ความหมายของการวิจัย Research (re+search) การแสวงหาความรคู้ วามจริงโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การแสวงหาความรู้ By authority (ผูร้ ู้) Personal experimental (ประสบการณ)์ By tradition (ขนบธรรมเนียมประเพณ)ี Deductive method (วธิ ีการอนุมาน) Inductive method (วิธกี ารอุปมาน ) Scientific method (วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร)์
Deductive method (วิธีการอนมุ าน) Aristotle อริสโตเตลิ เสนอวธิ กี ารหาความรแู้ ละขอ้ เทจ็ จรงิ เชงิ เหตุผล 1. ข้อเทจ็ จริงใหญ่ ซ่งึ เปน็ เหตกุ ารณท์ ่เี ป็นจริงอยใู่ นตัวมนั เอง หรือเป็น ข้อตกลงท่ีกาหนดข้ึนเปน็ กฎเกณฑ์ 2. ขอ้ เทจ็ จรงิ ยอ่ ย ซึ่งมีความสัมพันธก์ ับขอ้ เทจ็ จริงใหญ่ หรอื เป็นเหตุผลเฉพาะกรณที ี่ ตอ้ งการทราบความจรงิ 3. ผลสรุป เป็นขอ้ สรุปที่ได้จากการพจิ ารณาความสัมพันธ์ของเหตุใหญ่ และเหตยุ ่อย
Deductive method (วิธกี ารอนุมาน) Aristotle อรสิ โตเตลิ ตวั อยา่ งการหาความจริงแบบน้ี เชน่ ตัวอย่างท่ี 1 ขอ้ เทจ็ จรงิ ใหญ่ : สัตว์ทกุ ชนิดตอ้ งตาย ข้อเท็จจรงิ ย่อย : แมวเปน็ สตั ว์ชนดิ หนึ่ง ผลสรุป : แมวตอ้ งตาย ตัวอยา่ งท่ี 2 ข้อเทจ็ จริงใหญ่ : ถา้ โรงเรียนถูกไฟไหม้ ครูจะเป็นอันตราย ข้อเท็จจรงิ ย่อย : โรงเรยี นถูกไฟไหม้ ผลสรปุ : ครูเปน็ อนั ตราย
Inductive method (วิธีการอุปมาน ) Francis Bacon ฟรานซสิ เบคอน เป็นวิธกี ารแสวงหาความรู้โดย รวบรวมขอ้ เท็จจรงิ ยอ่ ย ๆ แล้วจงึ สรปุ รวมไปสู่ สว่ นใหญ่ 1. วิธกี ารอุปมานแบบสมบรู ณ์ (Perfect inductive method) เป็นวิธีการแสวงหาความรโู้ ดย รวบรวมข้อเทจ็ จรงิ ยอ่ ย ๆ จากทุกหนว่ ยของกลุม่ ประชากร แลว้ จงึ สรุปรวมไปสู่ ส่วนใหญ่ วธิ ี นป้ี ฏบิ ัตไิ ดย้ ากเพราะบางอย่างไมส่ ามารถนามาศกึ ษาได้ครบทุกหนว่ ย นอกจากนย้ี งั ส้นิ เปลือง เวลา แรงงาน และคา่ ใช้จา่ ยมาก
Inductive method (วธิ ีการอปุ มาน ) Francis Bacon ฟรานซิส เบคอน 2. วิธกี ารอุปมานแบบไมส่ มบรู ณ์ (Imperfect inductive method) เป็นวิธีการ เสาะแสวงหาความรู้ โดยรวบรวมขอ้ เท็จจรงิ ย่อย ๆ จากบางส่วนของกลุ่ม ประชากร แล้วสรุปรวมไปส่สู ่วนใหญ่ โดยที่ขอ้ มูลที่ศกึ ษานัน้ ถือวา่ เปน็ ตวั แทนของ สิ่งท่จี ะศึกษาท้งั หมด ผลสรปุ หรือ ความรู้ท่ไี ด้รับสามารถอา้ งอิงไปส่กู ลุ่มทีศ่ กึ ษา ทงั้ หมดได้ วิธกี ารนเี้ ปน็ ท่นี ิยมมากกว่าวิธีอุปมานแบบสมบูรณ์ เนื่องจากสะดวกใน การปฏิบตั แิ ละประหยัดเวลา แรงงานและคา่ ใชจ้ ่าย
Inductive method (วิธกี ารอุปมาน ) Francis Bacon ฟรานซิส เบคอน ตัวอย่าง ข้อเท็จจรงิ ยอ่ ย นกแต่ละตวั มีปีก ขอ้ สรุป นกทกุ ตัวมีปีก
Scientific method (วธิ ีการทางวิทยาศาสตร)์ Charles Darwin โดยใช้หลกั การของ วิธีการอนุมานและวธิ ีการอุปมานมาผสมผสานกัน ซง่ึ เม่อื ต้องการคน้ ควา้ หาความรู้ หรอื แก้ปัญหาในเร่ืองใดก็ต้องรวบรวมข้อมลู เกย่ี วกบั เรือ่ งน้นั กอ่ น แลว้ นาขอ้ มูลมาใชใ้ นการสรา้ งสมมติฐาน ซ่ึงเป็นการคาดคะเนคาตอบ ล่วงหนา้ ต่อจากนนั้ เปน็ การตรวจสอบปรับปรุงสมมติฐาน การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และ การทดสอบสมมตฐิ าน และJohn Dewey ปรบั ปรงุ ให้ดขี ึ้นแล้วใหช้ ่ือวธิ ีน้วี า่ การคิดแบบ ใคร่ครวญรอบคอบ (reflective thinking) ซ่งึ ต่อมาเป็นทรี่ ้จู ักกันในชือ่ ของวิธกี ารทาง วทิ ยาศาสตร์
Scientific method (วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร)์ Charles Darwin ข้นั ตอนของวิธกี ารแกป้ ัญหาทางวิทยาศาสตร์ Statistic 1. ขน้ั ปญั หา (Problem) 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) 3. ขัน้ รวบรวมข้อมลู (Gathering Data) 4. ขน้ั วิเคราะหข์ อ้ มูล (Analysis)i 5. ข้นั สรุป (Conclusion)
ประเภทของการวจิ ัย จาแนกตามข้อมูลของศาสตร์ 1. การวิจยั ทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific research) 2. การวจิ ยั ทางสงั คมศาสตร์ (Social research)
ประเภทของการวจิ ัย จาแนกตามลกั ษณะการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1. การวิจยั เชิงปรมิ าณ (Quantitative research) 2. การวจิ ยั เชิงคุณภาพ (Qualitative research)
ประเภทของการวจิ ยั จาแนกตามเหตุผลการวิจยั 1. การวิจยั พนื้ ฐานหรือการวจิ ยั บรสิ ทุ ธ์ิ (basic or pure research) 2. การวิจัยประยุกต์ (applied research) 3. การวิจัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (action research)
ประเภทของการวิจยั จาแนกตามลกั ษณะการควบคมุ ตัวแปร 1. การวจิ ยั เชงิ ทดลองแทจริง (true - experimental research) 2. การวจิ ัยก่ึงทดลอง (quasi – experimental research)
ประเภทของการวจิ ัย จาแนกตามระเบียบวิธวี ิจยั 1. การวจิ ัยเชงิ ประวัติศาสตร์ (historical research) 2. การวจิ ัยเชิงสารวจ (survey research) 3. การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research)
ประเภทของการวจิ ยั จาแนกตามแบบการวิจัย 1. การวิจัยเชงิ บรรยาย (descriptive research) 2. การวิจยั เชิงอธิบาย (explanaritory research) 3. การวิจยั ประเมิน (evaluation research) 4. การวิจัยเชิงพฒั นา (research and development : R&D) 5. การวิจยั สังเคราะห์ (synthesis research)
ประโยชนข์ องการวจิ ยั ทาให้เกดิ ความรู้ใหม่ แก้ปญั หา ปรบั ปรงุ การทางานให้มีประสิทธิภาพ พสิ ูจน์ ตรวจสอบ ทฤษฎี ต่าง ๆ เขา้ ใจ ปรากฏการณ์ หรือสถานการณต์ า่ ง ๆ ชว่ ยในการพยากรณ์ การตัดสินใจ
จรรยาบรรณนักวิจัย ซอื่ สตั ยแ์ ละมีคุณธรรมในทางวิชาการ มพี ้นื ฐานความรู้ในสาขาท่ีทาการวิจยั มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สง่ิ ท่ศี ึกษาวจิ ยั เคารพศักดศิ์ รแี ละสิทธขิ องกลุ่มตวั อยา่ ง มีอิสระทางความคดิ นาผลการวจิ ยั ไปใชใ้ นทางทีช่ อบ เคารพความคิดเห็นทางวชิ าการของผู้อ่นื
ข้นั ตอนการดาเนินการวิจยั 1. ข้ันเลือกหวั ข้อการทาวจิ ัย 2. ขน้ั กาหนดประเด็นปญั หาในการวิจยั 3. ขั้นตั้งวัตถุประสงค์ 4. ขนั้ ตงั้ สมมุตฐิ าน 5. การออกแบบการวิจยั 6. การรวบรวมข้อมูล 7. ขัน้ การวิเคราะหข์ อ้ มูล 8. การแปลความหมายและการตีความข้อมูล 9. สรปุ ผล
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: