง และลำตน้ กลบี เลี้ยงรปู ถว้ ย กลีบดอกเชอื่ มกนั เปน็ หลอด ปลายเปน็ แฉกสั้นๆ 5 แฉก ผลเป็นฝักยาว เมือ่ แกจ่ ะแตกออกเป็นสองซีก ขา้ วหลามดง หรอื เรียกชอ่ื อนื่ วา่ จำปีหนิ นมงัว และบอ่ ข้แี อด เป็นไม้พุ่มขนาดเลก็ ทรงพุ่มกลม โปร่ง เปลอื กตน้ สเี ทาอมดำ เนื้อไม้เหนยี ว ใบเป็นใบเดีย่ ว เรยี ง สลบั สองข้างก่ิง แผน่ ใบรูปขอบขนาน ปลายใบเรยี วแหลม โคนใบรปู ลม่ิ ข้าวหลามดง ออกดอกท่ซี อกใบ ตามลำตน้ หรือก่ิง กลบี เล้ยี งมี ขนาดเลก็ 3 กลบี กลีบดอกมี 6 กลีบเรยี งเป็นสองช้ัน ชนั้ ละ 3 กลีบ กลบี ดอกชน้ั นอกรปู หอก อวบหนา ดอกอ่อน สเี ขยี ว เม่ือบานเปลีย่ นเป็นสีเหลือง หรอื ชมพูกางออก จากกัน หรือบางพันธุ์ดอกบานแล้วเปลีย่ นเป็นสีส้มแดง เปน็ พันธ์ุท่หี ายาก ดอกมกี ลน่ิ หอมเย็น ออกดอกตลอดปี เปน็ ไม้หอมที่เติบโตช้า น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553 89

กลุ่มปาล์มไทย กระพ้อ กะพ้อ หรือ กะพ้อหนาม เป็นปาล์มกอ มักมีกาบ ปาล์มกะพอ้ ใบทไี่ มห่ ลดุ รว่ งปกคลมุ อยู่ เปน็ ไมพ้ นื้ ลา่ งของปา่ ใบ เปน็ ใบ ประกอบแบบน้ิวมอื กาบใบแยกออกจากกัน ขอบกาบ ปาลม์ เจา้ เมืองถลาง ใบมีใยหยาบๆ สานกัน ขอบกา้ นใบมีหนามรปู สามเหลี่ยม แคบๆ และงอ ใบเกอื บกลม ฉีกเป็นแฉกลึกถงึ กลางใบ ปาลม์ บงั สรู ย์ หรอื ลแี ป หรอื ปาลม์ ขา้ วหลามตดั เปน็ ปลายตดั และหยกั ไมเ่ ทา่ กนั ดอก ชอ่ ดอกตัง้ ข้ึน โคง้ และ ปาลม์ ตน้ เด่ียว ลำต้นอยใู่ ต้ดิน ใบรปู สเี่ หลยี่ มข้าวหลามตดั แผอ่ อก 2-3 ช่อ มกั ยาวกวา่ ใบ ผล ทรงกลม ขนาด 8 ปลายใบจกั เว้าเป็นซ่ี และจบี เป็นลอนตลอดความยาวใบ เซนติเมตร สสี ม้ หรือสแี ดง ขอบก้านมีหนามเล็กๆ ช่อดอกสมบูรณ์เพศ ออกระหว่าง นิยมปลูกเป็นไม้ประดับท้ังในร่มและกลางแจ้ง ซอกใบ ช่อสัน้ ผลกลม เมือ่ สุกสีน้ำตาล เป็นปาลม์ ท่ี พบ ชาวบ้านนิยมตัดใบอ่อนมาห่อข้าวเหนียวผัดใส่ถั่วขาว ในไทย มาเลเซีย และอนิ โดนีเซีย หรอื ถ่ัวดำ นำไปน่งึ ได้เปน็ ข้าวต้มมัด หรอื ตปู ๊ะ (ภาษายาวี ปาล์มศรีสยาม หรือ จักรเพชร เป็นปาลม์ แตกกอ แปลวา่ ข้าวตม้ มัดใบกะพ้อ) รับประทานเปน็ อาหารว่าง ขนาดเล็ก แตกหนอ่ อยู่รวมกันแนน่ คลมุ พน้ื ที่ และคลุม ปาลม์ เจา้ เมืองถลาง หรอื ช่ืออื่นๆ วา่ ชงิ หลังขาว ดว้ ยเสน้ ใยของกาบใบแห้ง ใบ อาจมใี บประกอบขนาด ทังหลังขาว หรือ พระยาถลาง เป็นปาลม์ ตน้ เด่ยี ว ใบรูปพดั เล็กปนอยูด่ ้วย แผน่ ใบแผ่ออก กาบใบแยกออกจากกนั ขอบใบจกั เว้าลึกครึ่งใบ แผน่ ใบแผ่กาง สเี ขยี วเขม้ ใตใ้ บ ขอบกาบใบเป็นเสน้ แห้ง สานกนั เปน็ ร่างแหคลุมก้านใบ มนี วลสขี าวปกคลุมดเู ด่นชัด ก้านใบสดี ำ ขอบก้านมีหนาม แผน่ ใบเปน็ คลื่น ปลายใบจกั ใตใ้ บสีเทาเงิน ดอก ช่อแบบ ช่อดอกแยกเพศอยู่ตา่ งต้น ออกระหวา่ งกาบใบ เป็นช่อ ชอ่ เชิงลดแผอ่ อก ออกระหว่างกาบใบ ชอ่ ดอกเพศเมีย กลมสัน้ ผลกลม เม่ือสกุ สสี ้ม แหล่งทพี่ บอยทู่ ี่จงั หวัดภเู กต็ 2-4 ชอ่ ลักษณะโคง้ ช่อดอกเพศผูล้ ักษณะโค้ง 3-4 ช่อ และสุราษฏรธ์ าน ี มขี นาดเทา่ กบั ช่อดอกเพศเมยี แตเ่ กดิ ภายหลัง พอช่อ สุดท้ายแก่ ตน้ จะตาย ผล ทรงกลม สีแดงอมสม้ อย่รู วม ปาล์มศรสี ยาม กนั แนน่ เมลด็ สดี ำ 1-3 เมล็ด ปาลม์ บังสูรย ์ 90 น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - กุมภาพนั ธ์ 2553

กล่มุ ไมพ้ น้ื เมือง กนั ภัยมหิดล กันภยั มหดิ ล เปน็ ไม้เถาเลอื้ ยเนอื้ แขง็ ขนาดกลาง อายุหลายปี กง่ิ ออ่ นสีเขียว มขี นนมุ่ ท่วั ไป ใบ เปน็ ใบ ประกอบแบบขนนก ปลายค่ี ออกสลับใบย่อย รูปรแี กม ขอบขนาน แผน่ ใบบาง ใต้ใบมีขนหนาแน่นกวา่ ด้านบนใบ ดอกออกเปน็ ชอ่ กระจายตามซอกใบและปลายกงิ่ ดอกทยอย บานจากโคนชอ่ มาปลายช่อ 4 - 6 ดอก กลบี ประดับ สีมว่ งอมเขยี ว รูปเรียวกลีบเลยี้ งสีมว่ งออ่ น โคนกลีบเชอ่ื ม ตดิ กันปลายแยก 5 แฉก ดอกรปู ดอกถ่ัว มี 5 กลบี กลีบ กลางสีม่วง กลีบคู่ข้างสีม่วงเข้มกลีบคู่ล่างสีเหลืองอ่อน โคนกลีบมีแถบสเี หลอื ง รปู สามเหลยี่ ม ผลเปน็ ฝกั รูปแถบ สนี ำ้ ตาล เม่อื แกม่ ีขนปกคลมุ เป็นไม้ประจำถน่ิ ของไทยเพียงแห่งเดียว พบตาม ปา่ เตง็ รัง ภูเขาหินปูนในภาคตะวันตก นว้ิ มอื พระนารายณ์ นิว้ มอื พระนารายณ์ เป็นไมพ้ ุ่ม เลอื้ ยเกาะ อาศยั จำปสี ริ นิ ธร พรรณไม้อ่นื หรอื ตามซอกหิน ก่งิ ออ่ น ใบออ่ นและชอ่ ดอก มขี นละเอยี ด ตอ่ มาเกลย้ี ง ใบ ประกอบแบบนวิ้ มอื เรยี งสลบั ใบยอ่ ย 7 ใบ รูปวงรีแกมขอบขนาน หรือรปู วงรีแคบ กวา้ ง 2 - 4 ซม. ยาว 8 - 15 ซม. ผวิ ใบเกล้ยี ง เปน็ มัน ดอก ช่อกระจะ รูปทรงกระบอก ออกรวมเป็นชอ่ แยกแขนงคลา้ ย ซรี่ ่มที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมากขนาดเลก็ กลีบดอก สเี หลือง ผลสด รูปทรงกลมถงึ รปู ไข่ จำปีสิรินธร เป็นไมต้ ้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สงู 20 - 25 เมตร ลำตน้ เปลาตรง ทรงพมุ่ กลมโปรง่ กลนิ่ ฉนุ เฉพาะตัว มีช่องอากาศเป็นจุดหรือขีดนนู กระจาย ใบเด่ยี ว เรยี งสลับ รูปรี ดอกเดย่ี ว สีขาวนวล ออกทซ่ี อกใบใกล้ ปลายยอด เรมิ่ แย้มและสง่ กลิ่นหอมต้งั แตพ่ ลบคำ่ ผลกลุ่ม มีผลย่อย 15 - 25 ผล ไม่มกี ้านผลย่อย พบข้ึนในป่าพรุ น้ำจืด พีจ้ นั่ หรือ ชอ่ื อนื่ ๆ วา่ ป้ีจน่ั กระพจ้ี ั่น พี้จ่ัน รปู ทรงกลม ความสงู 10 - 15 เมตร ขนาดทรงพมุ่ 6 - 8 เมตร ผวิ สมั ผสั ละเอยี ด ลำตน้ เปลอื กสนี ำ้ ตาล แตกเปน็ สะเกด็ เลก็ ๆ ใบสเี ขียว พุ่มทึบ ผลดั ใบ ดอกมสี ขี าวปนม่วง กลบี รอง พจ้ี ัน่ ดอกสมี ว่ งเข้มเกือบดำ น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบับท่ี 1 มกราคม - กมุ ภาพันธ์ 2553 91

หนาด เปน็ ไมท้ ี่เช่อื กันวา่ สามารถไล่ หรอื ป้องกัน ผีได้ หน้าบ้านคนอีสาน คนไทยพวน นิยมปลูกหนาดไว้ ใช้เพื่อกนั ผี เอาไปทำนำ้ มนต์ นำไปประพรมให้ววั ควาย กนั ผี และปลกู เอาไว้ใชท้ ำยา ใบหนาดมกี ลนิ่ ฉนุ มสี รรพคณุ ในทางยาหลายประการ เชน่ ใช้ใบหนาดต้มนำ้ อาบให้แมล่ ูกหลังคลอด รวมทั้ง ให้แม่ลูกอ่อนด่มื กนิ เพือ่ บำรุงเลอื ด และขบั นำ้ คาวปลา ใบหนาดยงั เปน็ สมนุ ไพรชว่ ยลดการอกั เสบของผิวหนงั ใบหนาดมนี ำ้ มนั หอมระเหยชว่ ยกระตนุ้ ระบบประสาท และระบบหายใจ และยังสามารถนำมามวนยาสูบแก้หดื แก้หลอดลมอักเสบ รกั ษาริดสดี วงจมูก ช้างนา้ ว หนาด ยายถีบหลาน กล่มุ พชื เศรษฐกจิ ชา้ งน้าว หรอื ช่ืออนื่ ๆ วา่ กระแจะ กำลังช้างสาร ขมิน้ พระตน้ แงง่ ช้างโนม้ ชา้ งโหม ตาเหลอื ง หรือฝน่ิ เป็นไมย้ ืนต้นขนาดเล็ก มกี ารผลดั ใบ บริเวณปลายก่งิ มี กาบค่อนข้างแขง็ ปลายแหลม ใบเปน็ ใบเด่ยี ว เรยี งสลบั รูปใบหอกกลบั แกมรูปขอบขนาน ปลายใบแหลม หรือมน โคนใบสอบแหลม แผน่ ใบเรียบ ดอกออกเปน็ ชอ่ เปน็ กระจกุ ทปี่ ลายกง่ิ 2-8 ดอก รปู ดอกขนานโคง้ งอไปหาปลาย สเี ขยี วนวล กลีบดอก 5 - 10 กลีบ สเี หลอื ง เมลด็ มีสเี ขยี ว ผลทรงกลม เมือ่ แก่มีสดี ำมนั ยายถบี หลาน หรอื ยมหิน หรือ ยายจงู หลาน เปน็ ไมพ้ ่มุ ขนาดเล็ก สูง 1 - 3 เมตร ก่งิ กา้ นเป็นเหล่ยี ม คมสเี่ หลยี่ ม ยาวเรยี ว ตงั้ ตรง ขนึ้ จากพน้ื ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั กนั แผน่ ใบรปู ขอบขนาน ปลายใบแหลม กา้ นใบสน้ั หใู บ ขนาดเล็กมากอยูที่โคนกา้ นใบ ชอ่ ดอก ออกตามซอกใบ ดอกแยกเพศอยูต่ น้ เดยี วกนั มแี ต่กลบี รองดอก จำนวน 6 กลบี มีเกสรตวั ผู้ 3 อัน ดอกเพศเมยี มีรงั ไข่ รปู กลม ทอ่ รงั ไขป่ ลายแยกเปน็ 3 แฉก ปลายมว้ นลง ผล เปน็ กระเปาะ 3 พู ขนาดเลก็ แก่แล้วแตก ใบต้ม นำ้ อาบใหเ้ ดก็ ทารก ป้องกนั โรคติดเช้อื ในทารกแรกเกิด ยอดอ่อนรับประทาน เป็นผัก 92 น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบับที่ 1 มกราคม - กมุ ภาพันธ์ 2553

กลมุ่ พชื สมนุ ไพร เปล้าน้อย หรือ เปลา้ ทา่ โพ (ภาคอีสาน) เปน็ ไมพ้ มุ่ แตกกงิ่ กา้ นตงั้ แตโ่ คนตน้ เปลอื กสนี ำ้ ตาลปนเทา ใบเปน็ ใบ เดยี่ วเรยี งสลบั รปู ยาวรี ปลายใบแหลม โคนใบเรยี ว สเี ขยี วเขม้ เปน็ มนั ขอบใบจกั เปน็ ซฟี่ นั ดอก ออกดอกเปน็ ชอ่ ขนาดเลก็ ตามซอกใบ ดอกสีขาวนวล แยกเพศอยูใ่ นดอกเดยี วกัน ผลรูปทรงค่อนขา้ งกลม แบง่ เปน็ 3 พ ู เปลอื กและใบ รกั ษาโรคทอ้ งเสยี บำรงุ โลหติ ประจำเดอื น รกั ษาโรคผวิ หนงั ดอก เปน็ ยาขบั พยาธิ ผล ตม้ นำ้ ดม่ื ขบั หนอง ให้กระจาย ใบ มีสารสำคญั ออกฤทธ์ิ คือ “เปลาโนทอล” เปล้าน้อย สามารถรกั ษาแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ ไดด้ ี ขอบชะนาง หรือ หนอนตายหยากขาว หนอนขาว หญ้าหนอนตาย หญ้ามกู มาย เปน็ ไมล้ ม้ ลกุ จำพวกหญา้ เลอ้ื ยแผไ่ ปตามดนิ แตย่ อดจะตงั้ ขนึ้ ใบเปน็ ใบเดยี่ ว ออกสลบั รปู ปลายหอก ใบสมี ว่ งอมแดง ดอกขนาดเลก็ ออกเปน็ กระจกุ ระหวา่ งซอกใบ และกง่ิ เปน็ ไมท้ ชี่ อบขนึ้ ตามเรอื กสวน รมิ รอ่ ง ตามพ้นื ทรี่ ่มเยน็ สรรพคณุ ใชท้ ั้งต้นนำมาป้ิงไฟชงกับนำ้ เดือด ใชข้ ับ พยาธใิ นเด็ก ตน้ สด ใช้ตำเปน็ ยาใช้ฆา่ หนอน แมลง ใน ววั ควายทเ่ี ปน็ แผล หนอนจะตาย และรกั ษาแผลไปพรอ้ มกนั เปลอื กของตน้ นำมาสกดั น้ำมนั ใชท้ ารดิ สีดวง หรอื ตม้ ขอบชะนาง ผสมเกลอื ใช้รักษาโรครำมะนาดได้ ขล่ ู ขลู่ เป็นไม้พุ่มขนาดเลก็ สงู ไดถ้ งึ 2 เมตร แตกกงิ่ กา้ นมาก ใบมกี ลน่ิ ฉนุ ใบขนาดเลก็ รปู ไขก่ ลบั ปลายใบแหลมมตี งิ่ ส้นั ๆ ขอบใบจกั เปน็ ซีเ่ ล่ือย ออกดอกเปน็ ชอ่ ตามงา่ มใบ ดอกเปน็ ฝอยสขี าวนวล หรอื มว่ ง สรรพคณุ ใชท้ ง้ั ตน้ ตม้ นำ้ ดมื่ ใชร้ กั ษาอาการ ขดั เบา ปัสสาวะพกิ าร ขบั ปัสสาวะ หรือใชร้ กั ษา โรคตอ่ มน้ำเหลอื ง โรคเบาหวาน ริดสดี วงทวาร หรือขูดเอาแต่ผิวต้นผสมกบั ยาสูบ นำมามวนสูบ รกั ษารดิ สีดวงจมกู ว่านกาบหอยใหญ่ วา่ นกาบหอยใหญ่ หรอื เรียกชอ่ื อ่ืนว่า วา่ นหอยแครง เปน็ ไมล้ ้มลกุ ขน้ึ เป็นกอ ลำตน้ อวบ สนั้ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปแถบ ปลายใบแหลม โคนใบแผเ่ ป็นกาบหุ้มลำตน้ ใบหนา หลงั ใบสี เขียวเข้ม ท้องใบสีม่วงอมแดง ดอกออกตามซอกใบ ดอกสขี าว ใบประดบั รปู หัวใจ สมี ว่ งแกมเขียว กลีบดอกมี 3 กลีบ น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบับที่ 1 มกราคม - กมุ ภาพันธ์ 2553 93

อบเชย หรือ ชอื่ อนื่ ๆ วา่ พะแว โมงหอม ระแวง อบเชย มหาปราบ ขนนุ มะแดง เชียกใหญ่ จวงดง เฉียด ปริแวง ฝนแสนห่า สมลุ แวง แลงแวง เปน็ ไมต้ ้น ใบ เปน็ ใบเดย่ี ว ประโยชนต์ อ่ ไป พรอ้ มสนบั สนนุ พนั ธุไ์ ม้เพื่อการศึกษาวจิ ยั ออกเรียงตรงข้ามกัน รูปรี ขอบขนาน โคนใบแหลม ดา้ นพัฒนาพนั ธุ์พชื และรวบรวมพนั ธุ์พืชที่จดั อยู่ในกลมุ่ ปลายใบมน ขอบใบเรยี บ แผ่นใบเรยี บสเี ขียว เน้ือใบหนา ทต่ี ้องอนุรกั ษ์ และช่วยสรา้ งจิตสำนึกในการอนรุ ักษใ์ ห้ เสน้ ใบออกจากโคนใบ 3 เส้น ยาวไปถงึ ปลายใบ ดอก เยาวชน รวมทง้ั เผยแพร่ความรแู้ กผ่ ู้สนใจทั่วไปดว้ ย ออกเป็นชอ่ แบบแยกแขนง ใกลป้ ลายยอด ชอ่ ดอกยาว สวนเฉลมิ พระเกยี รติ 55 พรรษา ต้ังอยู่ในบรเิ วณ 20 - 25 ซม. ดอกเล็กสเี หลอื ง กลบี รวมโคนเชือ่ มติดกัน เกษตรกลางบางเขน เสน้ ทางลดั จากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ปลายแยกเป็นแฉก 6 แฉก เกสรตัวผู้ ทีส่ มบรู ณม์ ี 9 อัน ออกถนนพหลโยธนิ ทางซอยพหลโยธิน 45 เปดิ ให้ผู้สนใจ เรยี งเปน็ 3 วง ผล รูปทรงคอ่ นขา้ งกลม ยาว 7 - 12 มม. เขา้ เยยี่ มชม และศกึ ษาเรยี นรพู้ รรณไมต้ า่ งๆ ในศนู ยร์ วบรวม ต้น เปลอื กตม้ น้ำ ดื่มแก้อกั เสบ อาหารไมย่ อ่ ย แก้ท้องเสีย และอนุรกั ษ์พชื พรรณไทย และศนู ย์เรยี นรกู้ ารผลิตพืชตาม ขับพยาธ ิ แนวพระราชดำริทฤษฎใี หม่ทกุ วนั เมื่อพันธ์ุไม้หายากในแปลงมีความสมบูรณ์พร้อม กรมวชิ าการเกษตรจะดำเนนิ การขยายพนั ธดุ์ ว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ อาทิ เพาะเมลด็ ปักชำ ตอนกิง่ และแยกหนอ่ เพ่ือรกั ษา พันธุ์ไม้หายากไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้และใช้ 94 น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553

เ ค รื่ อ ง จั ก ร ก ล เ ก ษ ต ร ไถกลแคบบร่ือฟบงไาถขงหุดแัวมลหันะมตสูเอำพปซ่ือะังหกขลา้าังรว ารพัฒนาเครื่องขุดมันสำปะหลังให้สามารถใช้งาน ไดอ้ ยา่ งเอนกประสงค์ ทง้ั สำหรบั การขดุ มนั สำปะหลงั และการไถกลบฟางและตอซังข้าว เพ่ือเป็นการแกป้ ญั หา เครอื่ งขดุ มนั สำปะหลงั ทม่ี ชี วั่ โมงการทำงานตอ่ ปตี ำ่ ทำใหม้ ี ระยะเวลาคนื ทนุ ในการลงทนุ นาน ซงึ่ เปน็ ขอ้ จำกดั สว่ นหนงึ่ ที่ทำให้การใช้งานเคร่ืองขุดมันสำปะหลังไม่แพร่หลายทั้งที่ ชว่ ยแกป้ ญั หาการขาดแคลนแรงงาน ชว่ ยเพิม่ อนิ ทรียวตั ถุ ในดิน และลดปัญหาการเผาฟางและตอซังข้าวท่มี ีผลตอ่ สภาพแวดล้อม เนือ่ งจากเง่อื นไขข้อจำกัดเกีย่ วกบั สภาพพืน้ ที่ ชนดิ และความชนื้ ของดนิ และปรมิ าณอนิ ทรยี วตั ถคุ งเหลอื บนดนิ น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบับท่ี 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553 95

และความต้องการขุดมันสำปะหลังและการไถกลบฟาง และ ตอซงั ขา้ วในนามคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งมาก คอื การขดุ มนั สำปะหลังดำเนินการในสภาพดินรว่ น รว่ นปนทราย ถงึ ทราย ทำการเก็บเกย่ี วขณะดินมคี วามช้ืนต่ำถงึ แหง้ และ ตอ้ งการเพียงเพอ่ื ขดุ และยกหัวมันสำปะหลงั ใหล้ อยข้ึนมา หรืออาจต้องการให้มีการย้ายออกทางด้านข้างเพ่ือให้ สามารถทำการขดุ มนั สำปะหลงั ไดอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง ในขณะทดี่ นิ นาสว่ นใหญเ่ ปน็ ดนิ เหนยี ว การไถเตรยี ม ดนิ ตอ้ งทำในสภาพทมี่ คี วามชน้ื ระดบั หนง่ึ หากดนิ มคี วามชน้ื นอ้ ยหรอื แหง้ เกนิ ไปจะมีความแขง็ มาก ยากต่อการไถ และ ตอ้ งการการพลกิ ดนิ ในลักษณะพลกิ กลบให้ไดม้ ากท่ีสดุ ดังน้ันการวิจัยและพัฒนาจึงมุ่งเน้นในลักษณะ การใช้ช้ินสว่ นรว่ มกันให้ได้มากทส่ี ุด หรอื มีการปรับเปล่ียน เฉพาะชิ้นส่วนอปุ กรณ์สำคัญ ผลการดำเนินงานพบว่ามีความเป็นไปได้ในการ ปรับใช้เครื่องขุดมันสำปะหลังเพ่ือการไถกลบตอซังและ ฟางข้าวในนา โดยการใชโ้ ครงไถร่วมกนั ด้วยการออกแบบ ให้คานของผาลขุดยาวกว่าปกติและเปลี่ยนเฉพาะส่วน ของปีกไถ เครื่องท่ีพัฒนาแล้วดังกล่าวมีความสามารถใน การทำงาน 0.81 ไร่/ช่วั โมง ประสิทธภิ าพการทำงาน 95% ส้ินเปลอื งน้ำมันเช้อื เพลิง 3.3 สติ ร/ไร่ และเปอรเ์ ซ็นต์ การไถกลบฟางและตอซงั ขา้ ว 85% ดกี ว่าการไถกลบด้วย ไถผาล 7 (28%) ขอ้ สำคัญทคี่ วรระวังคอื ต้องทำการไถ ในสภาพดนิ มีความช้นื ช่วง 5 - 10% (wb) ที่ต้องกำหนดความชื้นของดินในช่วงดังกล่าว เน่ืองจากถ้าดินช้ืนเกินไปจะเกิดดินเกาะติดผาลมากและ หากดนิ แหง้ เกินไปจะไม่สามารถไถได้ 96 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ี่ 83 ฉบับท่ี 1 มกราคม - กมุ ภาพนั ธ์ 2553

เ ก ษ ต ร น่ า ร ู้ ถวั่ เหลืองพันธุเ์ ชียงใหม่ 5 ารจดทะเบียน คุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ กองคุ้มครองพันธพุ์ ืช กรมวิชาการเกษตร ายคมุ้ ครองพนั ธพุ์ ชื กองคมุ้ ครองพนั ธ์ุพชื กรมวิชาการเกษตร มหี น้าทีเ่ กยี่ วกบั การดำเนินการจดทะเบียนคุ้มครอง พันธ์ุพืชใหม่ จดทะเบียนพันธพ์ุ ชื พนื้ เมืองเฉพาะถนิ่ กำกับดแู ลคมุ้ ครองสทิ ธปิ ระโยชน์ นักปรับปรงุ พันธ์พุ ชื และ ชมุ ชน ให้เป็นไปตามพระราชบัญญตั ิคุ้มครองพนั ธพ์ุ ชื พ.ศ. 2542 ตลอดจนดำเนนิ งานดา้ นวชิ าการ ประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ และประสานงานกบั หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องทั้งภายในและตา่ งประเทศ เพอื่ สนบั สนุนงานดา้ นการคมุ้ ครองพันธุ์ พชื ใหม่และพนั ธ์พุ ืชพื้นเมอื งเฉพาะถ่นิ หลกั การของพระราชบัญญตั ิคุ้มครองพันธ์พุ ชื พ.ศ. 2542 มีเจตนารมณ์เพื่อส่งเสรมิ และสรา้ งแรงจงู ใจให้มี การพัฒนาและปรับปรงุ พนั ธุ์พืชใหม่ ๆ ภายใต้ความปลอดภยั ทางชวี ภาพ ดว้ ยการให้สิทธคิ ุ้มครองตามกฎหมาย รวมทง้ั เป็นการส่งเสรมิ การอนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์พันธ์ุพืชพนื้ เมืองและพันธุพ์ ืชป่า รวมถึงการสนับสนุนกระต้นุ ให้ชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชนใ์ นทรพั ยากรพนั ธกุ รรมพชื อย่างยง่ั ยนื น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบับที่ 1 มกราคม - กมุ ภาพนั ธ์ 2553 97

พนั ธุพ์ ชื ใหมต่ าม พ.ร.บ. คุ้มครองพันธ์พุ ชื 2542 กลว้ ยไมส้ กลุ หวายพนั ธุ์ไลพงิ ค ์ ชนิดพืชท่ีประกาศเป็นพันธ์ุพืชใหม่ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองพนั ธุพ์ ืช พ.ศ. 2542 รวม 50 ชนิด ได้แก ่ 1. ขา้ ว 2. อ้อย 3. มะมว่ ง 4. กล้วยไม้สกลุ หวาย 5. หญา้ แฝก 6. โปย๊ เซียน 7. หยก 8. มะเขือเทศ 9. แตงกวาและแตงร้าน 10. แตงโม 11. มะระ 12. ผกั บุ้งจีน 13. ผักคะน้า 14. ผกั กาดกวางตุ้ง 15. ถ่ัวฝกั ยาว 16. ข้าวโพด 17. ถว่ั เหลือง 18. ถั่วเขียว 19. ส้มโอ 20. ทเุ รยี น 21. ลิ้นจ ่ี 22. ลำไย 23. มะละกอ 24. มันสำปะหลัง 25. เงาะ 26. บวั 33. พริกเผ็ดและพรกิ ยกั ษ์ หรือ พริกหวาน 27. ยคู าลิปตัส 28. ขนุน 34. ไม้ดอกสกลุ ขมิน้ (Curcuma spp.) 29. ปาล์มนำ้ มัน 30. ฟกั แฟง 35. มะนาวไทย (Citrus aurantifolia) 31. มะขาม 32. กลว้ ย (Musa spp.) 36. นอ้ ยหน่า (Annona squamosa L. และลูกผสม) 37. ส้มเขยี วหวาน (Citrus reticulate Blanceo และลกู ผสม) 38. กลว้ ยไมส้ กลุ หวายแวนดา้ (Vanda spp. และลกู ผสม) 39. ไม้ดอกสกุลหนา้ วัว (Anthurium spp.) 40. ยางพารา (Hevea brasiliensis (Willd.ex A. Juss.) Mull. Arg.) 41. บอนสี (Caladium bicolor Vent.) 42. มะเฟือง (Averrhoa carambola L.) มนั สำปะหลังพนั ธ์ุห้วยบง 80 43. ชวนชม (Adenium spp.) 44. ล่นั ทม (Plumeria spp.) แตงโมพันธด์ุ ับบลวิ เอ็มไอ 56 45. กล่มุ มะปราง (Bouea spp.) 46. แกว้ กาญจนา (Aglaonema spp.) แตงโมพันธุด์ บั บลิวเอ็มไอ 66 47. ฝร่ัง (Psidium spp.) 48. สัก (Tectona grandis L.f.) 49. กระถินณรงค์ (Acacia auriculaeformis A.Cunn. ex Benth.) 50. แตงเทศผวิ เรียบ และแตงเทศลายนนู (Cucumis melo L. cv. Cantalopenis and Cucumis melo L. cv. Reticulatus) และลกู ผสม 98 น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 83 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพนั ธ์ 2553

ชนดิ พชื และจำนวนพนั ธท์ุ ไี่ ด้รบั การจดทะเบียนพันธพ์ุ ชื ใหม่ ตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองพันธพ์ุ ืชพ.ศ. 2542 ชนดิ พืชและจำนวนพนั ธ์ทุ ไ่ี ด้รบั การจดทะเบียนพนั ธุพ์ ชื ใหม ่ ชนิดพชื จำนวนพนั ธุ ์ ชนดิ พชื จำนวนพนั ธ์ุ 1 พนั ธุ ์ 1. กล้วยไม้สกลุ หวาย 21 พนั ธ์ ุ 7. ถ่วั เหลอื ง 2. ข้าว 2 พันธ์ุ 8. มะเขอื เทศ 8 พันธ ์ุ 3. ข้าวโพด 4 พนั ธ ์ุ 9. มะระ 4 พนั ธ์ ุ 4. แตงกวา 4 พนั ธุ์ 10. มะละกอ 1 พนั ธุ์ 5. แตงโม 6 พันธ ์ุ 11. มนั สำปะหลงั 1 พนั ธ์ 6. แตงรา้ น 6 พันธ ์ุ 12. ออ้ ย 7 พนั ธุ์ รวมจำนวน 12 ชนิดพชื 65 พันธ์ ุ ข้าวพันธพุ์ ทั ลงุ มะระพนั ธซุ์ ที ี 11880092 มะระพนั ธ์ุซีที 110482-1 ออ้ ยพนั ธส์ุ ุพรรณบรุ ี 72 มะเขอื เทศพันธซ์ุ ีที 01299 มะเขือเทศพันธซ์ุ ที ี 01299 แตงร้านพนั ธุซ์ ียูไอ เบอร์ 63 แตงกวาพันธุ์เบอร์ 467 บี แตงกวาพันธ์ุเบอร์ 02024 แตงกวาพนั ธ์ุเบอร์ 02395 น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553 99

รายชื่อพืชและจำนวนพนั ธใุ์ นฐานขอ้ มูลเชอ้ื พันธุพ์ ชื ประกอบการตรวจสอบพันธ์ุพืชใหมท่ จ่ี ะได้รับความคมุ้ ครอง ชนิดพืช รายช่ือพืชและจำนวนพนั ธใ์ุ นฐานขอ้ มลู พันธุ์พืช จำนวนพันธ ุ์ จำนวนพันธ์ุ ชนดิ พชื 1. ข้าว 6,632 24. คะนา้ 4 2. มะม่วง 250 25. ผักกาดกวางตุง้ 4 3. ทุเรียน 173 26. สม้ โอ 24 4. ยางพารา 44 27. มันสำปะหลัง 421 5. อ้อย 39 28. ไมด้ อกสกุลขมิ้น 41 6. ถว่ั เขียว 632 29. มะละกอ 15 7. กล้วยไม้สกลุ หวาย 159 30. มะนาวไทย 16 ขา้ วโพดพันธุ์ทรอปปิคอลแปดแถว 8. ลำไย 68 31. ส้มเขียวหวาน 37 ข้าวโพดพนั ธ์เุ จห๊ ลหี ้าส ่ี 9. ถัว่ เขยี วผิวดำ 446 32. น้อยหน่า 8 10. ลิน้ จี ่ 93 33. มะขาม 32 มะละกอพันธก์ุ ลางดง 11. หยก 21 34. เงาะ 31 12. โปย๊ เซยี น 111 35. กลว้ ยไมส้ กลุ แวนดา้ 12 13. ถ่วั เหลือง 1,177 36. บัวอบุ ลชาติ 86 14. ข้าวโพด 66 37. ยคู าลปิ ตัส 60 15. มะระ 34 38. หนา้ วัว 59 16. ผักบ้งุ 6 39. บัวปทุมชาติ 7 17. ถั่วฝกั ยาว 15 40. กลว้ ย 50 18. แตงกวา/แตงร้าน 13 41. บอนส ี 10 19. หญา้ แฝก - 42. แก้วกาญจนา 30 20. มะเขอื เทศ 5 43. มะปราง 26 21. พรกิ เผด็ และพรกิ ยกั ษ ์ 5 44. ขนนุ 2 22. แตงโม 4 45. มะเฟอื ง 14 23. ชวนชม 10 46. ลลี าวด ี 10 รวมจำนวน 46 ชนิดพชื 11,002 พันธ์ ุ สอบถามรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี ฝ่ายคุ้มครองพนั ธ์ุพืช กองคุม้ ครองพนั ธ์พุ ืช กรมวิชาการเกษตร โทร.0-2940-7214 0-2940-7421 0-2561-4665 ขา้ วพนั ธชุ์ ัยนาท 100 น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - กมุ ภาพันธ์ 2553

เ ก ษ ต ร น่ า ร ู้ อกหูหนยู ักษ์... วชั พืชนำ้ ทต่ี อ้ งทำลาย กองบรรณาธิการ ชพชื นำ้ ทเี่ ราคนุ้ เคยกนั ดี นอกจาก จอก แหน แลว้ ยงั มีผักตบชวา ท่สี ามารถจะแพรพ่ นั ธไุ์ ด้อยา่ งรวดเรว็ จนเป็น อุปสรรคต่อการสญั จรทางน้ำ แตผ่ กั ตบชวากย็ ังสามารถนำมาใช้ประโยชนใ์ นการแปรรปู เป็นหัตถกรรม และ เฟอรน์ ิเจอร์ ที่ทำรายได้ให้กบั ชาวบา้ นไดเ้ ป็นอย่างด ี ปจั จบุ นั มวี ชั พชื นำ้ ทมี่ เี สน้ ทางคลา้ ยๆ ผกั ตบชวา คือ เริม่ แรกนำมาปลูกเพอื่ สวยงาม แตเ่ ม่อื แพร่กระจายมาก ข้ึนกลายเป็น “อันตราย” ที่หยุดได้ยาก น่ันคือ “จอกหูหนูยกั ษ”์ เป็นส่งิ ตอ้ งห้าม อนั ทจ่ี รงิ “จอกหูหนูยกั ษ”์ ไมใ่ ชพ่ ืชชนิดใหม่ที่ เพงิ่ พบ แตเ่ ปน็ พชื ทกี่ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศ ใหเ้ ปน็ สง่ิ ตอ้ งหา้ ม มใิ หม้ กี ารนำเขา้ มาในราชอาณาจกั ร ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฉบบั ที่ 14 ลงวนั ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2521 โดยเม่ือปี พ.ศ. 2521 มผี นู้ ำจอกหหู นูยกั ษ์จาก ต่างประเทศเข้ามาในราชอาณาจกั ร ในช่อื วา่ เฟริ ์นน้ำ ซาลวเิ นีย โดยนำมาปลกู เปน็ ไมป้ ระดบั แตพ่ บวา่ พชื ชนิดนแี้ พร่กระจายพันธ์อุ ยา่ งรวดเรว็ และเปน็ อันตราย ตอ่ แหลง่ นำ้ จงึ ตอ้ งหา้ มมใิ หม้ กี ารนำเขา้ มาปลกู ขยายพนั ธุ์ น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบับที่ 1 มกราคม - กมุ ภาพนั ธ์ 2553 101

จากวนั นน้ั ถงึ วนั น้ี จอกหหู นยู กั ษ์ ยงั คงดำรงชวี ติ การเจริญเติบโตของจอกหูหนูยักษ์ส่วนท่ีเห็นได้ และแพรก่ ระจายพนั ธตุ์ ามธรรมชาติ และขณะนกี้ ำลงั ระบาด ชดั เจน คอื ใบ ซ่งึ มีขนาดเลก็ ถึงขนาดใหญ่ ยาวประมาณ อยา่ งรุนแรงในหลายพืน้ ทีใ่ นอำเภอคลองหอยโข่ง และ 4 เซนตเิ มตร ใบออ่ นทเ่ี กดิ ในชว่ งทย่ี งั ไมม่ กี ารเบยี ดเสยี ด อำเภอสะเดา จงั หวดั สงขลา สว่ นในภาคกลาง พบระบาด กันจะมลี กั ษณะกลม แบน ลอยอย่ปู ริม่ น้ำ เมือ่ มีจำนวน รนุ แรงในเขอื่ นแมก่ ลอง อำเภอทา่ มว่ ง จงั หวดั กาญจนบรุ ี ประชากรเพ่ิมข้นึ หรอื กลุ่มมขี นาดใหญข่ ้ึน ขอบใบจะ ซง่ึ เขอ่ื นนที้ ำหนา้ ทร่ี ะบายนำ้ ใหพ้ นื้ ทก่ี ารเกษตร 7 จงั หวดั ม้วนขึ้น เป็นการตอบสนองตอ่ การแข่งขนั กนั เอง ดังนั้น ไดแ้ ก่ สพุ รรณบรุ ี กาญจนบรุ ี นครปฐม ราชบรุ ี สมทุ รสาคร เมื่อโตเต็มท่ีใบก็จะอยู่ในตำแหน่งแนวตั้ง อัดกันแน่น สมุทรสงคราม และเพชรบุรี นอกจากนี้ยังระบายน้ำ เปน็ เสมือนเสอื่ ผืนใหญ่ สู่แม่น้ำแม่กลอง ทำให้พบจอกหูหนูยักษ์ระบาดตลอด จอกหูหนูยักษ์มีการขยายพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพ ลำนำ้ แมก่ ลอง อำเภอท่ามว่ ง จนถึงอำเภอเมอื ง จังหวดั คอื การแตกยอดใกลจ้ ากซอกใบของตน้ เดมิ และสามารถ สมุทรสงคราม แตกออกไปไดเ้ รอ่ื ย ๆ ลำต้นหักงา่ ย สว่ นทหี่ ลดุ ออกไปก็ สามารถเจรญิ เตบิ โตเปน็ ตน้ ใหม่ได้ เจริญเตบิ โตได้ดีใน ธรรมชาติของจอกหหู นยู กั ษ์ สภาพนำ้ นงิ่ หรอื กระแสนำ้ ไมแ่ รงนกั ในสภาพทเี่ หมาะสม จอกหหู นูยกั ษ์ สามารถเจริญเติบโตเพ่ิมปริมาณเป็น 2 จอกหูหนูยกั ษ์เปน็ เฟริ ์นนำ้ มีชอ่ื วทิ ยาศาสตรว์ า่ เทา่ ใน 2 - 4 วนั และเพม่ิ มากเปน็ 2 เทา่ ใน 7 - 10 วนั Salvinia molesta D.S. Mitchell อยใู่ นวงศ์ Salviniaceae จากหนง่ึ ตน้ สามารถเจรญิ เตบิ โตปกคลมุ พนื้ ที่ 64,750 มชี อื่ สามญั ทเี่ รยี กแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ เชน่ African ไร่ในเวลา 3 เดือน น้ำหนกั สดถึง 64 ตนั ต่อไร่ ซงึ่ ใกล้ payal, giant salvinia, kariba weed, salvinia, water เคยี งกบั ผกั ตบชวา fern, salvinia จอกหูหนูยักษ์มีลักษณะคล้ายกับจอกหูหนู เป็นพืชประเภทลอยน้ำ ไม่ยึดเกาะกับดิน ไม่มี (Salvinia cucullata Roxb. Ex Bory) ซ่ึงเปน็ พืชอายุฤดู รากท่ีแท้จริง ลำตน้ ทอดยาวอยูใ่ ต้ผิวน้ำเลก็ น้อย แต่ละ เดียวทพ่ี บเห็นทวั่ ไปในหนองนำ้ ลกั ษณะใบเมอื่ แก่แตก ข้อมีใบ 1 คู่ อยเู่ หนอื ผิวนำ้ สเี ขยี ว รูปไข่ ยาวเล็กน้อย ต่างกนั ขนบนใบเปน็ เส้นเดี่ยว และสปอโรคาร์ปเปน็ และใบทส่ี ามเปลยี่ นรูปเป็นเสน้ เลก็ ๆ สนี ำ้ ตาล จำนวน พวงสั้นกระจกุ แนน่ มาก อยู่ใตน้ ำ้ ทำใหเ้ ขา้ ใจวา่ เป็นราก ใบส่วนนอ้ี าจยาว มาก แกว่งไปมาในนำ้ เปน็ การชว่ ยพยุงให้พชื ลอยน้ำ จากอดตี ถงึ ปัจจุบัน อย่ไู ด้อยา่ งมัน่ คง และเป็นทีส่ ร้างสปอร์โรคาร์ป ใบดา้ นบนปกคลมุ ด้วยขนแขง็ สขี าว แตล่ ะเสน้ ในปี 2544 มกี ารนำจอกหูหนูยักษ์มาจำหน่าย แยกออกเปน็ แขนงย่อย 4 เส้น ทีป่ ลายเชอ่ื มกันเหมือนซ่ี เปน็ สมนุ ไพรในตลาดพนั ธไ์ุ มท้ สี่ วนจตจุ กั ร เจา้ หนา้ ทจ่ี าก กรงขนาดเลก็ ขนเหล่านอ้ี าจเสยี หายหรอื เห็นไมช่ ัดเจน กรมวชิ าการเกษตรไดเ้ ขา้ ช้แี จง และกำจดั ออกไป เมอื่ ใบแก่ แตใ่ บออ่ นทไ่ี มม่ ว้ นจะเหน็ ชดั เจน ขนทมี่ โี ครงสรา้ ง ปี 2550 กรมวิชาการเกษตร โดยกล่มุ วิจัยวชั พืช พิเศษน้ีปอ้ งกนั มิให้ใบเปียกน้ำ ทำให้ไมจ่ มนำ้ ขณะทีย่ งั ไดร้ ับทุนจากกองทนุ สนับสนนุ งานวจิ ัย ทำการเฝา้ ระวงั สดอยู่ และสำรวจจอกหหู นยู กั ษ์ในประเทศไทย เป็นระยะเวลา 1 ปี ซ่ึงพบรา้ นทจ่ี ำหน่ายจอกหูหนยู ักษ์ 12 แหง่ และ ประชาชนปลูกเป็นไม้ประดับ 10 แหง่ ขณะเดยี วกันมี การศึกษาการเจริญเติบโตของจอกหูหนูยักษ์ในสภาพ เรือนทดลองท่ีเป็นบ่อซีเมนต์ พบว่ามีการเจริญเติบโต เร็วมาก โดยเพิ่มจาก 1 ต้นที่มี 9 ใบเมอื่ เรมิ่ ทดลอง เป็น 15 แขนง 82 ใบ ในสัปดาห์ที่ 2 และการควบคุมดว้ ยสาร กำจดั วชั พชื พาราควอท อตั รา 100 - 200 กรมั สารออกฤทธิ์ ต่อไร่ ผสมสารจับใบ ได้ผลในการควบคุมดีที่สุด 102 น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพนั ธ์ 2553

ในปีงบประมาณ 2552 สำนกั วจิ ยั พฒั นาการ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ เม่ือเกิดระบาดของ อารกั ขาพชื ไดร้ บั อนญุ าตใหจ้ ดั ทำโครงการเฝา้ ระวงั ศตั รพู ชื จอกหหู นูยักษ์ในแหล่งนำ้ ต่างๆ ทำใหต้ ้องทำการกำจดั ซึ่งจอกหูหนูยักษ์เป็นศัตรูพืชชนิดหนึ่งที่ได้รับอนุมัติให้ สิ้นเปลืองทง้ั แรงงาน และงบประมาณ ทำการเฝ้าระวัง โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ปอ้ งกันมใิ หศ้ ัตรู จอกหหู นยู กั ษ์มีลำตน้ ทีเ่ ปราะบาง หักงา่ ย เมอื่ พชื กกั กนั ชนดิ ทมี่ คี วามเสยี่ งสงู เขา้ มาระบาดในประเทศไทย หลุดออกไปสามารถเจรญิ เป็นตน้ ใหม่ได้ การช้อนหรือ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับศัตรูพืชกักกันท่ีอาจก่อให้ เกบ็ ออกจากแหล่งน้ำ หากไมร่ ะวังกจ็ ะหลดุ รอดไปได้ จงึ เกดิ ความเสยี หายต่อประเทศได้ กำจัดไดย้ ากกว่าผักตบชวา นอกจากน้ีในการสังเกตในธรรมชาติท่ีพบจอก พชื อนั ตราย หหู นยู กั ษข์ นึ้ ปะปนกบั ผกั ตบชวา ในบรเิ วณทม่ี จี อกหหู นยู กั ษ์ ที่โตเต็มที่ข้ึนหนาแน่น ผักตบชวาจะมีอาการใบเหลือง จอกหหู นยู กั ษ์ ทำใหน้ เิ วศนแ์ หลง่ นำ้ เปลยี่ นไปได้ คลา้ ยขาดอาหาร และใบหอ่ ม้วน ไม่ได้รับแสงเต็มท่ี บาง โดยสาเหตุต่างๆ โดยเฉพาะการเจริญเติบโต ขยายพ้นื ท่ี แหง่ มใี บเปน็ สนี ำ้ ตาล ซง่ึ เปน็ ไปไดว้ า่ ผกั ตบชวาไมส่ ามารถ ปกคลมุ ออกไปอยา่ งรวดเร็ว แทนที่พืชเดมิ แข่งขันแก่งแย่งปัจจัยจำกัดคือธาตุอาหารในแหล่งน้ำกับ จอกหหู นยู ักษ์ท่ีขึ้นอยา่ งหนาแน่น ทำให้แสงแดด จอกหหู นยู ักษ์ได้ ส่องผ่านไปยงั พื้นน้ำเบือ้ งลา่ งไม่ได้ พืชน้ำท่อี ยดู่ า้ นลา่ ง ดังนนั้ หากเปรียบเทียบในแง่ของความสามารถ ขาดแสงสำหรบั ขบวนการสงั เคราะหแ์ สง ซง่ึ เปน็ ลดการ ในการขยายพันธุ์ ผลกระทบ การควบคมุ กำจัด และการ เตมิ ออกซเิ จนลงในแหลง่ นำ้ ในขณะทก่ี ารย่อยสลายของ แข่งขันเพ่อื ธาตุอาหารแล้ว จอกหูหนูยักษ์มีความนา่ กลัว ซากพืชท่ีตายและจมลงสเู่ บอ้ื งลา่ ง ซงึ่ ตอ้ งใชอ้ อกซเิ จนที่ กวา่ ผกั ตบชวามาก ละลายนำ้ อยา่ งมาก ทำใหป้ ลาและสัตว์นำ้ และสิง่ มีชีวิตอ่นื ขาดออกซิเจน และอาจรุนแรงมากจนทำให้ปลาและ การปอ้ งกันกำจดั สตั วน์ ้ำอน่ื ตายได้ การทบั ถมของซากพชื จอกหหู นยู กั ษ์ ลงสแู่ หลง่ นำ้ หากพบในแหล่งน้ำต้องช้อนออกจากแหล่งน้ำ ทำให้แหลง่ น้ำต้นื เขนิ ขณะเดยี วกันจอกหูหนยู ักษท์ ข่ี ึน้ นำไปตากแหง้ และเผาทง้ิ สว่ นทต่ี ดิ ตามตลง่ิ ไมส่ ามารถ อยา่ งหนาแนน่ ทำใหเ้ ปน็ ทย่ี ดึ เกาะของเมลด็ วชั พชื ทป่ี ลวิ เกบ็ ออกได้ ควรใชส้ ารกำจดั วัชพืชพาราควอท 100 มาจากท่อี ื่น สามารถงอกและเจริญเติบโตอยู่บนผืนจอก - 200 กรมั สารออกฤทธ์ิตอ่ ไร่ผสมสารจบั ใบ ฉดี พน่ น้ีได้ หรือพืชอ่ืนอาจเลื้อยจากฝั่งลงไปยังแหล่งน้ำที่มี ให้ถูกจอกหูหนูยักษ์โดยตรงหลังจากกำจัดแล้วต้อง จอกหูหนูยักษ์ข้นึ อยู่ได้ เฝ้าระวงั ไม่ให้กลับมาระบาดใหม่ โดยตรวจสอบว่ามี ในทส่ี ดุ แหลง่ นำ้ นน้ั กจ็ ะตนื้ เขนิ พชื ไมน้ ำ้ เดมิ หายไป ตน้ ใหม่ท่ีงอกจากส่วนทหี่ กั ออกไปหรอื ไม่ อยา่ งน้อย สัตว์น้ำไม่มีท่ีอาศัย พืชชนิดอื่นท่ีมิใช่พืชเข้ามาแทนที่ เดอื นละครง้ั จนกวา่ จะไมพ่ บตดิ ตอ่ กนั อยา่ งนอ้ ย 6 เดอื น ในท่ีสุดแหล่งน้ำน้ันก็จะเปลี่ยนแปลงไป และพืชพรรณ หากพบเห็นจอกหูหนูยักษ์ท่ีใดขอให้รีบแจ้ง ทขี่ ึ้นอย่กู ็จะหายไปด้วย ผคู้ รอบครองใหท้ ำการกำจดั หรอื แจง้ ไปยงั กลมุ่ วจิ ยั วชั พชื กดี ขวางการใชป้ ระโยชนใ์ นแหลง่ นำ้ จอกหหู นยู กั ษ์ สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร ทข่ี ้นึ อย่างหนาแนน่ และอัดตัวกนั แน่น เป็นแผ่นเตม็ สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติม ได้ท่ีกลุ่มวิจัยวัชพืช ผวิ น้ำ นอกจากทำให้กระแสนำ้ ไหลไดช้ า้ แล้ว ยงั เป็นการ สำนกั วจิ ยั พฒั นาการอารกั ขาพชื โทรศพั ท์ 0-2940-7409 กีดขวางการคมนาคมทางนำ้ ดว้ ย จอกหหู นยู ักษอ์ ดุ ทาง หรอื 0-2940-7194 หรือ E mail : [email protected] ไหลของน้ำ ทำใหไ้ ม่สามารถใช้นำ้ เพ่อื การเกษตรและ (ขอบคุณ คณุ ศริ พิ ร ซึงสนธพิ ร กลมุ่ วิจัยวัชพชื การผลติ กระแสไฟฟ้าตามวัตถปุ ระสงค์ได้ สำนกั วจิ ยั พฒั นาการอารกั ขาพชื กรมวชิ าการเกษตร : ขอ้ มลู ) ท่ีอยู่อาศัยที่ดีของยุงท่ีเป็นพาหะของโรคต่างๆ เชน่ โรคเท้าช้างในศรีลงั กา มาลาเรียในปาปัวนิวกนิ ี น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 83 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553 103

อ า ห า ร ป ล อ ด ภั ย GAPกษตรกร ดเี ดน่ ประจำปี 2553 (ต อนที่ 1) พรรณนีย์ วชิ ชาชู นบเปน็ ปที ี่ 5 แลว้ ทก่ี รมวชิ าการเกษตร ไดด้ ำเนนิ การคดั เลอื กเกษตรกรทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการรบั รองแหลง่ ผลติ หรอื เกษตรกรทท่ี ำการผลติ พชื ในระบบเกษตรดที เี่ หมาะสม หรอื GAP ใหเ้ ปน็ เกษตรกร GAP ดเี ดน่ ระดบั เขต เขตละ 1 ราย เพอื่ จะทำการคัดเลือกให้เปน็ เกษตรกรดีเดน่ แหง่ ชาติสาขาการใชว้ ิชาการเกษตรดที ี่เหมาะสม จำนวน 1 ราย เพือ่ เขา้ รับพระราชทานโลเ่ กยี รตยิ ศในพราะราชพธิ พี ชื มงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เปน็ ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ทิ ี่ กสกิ ร จะตอ้ งนำผลงานเกษตรกร GAP ดเี ด่น ทัง้ 8 เขต มานำเสนอให้ทา่ นผู้อา่ นไดร้ บั ทราบ ใน ปีนก้ี ็เชน่ เดยี วกัน “กสกิ ร” ขอนำผลงานของเกษตรกรท้งั 8 ราย มารายงานใหท้ ราบ จากเกษตรอำเภอมาเป็นเจ้าของสวนส้มโอเงินลา้ น บณั ฑติ และภรรยา “ผมเปน็ เกษตรอำเภอ แตไ่ มไ่ ดท้ ำการเกษตร เมอื่ เกษตรกร ถามปญั หา ไมส่ ามารถตอบคำถามของเกษตรกรไดอ้ ยา่ งชดั เจน ไมส่ ามารถตอบคำถามลกึ ๆ ได”้ เปน็ คำพดู ของ บณั ฑติ แกว้ รตั น์ เจ้าของ “สวนส้มบณั ฑิต” อดีตเกษตรอำเภอขนอม จงั หวดั นครศรีธรรมราช ซ่ึงมีประกาศเกียรติคุณเกษตรอำเภอดีเด่น 2 ปีซอ้ น (2536–2537) เป็นรางวัลเกียรตยิ ศในชวี ติ ขา้ ราชการ 104 น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - กุมภาพนั ธ์ 2553

บณั ฑติ แกว้ รตั น์ ซ้อื ก่งิ พนั ธ์ุมาปลกู ในพื้นที่ 28 ไร่ ชาวบ้านมาเหน็ เขา้ บอกวา่ เปน็ เกษตรอำเภอมาปลูกสม้ โอ จะไปรอดหรอื ดว้ ยเหตผุ ลจากคำพดู ขา้ งตน้ ทำใหบ้ ณั ฑติ คดิ ลงมอื ภรรยาเองก็อยากให้ปลูกกาแฟ เพราะตอนน้ันกาแฟ ทำการเกษตรด้วยตนเองระหว่างท่ีรับราชการอยู่นั้น ราคาดี ผมกไ็ ม่ได้ขดั ใจเขา ปลูกกาแฟใหเ้ หมือนกนั แต่ ประกอบกับภรรยามีท่ีดินอยู่ที่หมู่ท่ี 4 ตำบลควนทอง ปลกู เพียง 2 ไร่ ตอนนรี้ อ้ื ทง้ิ ไปหมดแลว้ อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ประมาณ เริ่มแรกก็ล้มลุกคลุกคลานเหมือนกัน มีปัญหา 50 ไร่ เป็นพ้ืนท่ีท่ีไม่มีใครสนใจ เป็นป่าท่ีดินไม่ค่อย เรอ่ื งนำ้ เรอ่ื งโรคและแมลง แตก่ ไ็ มไ่ ดย้ อ่ ทอ้ ดน้ิ รนมาเรอื่ ย อุดมสมบูรณน์ กั ไม่ได้ทำประโยชนอ์ ะไร จึงคดิ วา่ น่าจะ ปีแรกที่ส้มโอให้ผลผลิต ผมขายส้มโอท้ังสวนได้เพียง ปลกู สม้ โอ เพราะเปน็ ผลไมท้ รี่ าคาไมเ่ ปลย่ี นแปลงมากนกั 2,800 บาท” บณั ฑิต ย้อนอดตี ใหฟ้ งั เขาจงึ เรม่ิ ตน้ ปลกู สม้ โอในพน้ื ทเ่ี พยี ง 28 ไรเ่ มอื่ ปี 2529 ส้มโอที่นำมาปลูกในระยะแรก มี 2 พนั ธ์ุ คอื พันธุ์ ต่อมาในปี 2538 บณั ฑิต ลาออกจากราชการ ทองดี และพันธ์ุขาวหอม แตเ่ ม่อื ปลูกไปแล้วปรากฏวา่ ด้วยปัญหาสุขภาพร่างกายท่ีไม่เอื้ออำนวยเป็นโรคความ พนั ธขุ์ าวหอมเปน็ โรคแคงเกอรม์ าก ไมส่ ามารถสง่ ขายตา่ ง ดันโลหติ สงู เขาจงึ มเี วลามาดูแลสวนส้มโอมากขน้ึ และ ประเทศได้ ในขณะทพ่ี นั ธุ์ทองดีทนทานตอ่ โรคแคงเกอร์ ได้ศกึ ษาพฒั นาการผลิตควบคูไ่ ปกับการตลาด จึงโค่นพันธ์ุขาวหอมท้ิงเปลี่ยนเป็นพันธ์ุทองดีท้ังหมด จากจดุ เริ่มตน้ ปลูกสม้ โอในพนื้ ที่ 28 ไร่ เม่ือครั้ง ปจั จบุ ันทีส่ วนบณั ฑิต มีสม้ โอพันธทุ์ องดี 2,500 ต้น น้ันจนถึงวันน้ี บัณฑิต แกว้ รัตน์ มีสวนสม้ โอ 120 ไร่ “เม่ือก่อนการติดต่อส่ือสารไม่ได้รวดเร็วเหมือน และจากทเ่ี คยขายส้มโอได้เงนิ เป็นตวั เลขเพียง 4 หลัก เด๋ียวน้ี เวลามปี ญั หาแต่ละทตี อ้ งเขียนจดหมายไปถาม เด๋ียวนเี้ ขามรี ายไดจ้ ากสม้ โอเป็นตวั เลข 7 หลกั คณุ ทมิ กวา่ จะมจี ดหมายตอบกลบั มาบางทกี ไ็ มท่ นั การณ์ แลว้ ” บัณฑติ กล่าวถึงปญั หาอุปสรรคของการทำสวนส้ม เรียนรจู้ ากเซียนสม้ โอท่ีนครปฐม พรอ้ มกับเลา่ ถึงประสบการณ์ในการทำสวนสม้ ตอ่ ไปว่า บณั ฑติ เรม่ิ ตน้ ปลกู สม้ โอ ดว้ ยการหาประสบการณ์ “สม้ โอเป็นพชื ทปี่ ลกู ยากกว่าทเุ รยี น ต้องละเอยี ด จากชาวสวนส้มโอที่จังหวัดนครปฐม ศึกษาตั้งแต่เรื่อง ก่อนเกบ็ เกยี่ วตอ้ งงดสารเคมี และปยุ๋ เคมี ส้มมีปญั หา พนั ธุส์ ้มโอ การปลกู การดูแลรักษา การตลาด สว่ นใหญ่ เรอ่ื งโรคและแมลงคอ่ นขา้ งมาก ตอ้ งศกึ ษาหาความรเู้ พอ่ื จะคยุ กบั ทมิ ไทยทวี ซง่ึ รจู้ กั กนั ดวี า่ เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามรแู้ ละ แกป้ ัญหามาตลอด การใช้สารเคมตี อ้ งลดลง แต่ลดหมด ประสบการณ์เก่ียวกับส้มโอที่หาตัวจับยากคนหน่ึงใน ไมไ่ ด้ ถา้ ทำกนิ เองลดหมดได้ ถา้ ทำขาย ทำสง่ ออก ทำเงนิ ประเทศไทย เป็นล้านๆ ลดสารเคมที ัง้ หมดไม่ได้ “บอกกบั คณุ ทมิ วา่ ผมตอ้ งการพนั ธสุ์ ม้ โอคณุ ภาพดี ทส่ี ดุ คณุ ทมิ กจ็ ดั ให้ ตอนนนั้ กง่ิ ละ 35 บาท ผมไมเ่ กยี่ งเลย น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบับท่ี 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553 105

ผมเร่ิมใช้ปุย๋ หมกั ป๋ยุ คอกกบั สวนผลไม้ คดิ ว่า มกี ารบนั ทึกกจิ กรรมภายในสวนทกุ วนั ทกุ เดือน เปน็ รายแรกที่ทำเชน่ นเี้ ม่อื 20 กว่าปกี อ่ น โดยนำกาก ตง้ั แตเ่ รม่ิ ทำสวนแรกๆ ดว้ ยการใชค้ วามรดู้ า้ นการทำบญั ชี กาแฟผสมกบั ขห้ี มู ข้ีไก่ หรือ ขยุ มะพรา้ วผสมกบั แกลบ ฟารม์ ทเ่ี กษตรอำเภอต้องทราบมาใชจ้ ริงๆ แตท่ ำอย่าง และโดโลไมต์” ง่ายๆ สามารถจะดูย้อนหลังได้ว่าท่ีผ่านมาในวันที่น้ัน เดือนน้นั ทำอะไรไปบา้ ง ตลาดนำการผลติ “เม่ือปลูกสม้ โอช่วงแรกๆ ไม่ค่อยมปี ัญหาเร่อื ง “เมอื่ กอ่ นผมเปน็ เกษตรอำเภอสชิ ล มปี ญั หาเรอ่ื ง โรคและแมลงมากนัก แต่เม่ือชาวบ้านเริ่มปลูกมากข้ึน กาแฟราคาตกตำ่ ตอ้ งวง่ิ ชว่ ยเหลอื ชาวสวนกาแฟดกึ ๆ ดนื่ ๆ โรคและแมลงตา่ งๆ มปี รมิ าณมากขนึ้ จำเปน็ ตอ้ งศกึ ษาหา จึงคิดว่าปลูกอะไรก็ตามปัญหาการตลาดเป็นปัญหาใหญ่ ความรเู้ พอ่ื แกป้ ญั หา พอดมี นี โยบายอาหารปลอดภยั และ เมื่อมาทำสวนสม้ โอ กพ็ ยายามจัดการใหผ้ ลผลิตส้มโอมี มโี ครงการรบั รองแหลง่ ผลติ ตามระบบเกษตรดที เี่ หมาะสม คณุ ภาพได้มาตรฐาน หาตลาดประจำใหไ้ ด้” บณั ฑติ ย้ำ หรือ GAP ของกรมวชิ าการเกษตรเข้ามาสนับสนนุ จงึ แนวคิดของตนเอง ทำใหส้ วนตา่ งๆ ใหค้ วามสำคญั กบั การปอ้ งกนั กำจดั ศตั รพู ชื ดว้ ยเหตนุ ้ี บณั ฑติ จงึ ไดท้ ำการผลติ สม้ โอตามระบบ และการใชส้ ารเคมีอย่างถูกตอ้ งมากข้นึ มเี จา้ หน้าที่มาให้ ทตี่ นเองเหน็ วา่ เหมาะสมในฐานะเปน็ นกั สง่ เสรมิ การเกษตร คำแนะนำในการผลิตตามระบบ GAP ทำให้สวนส้ม มาตั้งแต่ระยะแรกๆ ซึ่งนอกจากเป็นผู้ริเร่ิมใช้ปุ๋ยคอก บณั ฑติ และสวนสม้ ในเขตอำเภอขนอม ทร่ี วมกลมุ่ กนั เปน็ ปุย๋ หมกั แล้ว ยงั ใหค้ วามสำคัญกบั แหล่งน้ำ เพราะถอื วา่ วิสาหกิจชุมชนผลิตส้มโอเพ่ือการส่งออกบ้านนาชาต ิ การทำสวนผลไมจ้ ะขาดนำ้ ไมไ่ ดจ้ งึ ไดล้ งทนุ ขดุ สระภายใน ได้ประสานงานกับหน่วยงานของกรมวิชาการเกษตรใน สวน โดยการจา้ งรถแบคโฮล เขา้ มาขดุ สระในขณะทตี่ นเอง พืน้ ท่ดี ำเนนิ การผลิตส้มโอตามระบบ GAP อยา่ งจรงิ จงั ตอ้ งเดนิ ทางไปราชการตา่ งจังหวัด เม่อื กลับมาปรากฏว่า จนทำให้มีผู้ส่งออกหลายบริษัทติดต่อขอซื้อผลผลิต คา่ จ้างขดุ สระสูงถึง 2 แสนบาท ไม่มีเงินจา่ ยต้องไปกู้เงิน ส้มโอของทนี่ ี่ เพื่อส่งไปยงั ตลาดจีน ฮ่องกง และยุโรป” ธนาคารมาจ่ายคา่ ขุดสระ เป็นเหตุการณท์ ่ที ำให้ภรรยา บัณฑิตกลา่ วถึงสว่ นหนึ่งของความสำเรจ็ ดา้ นการตลาด ทุกข์ใจถึงกบั รอ้ งไห้ และเป็นประสบการณ์ทจ่ี ดจำมาถงึ ทุกวันน้ี รว่ มโครงการผลิตตามระบบ GAP การใชส้ ารเคมี ใชอ้ ยา่ งระมดั ระวัง และถูกต้อง เมือ่ เขา้ รว่ มโครงการรับรองแหล่งผลติ GAP ของ ตามหลกั วิชาการ โดยเฉพาะจะใช้ในช่วงทผ่ี ลสม้ ยงั เล็ก กรมวิชาการเกษตร บณั ฑิต แกว้ รัตน์ ไดด้ ำเนินการตาม มสี ถานที่เกบ็ สารเคมีโดยเฉพาะ และมกี ารทำลายภาชนะ คำแนะนำของเจา้ หน้าที่ตามข้ันตอน โดยเร่ิมจากการขอ บรรจสุ ารเคมโี ดยการกลบฝงั ความรว่ มมอื จากนกั วชิ าการและอาจารยจ์ ากมหาวทิ ยาลยั 106 น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 83 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - กมุ ภาพันธ์ 2553

วลยั ลักษณ์ ทำการวิเคราะห์ดนิ ในสวนส้มโอ เพ่อื ตรวจ ลงมาแถวจังหวดั กำแพงเพชร และพิษณโุ ลก ซงึ่ ผลผลิต สอบว่าดินน้ันขาดแคลนธาตุอาหารใดบ้างจะได้เพ่ิมเติม จะออกในชว่ งเดอื นพฤษภาคม – มิถนุ ายน สม้ โอของ ปยุ๋ หรือธาตุอาหารพืชได้ถูกตอ้ ง ภาคกลางจะออกในชว่ งเดือน กรกฎาคม – กันยายน ร่วมกับสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯเพ่ือจัดหา สำหรบั สม้ โอในภาคใตผ้ ลผลติ จะเกบ็ เกย่ี วไดใ้ นชว่ งเดอื น วสั ดอุ ปุ กรณ์ ปจั จยั การผลติ ตา่ งๆ ในการผลติ ใหเ้ หมาะสม ตุลาคม - มกราคม เชน่ ทำปยุ๋ หมกั ใชเ้ อง ใสโ่ ดโลไมต์ ใสก่ ระดกู ปน่ เปน็ ตน้ “การผลติ สม้ โอสง่ ออกทำยาก ผสู้ ง่ ออกเองกแ็ ขง่ ขนั รวมทงั้ การจดั ทำระบบนำ้ ใหก้ บั สวนสม้ โอ ซงึ่ ทส่ี วนบณั ฑติ กันเองในตลาดต่างประเทศ ผลผลิตสม้ โอท่จี ะส่งออกได้ ใชร้ ะบบสปรงิ เกลอรใ์ หก้ บั สม้ โอทกุ ตน้ โดยใชน้ ำ้ จากสระนำ้ ตอ้ ง ผลดี ผวิ ดี เนอื้ ดี รสชาติดี ซ่ึงส้มโอไทยเราสูไ้ ดใ้ น ท่ีขุดไว้ภายในสวน ตลาดต่างประเทศ” บณั ฑิตยืนยัน มกี ารประชุมสมาชกิ กลมุ่ วิสาหกิจชุมชนฯ เพือ่ ให้ การเกบ็ เกยี่ วผลผลติ ตอ้ งจา้ งแรงงานมาจากจงั หวดั ความรแู้ กส่ มาชกิ ทกุ เดอื น โดยบณั ฑติ เปน็ วทิ ยากรเองบา้ ง นครปฐม เพราะแรงงานเหล่านี้มีประสบการณ์ในการ หรอื เชญิ วทิ ยากรจากมหาวทิ ยาลยั หรอื สว่ นราชการตา่ งๆ เก็บเก่ียวส้มโอเพื่อการส่งออก แรงงานในท้องถิ่นยังไม่ มารว่ มใหค้ วามรดู้ ว้ ย โดยจะเนน้ ในเรอื่ งของการใชส้ ารเคมี เชยี่ วชาญพอ ให้ถูกต้อง และปลอดภยั ตอ่ ผู้บรโิ ภค การตดั แตง่ กงิ่ ใหต้ ดั กง่ิ เลก็ ๆ ออกใหห้ มด เพราะ รณรงค์ใช้วัสดุเหลือใช้ตามธรรมชาตินำมาใช้ให้ กงิ่ เลก็ ไม่ให้ผลผลิต เกะแกะ และแย่งอาหารไปเลีย้ งกิ่ง เป็นประโยชนม์ ากข้นึ รวมทั้งการใชส้ ารธรรมชาติ และ ด้วย ต้องตัดแต่งต้นใหโ้ ปรง่ ใหแ้ สงสอ่ งใหท้ ั่วถงึ ชวี วธิ ใี นการควบคมุ ศตั รพู ชื แทนการใชส้ ารเคมี เชน่ การ เมื่อผลส้มมีขนาดเท่าผลมะนาวให้เร่ิมตัดแต่งผล ใช้กับดักผีเสื้อมวนหวาน หรือการใช้กับดักกาวเหนียว ผลทีอ่ ยเู่ บียดกนั ใกลช้ ิดกัน ให้ตัดออก เพราะจะเกดิ การ กบั แมลงวนั ทอง เปน็ ต้น เสยี ดสี ผิวมีตำหนิไม่สวย มีการจดบันทึกกิจกรรมการผลิตในทุกขั้นตอน ผลผลติ ประมาณ 90% จะสง่ ออก โดยมบี ริษัท และทำบญั ชรี ายรบั รายจา่ ย เพอ่ื ทราบคา่ ใชจ้ า่ ยในการลงทนุ ส่งออกมารับซ้ือเพื่อส่งออกไปยังตลาดจีน และฮ่องกง และผลตอบแทน โดยแบง่ ผลผลติ ออกเป็น 3 เกรด แตล่ ะเกรดขนาด และ ราคาแตกต่างกัน ผลผลิตของสวนสม้ บัณฑติ สว่ นใหญจ่ ะ ประสบการณ์ผลติ ส้มโอส่งออก เปน็ เกรด 1 ราคาผลละ 30 บาท และในปี 2552 น้ี คาดวา่ บัณฑิต ไลเ่ รียงใหท้ ราบถงึ การผลิตส้มโอสง่ ออก จะทำผลผลติ ส่งออกได้ 95% ของไทยวา่ จะเร่มิ ทอ่ี ำเภอเวียงแกน่ จังหวดั เชยี งราย ซึ่ง ในฤดกู ารผลติ ปี 2551 สวนสม้ บณั ฑติ มคี า่ ใชจ้ า่ ย จะมผี ลผลิตส้มโอออกในช่วงเดอื นมีนาคม – เมษายน ในการลงทนุ ประมาณ 1.6 ล้านบาท จำหนา่ ยผลผลติ สง่ ออกไดป้ ระมาณ 6 ลา้ นบาท จงึ มีผลกำไรประมาณ 4.4 ล้านบาท น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 83 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553 107

บคุ คลตวั อยา่ ง เรมิ่ ตน้ จากลกู จา้ งบรษิ ทั เมอ่ื รบั ราชการ กเ็ ปน็ เกษตรอำเภอดเี ด่น เป็น ในปี 2529 ไดเ้ ข้าทำงานกบั บริษัทผลิตเมลด็ ตัวอย่างแก่ข้าราชการท่ัวไป เม่ือมาประกอบอาชีพเป็น พันธ์บุ รษิ ัทหน่งึ ทอ่ี ำเภอเวียงแกน่ จังหวดั เชยี งราย เริ่ม เกษตรกรชาวสวน ก็ประสบความสำเร็จเป็นตัวอย่าง ต้นจากการเป็นพนักงานในฝ่ายผลิตเมล็ดพันธุ์ ประจำ แก่เกษตรกรทัว่ ไป แถมยงั ไมห่ วงวิชาความรูพ้ ร้อมท่ีจะ ฟารม์ ทบี่ า้ นมว่ งยาย กง่ิ อำเภอเวยี งแกน่ จงั หวดั เชยี งราย ถา่ ยทอดใหผ้ สู้ นใจอยา่ งไมป่ ดิ บงั ดว้ ยเหตนุ บ้ี ณั ฑติ แกว้ รตั น์ มีหน้าท่ี ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชผักชนิดต่างๆ จึงได้รับรางวัลเกียรติยศในชีวิตอีกรางวัลหนึ่ง นั่นคือ เพ่ือรับซอ้ื เมลด็ พนั ธค์ุ ืนให้กบั บรษิ ัท รวมทง้ั ทำการผลติ ไดร้ บั พระราชทานปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบ์ ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดิ์ เมลด็ พันธุ์ผกั บางชนดิ เอง ด้วยการรับโควตาจากบรษิ ัท (พชื ศาสตร)์ จากมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั มาทำการผลติ และจำหน่ายคืนใหก้ บั บริษทั นครศรธี รรมราช (ไสใหญ่) ทำงานอยู่กบั บริษทั ผลิตเมล็ดพันธุป์ ระมาณ 8 ป ี บัณฑิต แก้วรตั น์ ปวารณาตัววา่ หากใครสนใจ อยากเป็นเกษตรกรเตม็ ตวั จึงลาออกจากบรษิ ัทเมอ่ื ป ี อยากทำสวนสม้ โอ ยนิ ดีให้คำปรึกษาตลอดเวลา ไมเ่ วน้ 2547 ในตำแหน่งสดุ ทา้ ยคอื ผ้จู ดั การฝา่ ยผลติ ประจำ วันหยุดราชการ แต่เว้นเวลานอน สามารถติดต่อได้ท่ี ฟารม์ ท่ีบา้ นปา่ ออ้ ตำบลจอมหมอกแก้ว อำเภอแม่ลาว บ้านเลขที่ 71 หมทู่ ี่ 1 ตำบลขนอม อำเภอขนอม จงั หวัด จงั หวดั เชียงราย นครศรีธรรมราช 80210 หรือท่ีหมายเลขโทรศัพท์ จากสวนส้ม ถงึ สวนมะละกอ 0-7552-9273 หรอื 08-1892-7183 สงวน เร่ิมอาชีพเกษตรกรเต็มตัวด้วยการปลูก ส้มเขียวหวาน ทำไร่ขา้ วโพด และปลกู ขิง แต่ไมป่ ระสบ จากลกู จา้ งบรษิ ทั มาเปน็ เจา้ ของสวนผลไมเ้ งนิ ลา้ น ความสำเรจ็ เท่าท่คี วร หนั มาปลกู กหุ ลาบ และมะละกอ โดยสดุ ท้ายพบวา่ มะละกอน่าจะดที ีส่ ดุ ชว่ งแรกปลูก สำนกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 1 ไดค้ ดั เลอื ก มะละกอในพนื้ ท่ี 5 ไร่ มปี ญั หาทางดา้ นการตลาด เนอื่ งจาก นายสงวน อิงไธสง เจ้าของสวนมะละกอฮอลแลนด์ ตอ้ งผ่านพอ่ คา้ คนกลางหลายทอด ทำใหไ้ ด้กำไรนอ้ ย พนื้ ท่กี ว่า 100 ไร่ ทอ่ี ำเภอแม่ลาว จังหวดั ชียงราย ต่อมาไดพ้ ยายามหาตลาดดว้ ยตนเอง โดยติดต่อ เปน็ เกษตรกร GAP ดเี ด่นของเขต สง่ ผลผลติ มะละกอใหก้ บั พอ่ คา้ ทต่ี ลาดไทโดยตรง พรอ้ มกบั สงวน องิ ไธสง เปน็ ชาวอำเภอพุทไธสง จงั หวดั พยายามผลติ มะละกอใหไ้ ดค้ ณุ ภาพ ซงึ่ ระยะหลงั มพี อ่ คา้ บรุ ีรัมย์ เรียนจบวทิ ยาลยั เกษตรกรรมบรุ รี ัมย์ แล้วไป คนกลางมาตดิ ตอ่ ขอซอื้ ผลผลติ และประกนั ราคา จงึ ตดั สนิ ใจ ศกึ ษาตอ่ ปรญิ ญาตรที มี่ หาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ จงั หวดั เชยี งใหม่ ขยายพ้นื ทปี่ ลูกมะละกอเพ่ิมข้นึ ในปี 2550 โดยเช่าพืน้ ที่ จนจบการศกึ ษาเมอื่ ปี 2526 จำนวน 110 ไร่ ที่บ้านรอ่ งเปา ตำบลปา่ แงะ อำเภอ ป่าแดด จังหวดั เชียงราย นายสงวน อิงไธสง มะละกอทปี่ ลกู เป็นพันธฮุ์ อลแลนดล์ กู ผสม ท่ไี ด้ รบั ความนยิ มในตลาดเปน็ อยา่ งดี เนอ่ื งจากมรี สชาตหิ วาน สีสม้ สด และเนือ้ แนน่ ราคาทจี่ ำหนา่ ยไดค้ ่อนข้างสูง ทำให้สงวนมกี ำไรจากมะละกอ 110 ไรน่ ้ี ไปซื้อท่ีดินเป็น ของตนเองประมาณ 100 ไร่ ทตี่ ำบลจอมหมอกแกว้ อำเภอแมล่ าว จงั หวดั เชยี งราย เพอื่ ขยายพน้ื ทป่ี ลกู มะละกอ ออกไปอีก 100 ไร ่ นอกจากน้ี สงวนยังปลูกแก้วมังกรอีก 25 ไร่ และพทุ ราไตห้ วนั อกี 25 ไร่ ท่ีตำบลทา่ สาย อำเภอเมือง จงั หวดั เชียงราย 108 น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 83 ฉบับท่ี 1 มกราคม - กุมภาพนั ธ์ 2553

ในการผลิตผลไม้ท้ังสามชนิด สงวนได้ใช้ระบบ มะละกอจะเรม่ิ ใหผ้ ลผลติ เมอื่ อายปุ ระมาณ 8 เดอื น “เกษตรดที เี่ หมาะสม” นบั ตงั้ แตพ่ นื้ ทปี่ ลกู มกี ารจดั การ จากนนั้ จะทยอยใหผ้ ลผลติ เรอ่ื ยไปประมาณ 3 ปี ผลผลติ สวนอย่างถกู สขุ ลกั ษณะ มีสถานทเ่ี ก็บสารเคมี ปุ๋ยเคมี จะเร่ิมลดน้อยลง ตอ้ งโค่นท้งิ แลว้ ปลกู ใหม ่ ปัจจัยการผลติ และอุปกรณ์การเกษตรตา่ งๆ ไว้เป็น มะละกอ 100 ไร ่ สดั สว่ นโดยเฉพาะ สำหรับพนื้ ทีป่ ระมาณ 100 ไรน่ ้ี คณุ สงวนจะแบง่ พื้นทีป่ ลกู มะละกอ เปน็ พนื้ ที่ทีห่ า่ งไกลจากชมุ ชน พ้นื ทีป่ ลูกเป็นโซนๆ แต่ละโซนปลูกไมพ่ ร้อมกนั เพือ่ จะ ลกั ษณะดนิ เปน็ ดนิ รว่ นปนทราย มกี ารระบายนำ้ ดี อณุ หภมู ิ ไดส้ ามารถเกบ็ ผลผลติ หมนุ เวยี นไดต้ ลอด การปลกู มะละกอ เฉลยี่ ทงั้ ปี 25 – 27 องศาเซลเซยี ส พน้ื ทปี่ ลกู พทุ ราไตห้ วนั ของคุณสงวนจะใช้ฟางคลุมโคนต้นเพ่ือรักษาความชื้น และแกว้ มงั กร เปน็ ทเ่ี นนิ จงึ ปลกู พทุ ราและแกว้ มงั กร แบบ ลดการระบาดของวัชพชื นอกจากนฟี้ างข้าวยังสามารถ ขน้ั บันไดตามไหลเ่ ขา ลักษณะดินเป็นดินรว่ นผสมลูกรงั ย่อยสลายเพ่ิมอินทรียวัตถุในดินด้วย ท้ังนี้คุณสงวนจะ มกี ารระบายน้ำดี อณุ หภูมิเฉล่ีย 25 องศาเซลเซียส รับซ้ือฟางจากชาวบา้ นในราคามดั ละ 2 บาท (มดั ขนาด แหลง่ นำ้ ท่ใี ชเ้ พาะปลูก สำหรับมะละกอ เปน็ เท่าแขนโอบ) แหล่งน้ำธรรมชาติจากแม่น้ำพุงไหลผ่านตลอดทั้งปี มะละกอจะมีโรคแมลงรบกวนช่วงที่ต้นยังเล็ก สว่ นแปลงพุทราไต้หวนั และแกว้ มงั กร เป็นบ่อนำ้ ซึม จงึ จำเป็นตอ้ งใชส้ ารเคมีฉีดพ่นทุก 15 วนั เมื่อต้นโตขนึ้ จากใต้ดนิ ขนาดพืน้ ท่ี 2 งานจำนวน 2 บอ่ แยกอยูใ่ น ปญั หาโรคและแมลงจะลดลง ปยุ๋ ทใ่ี ชจ้ ะใชป้ ยุ๋ อนิ ทรยี ์ กทม. พนื้ ทป่ี ลกู พุทรา 1 บอ่ และแปลงแกว้ มังกร 1 บอ่ มี และปยุ๋ มูลค้างคาว ร่วมกับปยุ๋ เคมี เพ่ือลดปรมิ าณปยุ๋ นำ้ ซมึ ออกมาทง้ั ปจี งึ เพยี งพอตอ่ การเพาะปลกู โดยใชร้ ะบบ เคมลี ง ให้น้ำแบบมินสิ ปรงิ เกลอร์ ปญั หาทสี่ ำคญั ของมะละกอทส่ี งวนมปี ระสบการณ์ สงวน ดแู ลการผลติ พืชทัง้ สามชนิดอยา่ งใกล้ชดิ คือ ลม และลูกเห็บ “เคยเจอลกู เหบ็ เม่ือปลูกมะละกอ นับตั้งแต่เร่ิมปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว โดยเฉพาะมะละกอ ปแี รก โดนลกู เห็บจนเหลอื แตย่ อด ตอ้ งฟ้ืนฟดู ้วยการ สงวนบอกว่า จะมีข้ันตอนท่ียุ่งยากกว่าพุทราและแก้ว ฉดี พน่ อาหารเสรมิ บำรงุ ตน้ ปญั หาอกี อยา่ งคอื ภมู อิ ากาศ มงั กร เวลาเพาะเมลด็ จะเพาะถงุ ละ 5 เมลด็ เพอ่ื คดั เลอื ก อากาศเปลยี่ นรสชาตมิ ะละกอจะเปลยี่ น เพราะตน้ จะสรา้ ง ต้นที่สมบูรณ์ไว้ 3 ตน้ ใช้ระยะปลกู 3 x 3 เมตร หรือ แป้งและน้ำตาลไมท่ ัน” สงวนบอก ประมาณ 180 ตน้ ตอ่ ไร่ ปลกู ไปได้ 2 – 3 เดอื น จะตอ้ งคดั ผลผลติ มะละกอทสี่ วนนจี้ ะมคี อละ 60 – 70 ผลตอ่ ปี ตน้ ท่ีเป็นกะเทยไว้ 1 ตน้ เพื่อประโยชนใ์ นการผสมเกสร หรือประมาณต้นละ 100 กโิ ลกรมั ต่อปี เวลาเก็บเก่ยี ว จะใชม้ อื ปลดิ จากตน้ ถ้าต้นสงู จะใชต้ ะกรอ้ สอย จากนน้ั น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบับท่ี 1 มกราคม - กุมภาพนั ธ์ 2553 109

สวนพทุ รา จะใชก้ ระดาษหนงั สอื พมิ พห์ อ่ วางเรยี งในตะกรา้ ใหญ่ นำมา ผลผลติ ท่ีไดเ้ ป็นเกรด บี ประมาณ 50% เกรด เอ 40% ยงั โรงคดั แยก เพอ่ื ตดิ สตก๊ิ เกอรร์ บั รองแหลง่ ผลติ และ และเกรด ซี 10% ราคาเกรด เอ ทข่ี ายไดก้ โิ ลกรมั ละ 20 บาท สวมตาขา่ ยโฟมทกุ ผลกอ่ นสง่ ให้พอ่ คา้ ผลผลิตมะละกอ เกรด บี และ ซี ราคากิโลกรัมละ 15 และ 8 บาท ทีน่ ่จี ะไดเ้ กรด เอ ประมาณ 80% ขายได้กิโลกรัมละ ตามลำดบั รายได้จากแก้วมงั กรในปี 2551 ประมาณ 15 บาท สำหรับเกรด บี และ ซี ราคากิโลกรมั ละ 10 และ 3.26 ล้านบาท ในปี 2552 ปรมิ าณผลผลติ แก้วมงั กร 5 บาทตามลำดับ สงวนรับประกันรสชาติของมะละกอ และรายได้จากแก้วมังกรยังคงเดิม ว่าเม่ือสกุ งอมจะมคี วามหวานประมาณ 18 องศาบริกซ์ ผลผลติ พทุ ราไตห้ วนั ในปี 2551 ประมาณ 100 ตนั และเขาต้ังชื่อมะละกอพันธ์ุฮอลแลนด์ลูกผสมน้ีว่า คดั แยกออกเป็น 5 ขนาด คอื เกรด เอ ประมาณ 20% “อิงไธทรพั ย”์ เพราะทำเงนิ ใหก้ ับ “ครอบครัวองิ ไธสง” เกรด บี 30% เกรด ซี 30% เกรด ดี 15% และตกเกรด เปน็ อย่างด ี 5% ราคาท่ขี ายได้ เกรด เอ กโิ ลกรัมละ 30 บาท เกรด บี ในปี 2551 สงวน ไดผ้ ลผลติ มะละกอประมาณ กโิ ลกรัมละ 25 บาท เกรด ซี เกรด ดี และตกเกรด ราคา 1,000 ตนั มรี ายไดจ้ ากมะละกอประมาณ 13.75 ลา้ นบาท กิโลกรัมละ 20 บาท 15 บาท และ 8 บาทตามลำดับ ในปี ปี 2552 ได้ผลผลิตประมาณ 700 ตนั มรี ายไดป้ ระมาณ 2551 มีรายได้จากพุทราประมาณ 2.2 ลา้ นบาท และใน 9.62 ลา้ นบาท ปี 2552 มรี ายได้พอๆ กับปี 2551 ท่ผี ่านมา แก้วมงั กร กบั พุทรา กว่าจะไดเ้ งินล้าน สำหรบั ผลไมท้ ที่ ำรายไดใ้ หร้ องลงมาคอื แกว้ มงั กร รายได้จากพืชท้ังสามชนิดท่ีกล่าวมาน้ันยังไม่ได้ ในพนื้ ที่ 25 ไร่ ในปี 2551 ไดผ้ ลผลติ 200 ตนั สว่ นใหญ่ หักค่าใช้จ่าย เมื่อถามถึงการลงทุน สงวนแจกแจงให้ ฟังว่า คา่ ใช้จา่ ยสำหรับมะละกอในปี 2551 ซ่ึงเปน็ ปีแรก ของพ้ืนที่ 100 ไร่แห่งนี้ มีการลงทุนเป็นค่าแรงงาน ค่าปุ๋ยเคมี คา่ สารเคมปี ้องกนั กำจดั ศตั รพู ืช คา่ สารกำจดั วัชพืช ค่าจัดทำระบบน้ำ ค่าสร้างโรงเรือนคัดบรรจุ และอื่นๆ เช่น ค่าฟางข้าว ค่าโฟมห่อผล ค่ากระดาษ หนังสือพมิ พ์ คา่ นำ้ มันเช้ือเพลิง คา่ ตะกร้าใสผ่ ลผลติ ค่าทำถนนในสวน รวมประมาณ 5.35 ล้านบาท และ ในปี 2552 ค่าลงทุนลดลงเหลอื 3.68 ลา้ นบาท ค่าแรงงานจะเพ่ิมสูงในช่วงเก็บเก่ียวมะละกอ เพราะต้องจ้างแรงงานเพิ่มเติมจากแรงงานประจำที่มีอยู่ 110 น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 83 ฉบับท่ี 1 มกราคม - กมุ ภาพนั ธ์ 2553

แล้ว เฉพาะคา่ จา้ งแรงงานเพิม่ เติมในช่วง 4 เดอื นที่เป็น ระยะเกบ็ เกยี่ วสงู ถงึ 600,000 บาท คา่ กระดาษหนงั สอื พมิ พ์ ทีใ่ ชห้ ่อผลกไ็ ม่นา่ เชื่อวา่ จะสูงถงึ 120,000 บาท คา่ ลงทนุ ทค่ี อ่ นขา้ งสงู อกี รายการหนง่ึ คอื ปยุ๋ เพราะ รสชาติมะละกอข้ึนอยกู่ บั ปุ๋ยท่ใี ส่ โดยเฉพาะปุ๋ยชีวภาพ คิดเปน็ เงนิ สูงถึง 960,000 บาท ในขณะท่ีป๋ยุ เคมสี ตู ร 15-15-15และ13-13-21คดิ เปน็ เงนิ เพยี ง 600,000บาท ในพ้นื ท่ปี ลกู มะละกอ 100 ไร่ทสี่ วนน้ี ตอ้ งลงทุน วางระบบนำ้ เป็นเงินถงึ 1.2 ล้านบาท แต่ก็นบั วา่ คมุ้ คา่ กบั การลงทุนเพราะระบบนีจ้ ะใช้งานได้นานถงึ 10 ปี พทุ ราไตห้ วนั สำหรบั พทุ รา และ แก้วมังกรนัน้ พทุ ราจะลงทนุ สูงกว่าแก้วมังกร โดยเฉพาะค่าสารเคมีกำจัดศัตรูพืช “พุทราเป็นพืชที่จำเป็นต้องใช้สารเคมีมากกว่าพืชอื่นๆ ใช้เงินลงทุนสำหรับแก้วมังกรในพื้นที่ 25 ไร่ รวมท้ังส้ิน ถา้ ไมใ่ ช้สารเคมีกำจดั จะไม่ได้ผลผลติ เลย เพราะพทุ รา ประมาณ 400,000 บาท และใน 2552 ลงทุนไป มีแมลงศัตรูพืชชอบมาก แต่ท่ีสวนนี้จะใช้สารเคมีที่ข้ึน ประมาณ 250,000 บาท ทะเบยี นกับกรมวิชาการเกษตร ใชต้ ามคำแนะนำ และ บวก ลบ คณู หาร กนั เองแลว้ กนั วา่ ผลตอบแทน จะงดใช้สารเคมีก่อนเก็บเก่ียวอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ซึ่ง นัน้ คมุ้ ค่ากบั ความเหนื่อยยากของคณุ สงวน หรอื ไม ่ สารเคมที ใี่ ชฉ้ ดี พน่ จะสลายไปหมดแลว้ ” สงวนยนื ยนั เขา้ ร่วมโครงการ GAP ปยุ๋ ท่ีใช้กับพทุ ราจะทำนองเดยี วกบั มะละกอ คือมี สงวน สมัครเข้าร่วมโครงการการผลิตพืชตาม ทัง้ ปุ๋ยชวี ภาพ และปุ๋ยเคมี เพราะเป็นผลไม้ที่ต้องการ ระบบจัดการคุณภาพพืช เกษตรดีทเี่ หมาะสม หรือ GAP รสชาตหิ วานเหมือนๆ กัน แต่พทุ ราจะใช้ปุ๋ยเคมีมากกว่า กบั ศนู ยว์ จิ ยั พืชสวนเชยี งราย กรมวิชาการเกษตร และ ปยุ๋ ชวี ภาพ โดยรวมแลว้ ในปี 2551 ลงทนุ ในการปลกู ได้ใบรบั รองแหลง่ ผลติ GAP ทั้งมะละกอ พุทรา และ พุทราไปประมาณ 870,000 บาท และในปี 2552 หัก แกว้ มงั กร เมอ่ื ปี 2551 ซงึ่ เทา่ กบั เปน็ การรบั ประกนั คณุ ภาพ ตน้ ทนุ คงทอี่ อกไปจะเหลอื ลงทนุ เปน็ คา่ แรงงาน คา่ ปยุ๋ เคมี ของผลผลิตที่สร้างความเชื่อถือให้กับลูกค้าท้ังในและ สารเคมี และคา่ นำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ ประมาณ 370,000 บาท ต่างประเทศ สำหรบั แกว้ มงั กร เปน็ พชื ทล่ี งทนุ นอ้ ยทสี่ ดุ ในบรรดา จากความพยายามในการแสวงหาความรู้ และนำ พชื ทงั้ สามชนดิ ทกี่ ลา่ วมาน้ี เพราะแกว้ มงั กรไมค่ อ่ ยมปี ญั หา มาปฏิบตั ใิ นไร่นา จนประสบความสำเรจ็ ในอาชพี ที่อยาก เรอื่ งศัตรพู ชื ในปี 2551 ซงึ่ เป็นปีแรกของการลงทุน เปน็ คอื “เกษตรกร” นี้ ทำให้ สงวน องิ ไธสง ได้รับ ยกย่องให้เป็นที่ปรึกษาของเกษตรกรผู้ปลูกมะละกอ พทุ รา และแกว้ มงั กร ในเขตอำเภอแมล่ าว และอำเภอ ปา่ แดด จังหวดั เชยี งราย และยังไดเ้ ปดิ สวนของตนเอง ให้เป็นแหล่งเรียนรขู้ องผูส้ นใจท่ัวไปด้วย ถ้ายังเป็นลูกจ้างบริษัทอยู่...คงไม่มีวันน้ีสำหรับ สงวน องิ ไธสง (อา่ นต่อฉบับหน้า) สวนแก้วมงั กร น.ส. พ. ก สิกร ปที ่ี 83 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553 111


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook