INTRO TORESEARCH weerasak
ความรูเ้ บ้อื งต้นเกยี่ วกับการวจิ ัยวธิ ีการเสาะแสวงหาความรู้ (Methods of acquiring knowledge) มนุษย์มคี วามสนใจในส่งิ ตา่ ง ๆ ทีอ่ ยู่รอบตวั มานานนับตง้ั แต่ยคุ เริ่มแรกมาแล้ว โดยเฉพาะความร้ตู ่าง ๆเพอ่ื ท่ีจะนามาแกไ้ ขปัญหาตา่ ง ๆทอ่ี ยู่รอบตวั ความรูต้ า่ ง ๆ ของมนุษย์ ในปจั จุบันนี้ประกอบดว้ ย ข้อเท็จจริงและทฤษฎตี ่าง ๆ ซ่ึงนับวันจะมีข้อคน้ พบมากยิ่งขน้ึ ไปตามระยะเวลา ซง่ึ ความรเู้ หลา่ นช้ี ่วยให้มนุษย์มคี วามรู้ ความเข้าใจ สามารถท่ีจะอธิบาย ควบคมุ หรอื พยากรณ์เหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสถานการณท์ ี่กาหนดใหไ้ ด้ การเสาะแสวงหาความรขู้ องมนุษย์มใิ ชก่ ระบวนการท่เี กิดขนึ้ เองโดยอตั โนมัติ แตเ่ ป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยสติปัญญา และการฝึกฝนตา่ ง ๆ ซ่ึงมวี ิธกี ารเสาะแสวงหาความรู้ของมนุษยจ์ าแนกได้ดงั น้ี 1. วธิ ีโบราณ (Older methods) ในสมยั โบราณมนษุ ยไ์ ดค้ วามรูม้ าโดย 1.1 การสอบถามผ้รู ู้หรอื ผู้มีอานาจ (Authority) เป็นการได้ความรู้จากการสอบถามผ้รู ู้ หรือผมู้ อี านาจเชน่ ในสมยั โบราณเกิดโรคระบาด ผู้คนก็จะถามจากผู้ท่ีมีอานาจว่าควรทา อย่างไร ซงึ่ ในสมัยนน้ั ผู้มีอานาจกจ็ ะแนะนาให้ทาพิธสี วดมนต์ออ้ นวอนตอ่ สิง่ ศักด์สิ ิทธ์ิต่าง ๆ ให้ชว่ ยคล่คี ลายเหตุการณต์ ่าง ๆ คนจงึ เชอ่ื ถือโดยไม่มีการพิสจู น์ 1.2 ความบังเอิญ (Chance) เปน็ การได้ความรู้มาโดยไม่ตัง้ ใจ ซงึ่ ไม่ได้เจตนาท่จี ะศึกษาเรื่องนัน้ โดยตรงแต่บังเอิญเกดิ เหตุการณห์ รือปรากฏการณบ์ างอยา่ งทาให้มนษุ ย์ไดร้ ับความรนู้ นั้ เช่น เพนนซิ ิลินจากราขนมปัง 1.3 ขนบธรรมเนยี มประเพณี (Tradition) เป็นการได้ความรมู้ าจากสิ่งที่คนในสังคมประพฤตปิ ฏบิ ัตสิ บืทอดกนั มาจนเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี และวฒั นธรรม ผ้ทู ่ีใชว้ ธิ กี ารนี้ ควรตระหนักดว้ ยว่าส่งิ ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขนึ้ในอดีตจนเปน็ ขนบธรรมเนียมประเพณีนนั้ ไม่ใชจ่ ะเปน็ สิง่ ที่ถูกต้องและเที่ยงตรงเสมอไป ดังนั้นผูท้ ่ีใช้วิธกี ารนี้ควรจะไดน้ ามาประเมินอย่างรอบคอบเสยี ก่อนท่ีจะยอมรับว่าเปน็ ขอ้ เทจ็ จริง 1.4 ผ้เู ชี่ยวชาญ (Expert) เปน็ การได้ความรจู้ ากผู้เชีย่ วชาญเฉพาะเรื่อง เมื่อมีปัญหาหรอื ต้องการคาตอบเกี่ยวกบั เร่ืองใดกไ็ ปถามผเู้ ชี่ยวชาญ เฉพาะเร่ืองนนั้ เชน่ เรือ่ งดวงดาวตา่ ง ๆ ในท้องฟ้าจากนักดาราศาสตร์เรื่องความเจ็บปว่ ยจากนายแพทย์ 1.5 ประสบการณ์ส่วนตวั (Personal experience) เป็นการได้ความรจู้ ากประสบการณ์ท่ีตนเคยผา่ นมา ประสบการณ์ของแตล่ ะบุคคลชว่ ยเพิม่ ความรู้ให้บุคคลน้ัน เมอื่ ประสบปัญหาก็พยายามระลึกถงึ เหตุการณ ์หรือวธิ กี ารแก้ปญั หาในอดีตเพ่ือเปน็ แนวทางในการแก้ปญั หาทีป่ ระสบอยู่ 1.6 การลองผิดลองถูก (Trial and error) เป็นการได้ความรมู้ าโดยการลอง แก้ปัญหาเฉพาะหนา้ หรอืปัญหาทไ่ี ม่เคยทราบมาก่อน เม่อื แกป้ ัญหานั้นไดถ้ ูกตอ้ งเปน็ ทีพ่ ึงพอใจ กจ็ ะกลายเป็นความรูใ้ หมท่ ีจ่ ดจาไวใ้ ชต้ อ่ ไปถา้ แกป้ ัญหาผดิ กจ็ ะไม่ใชว้ ธิ กี ารนีอ้ ีก 2. วธิ กี ารอนุมาน (Deductive method) คดิ ข้ึนโดยอรสิ โตเติล (Aristotle) เป็นวิธกี ารคดิ เชงิ เหตุผล ซ่งึเปน็ กระบวนการคิดคน้ จากเร่ืองทั่ว ๆ ไปสู่เรื่องเฉพาะเจาะจง หรือคิดจากส่วนใหญ่ไปสูส่ ่วนยอ่ ยจากส่ิงท่รี ู้ไปสู่ สิง่ทไ่ี มร่ ู้ วิธีการอนุมานนจี้ ะประกอบดว้ ย 2.1 ข้อเทจ็ จริงใหญ่ ซึ่งเป็นเหตกุ ารณท์ เ่ี ป็นจรงิ อยู่ในตัวมันเอง หรอื เป็นข้อตกลงที่กาหนดขนึ้ เป็น
กฎเกณฑ์ 2.2 ขอ้ เท็จจริงย่อย ซงึ่ มคี วามสัมพันธก์ ับข้อเท็จจรงิ ใหญ่ หรือเป็นเหตุผลเฉพาะกรณีท่ีต้องการทราบความจรงิ 2.3ผลสรุป เปน็ ข้อสรุปท่ีได้จากการพิจารณาความสัมพนั ธ์ของเหตุใหญ่และ เหตุย่อยตัวอย่างการหาความจริงแบบนี้ เชน่ ตวั อย่างที่ 1 ข้อเทจ็ จริงใหญ่ : สัตวท์ กุ ชนิดต้องตาย ข้อเทจ็ จริงย่อย : แมวเปน็ สตั ว์ชนดิ หน่งึ ผลสรปุ : แมวต้องตาย ตัวอย่างที่ 2 ข้อเท็จจริงใหญ่ : ถา้ โรงเรยี นถกู ไฟไหม้ ครจู ะเปน็ อนั ตราย ข้อเทจ็ จริงย่อย : โรงเรยี นถูกไฟไหม้ ผลสรุป : ครเู ปน็ อนั ตรายการแสวงหาความรโู้ ดยวิธีการอนุมาน จะเปน็ วิธีการท่มี ปี ระโยชน์อย่างยิง่ แต่ก็มขี ้อจากัด ดังน้ี 1. ผลสรปุ จะถูกต้องหรือไม่ ขน้ึ อยูก่ บั ข้อเทจ็ จริงใหญ่กับขอ้ เทจ็ จริงย่อย หรือท้ังคู่ ไม่ถูกต้องกจ็ ะทาใหข้ ้อสรุปพลาด ไปด้วย ดังเชน่ ตัวอยา่ งที่ 2 นนั้ การที่โรงเรียนถูกไฟไหม้ ครใู นโรงเรยี นอาจจะไมเ่ ป็นอันตรายเลยก็ได้ 2. ผลสรปุ ทไี่ ดเ้ ปน็ วธิ ีการสรปุ จากสง่ิ ที่รไู้ ปสูส่ ิ่งที่ไม่รู้ แตว่ ิธีการนไี้ ม่ได้เปน็ การยืนยันเสมอไปว่า ผลสรปุ ท่ีได้จะเชอื่ ถือได้เสมอไป เน่ืองจากถ้าสิ่งทรี่ ู้แตแ่ รกเปน็ ข้อมูลท่ีคลาดเคลอื่ นก็จะสง่ ผลให้ข้อสรุปนัน้ คลาดเคลอื่ นไปดว้ ย 3. วิธกี ารอปุ มาน (Inductive Method) เกิดข้นึ โดยฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon) เน่ืองจากข้อจากัดของวธิ กี ารอมุ านในแง่ทวี่ ่าข้อสรุปนั้น จะเป็นจริงได้ต่อเม่ือข้อเท็จจริงจะต้องถูกเสยี ก่อน จงึ ไดเ้ สนอแนะวิธีการเสาะแสวงหาความรู้ โดยรวบรวมขอ้ เทจ็ จรงิ ย่อย ๆ เสยี ก่อนแล้วจึงสรปุ รวบไปหาส่วนใหญ่ หลกั ในการอปุ มานน้ันมีอยู่ 2 แบบด้วยกนั คือ 3.1 วธิ กี ารอุปมานแบบสมบูรณ์ (Perfect inductive method) เปน็ วิธกี ารแสวงหาความรู้โดยรวบรวมข้อเทจ็ จริงย่อย ๆ จากทกุ หน่วยของกลุ่มประชากร แล้วจงึ สรปุ รวมไปสู่ สว่ นใหญ่ วธิ ีน้ปี ฏบิ ัติได้ยากเพราะบางอยา่ งไม่สามารถนามาศกึ ษาได้ครบทกุ หนว่ ย นอกจากนีย้ งั สิน้ เปลอื งเวลา แรงงาน และคา่ ใชจ้ า่ ยมาก 3.2 วิธกี ารอปุ มานแบบไม่สมบูรณ์ (Imperfect inductive method) เป็นวธิ กี าร เสาะแสวงหาความรู้โดยรวบรวมขอ้ เท็จจริงยอ่ ย ๆ จากบางส่วนของกลมุ่ ประชากร แลว้ สรุปรวมไปสู่สว่ นใหญ่ โดยท่ขี ้อมลู ท่ีศกึ ษานน้ัถือว่าเปน็ ตวั แทนของสิ่งท่ีจะศึกษาท้งั หมด ผลสรุปหรอื ความรู้ทไ่ี ด้รับสามารถอ้างองิ ไปสูก่ ลมุ่ ท่ีศึกษาท้ังหมดได้วิธีการน้เี ปน็ ทีน่ ิยมมากกว่าวธิ ีอุปมานแบบสมบรู ณ์ เนื่องจากสะดวกในการปฏิบตั ิและประหยดั เวลา แรงงานและค่าใชจ้ ่าย 4. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) เปน็ การเสาะแสวงหาความรโู้ ดยใช้หลกั การของ วิธกี ารอนมุ านแล ะวธิ ีการอุปมานมาผสมผสานกัน Charles Darwin เปน็ ผู้รเิ ริ่มนาวิธกี ารนีม้ าใช้ ซ่ึงเมือ่ ต้องการค้นควา้หาความรู้ หรอื แก้ปญั หาในเร่ืองใดกต็ ้องรวบรวมข้อมูลเกยี่ วกับเรอื่ งนน้ั ก่อน แลว้ นาข้อมูลมาใชใ้ นการสร้างสมมติฐาน ซ่ึงเป็นการคาดคะเนคาตอบล่วงหน้า ต่อจากนนั้ เป็นการตรวจสอบปรับปรงุ สมมติฐาน การเก็บรวบรวม
ข้อมูล และการทดสอบสมมติฐาน และJohn Dewey ปรับปรงุ ใหด้ ขี ึ้นแลว้ ให้ชือ่ วธิ ีนว้ี า่ การคิดแบบใครค่ รวญรอบคอบ (reflective thinking) ซงึ่ ต่อมาเปน็ ที่รจู้ ักกันในช่ือของวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ เป็นวธิ กี ารเสาะแสวงหาความร้ทู ด่ี ีในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ไมเ่ พยี งแต่ ปญั หาท่ีเกดิ ขนึ้ ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตรเ์ ท่านั้น แต่ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการแกป้ ัญหาทางการศกึ ษาด้วย ขั้นตอนของวิธกี ารแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์มีดังนี้ 1. ขั้นปัญหา (Problem) 2. ข้ันต้งั สมมตฐิ าน (Hypothesis) 3. ขน้ั รวบรวมขอ้ มลู (Gathering Data) 4. ขน้ั วเิ คราะห์ข้อมูล (Analysis) 5. ขน้ั สรุป (Conclusion)ข้นั ตอนของวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตรท์ ใี่ ช้แก้ปญั หาทางการศกึ ษา 1. การตระหนักถงึ ปญั หา ข้นั นผ้ี เู้ สาะแสวงหาความร้มู ีความรสู้ กึ หรอื ตระหนกั วา่ ปัญหาคืออะไร หรอื มคี วามสงสยั ใคร่รเู้ กิดขน้ึ วา่ คาตอบของปญั หานัน้ คืออะไร 2. กาหนดขอบเขตของปัญหาอยา่ งชดั เจนและเฉพาะเจาะจง ข้ันนีจ้ ะตอ้ งกาหนดขอบเขตของปัญหาทต่ี นจะศึกษาหาคาตอบนนั้ มีขอบเขตกว้างขวางแค่ไหน 3. กาหนดสมมติฐาน ผู้แสวงหาความรู้ คาดคะเนคาตอบของปัญหาโดยการสังเกตจากข้อเทจ็ จริงตา่ ง ๆ ท่ีมีอยู่ 4. กาหนดเทคนิคการรวบรวมข้อมูล รวมท้งั การพฒั นาเคร่ืองมอื ท่ีมคี ุณภาพไวใ้ ช้ในการรวบรวมข้อมูลที่จะตอบปัญหาที่ต้องการ 5. รวบรวมข้อมูล ผู้เสาะแสวงหาความรู้ นาเครือ่ งมือท่ีพฒั นาไว้ในขนั้ ท่ี 4 มารวบรวมขอ้ มลู ทจ่ี ะตอบปญั หาที่ตอ้ งการทราบ 6. วเิ คราะหข์ อ้ มูล นาข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ในขั้นท่ี 5 มาจดั กระทาเพ่ือหาคาตอบ 7. สรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ผเู้ สาะแสวงหาความรู้ สรปุ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลท่ี เกี่ยวข้องกับสมมตฐิ านที่คาดคะเนไวบ้ นพื้นฐานของผลทีไ่ ด้จากการวิเคราะหข์ ้อมลูความหมายของการวิจยั การวจิ ัย ซ่งึ ตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ “Research” ถา้ จะแปลตามตัวหมายถงึ การค้นหาซา้ แลว้ ซ้าอีก ซง่ึความหมายของคาว่าวจิ ยั ทางด้านวิชาการไดม้ ีผู้ใหค้ วามหมายไวต้ ่าง ๆ กัน เช่น เบสท์ (Best, 1981 อ้างถึงใน บญุ เรียง ขจรศลิ ป์ , 2533 : 5) ได้ให้ความหมายของการวิจัยไวว้ ่าเป็นวธิ ีการที่เป็นระบบระเบียบ และมีจดุ มุ่งหมายในการวเิ คราะห์ และคิดบันทกึ การสังเกตทม่ี กี ารควบคุมเพ่ือนาไปสูข่ ้อสรุปอ้างอิง หลักการหรือทฤษฎซี ึ่งจะเปน็ ประโยชนใ์ นการทางานและการควบคุมเหตุการณต์ ่าง ๆ ได้ รตั นะ บวั สนธ์ (2543, 3) ได้ให้ความหมายของการวจิ ยั ไวว้ ่า เป็นการหาความจรงิ เชงิ สาธารณะด้วยวธิ กี ารที่เรยี กวา่ กระบวนการวจิ ยั ซ่งึ มีลกั ษณะเปน็ ระบบมีขน้ั ตอน ผอ่ งพรรณ ตรัยมงคลกลู (2543 : 21) สรุปความหมายของการวิจยั ไวว้ า่ การวจิ ัยคือการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีระบบระเบยี บเพื่อทาความเข้าใจปัญหาและแสวงหาคาตอบ เป็นกระบวนการทอี่ าศัยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์เป็น
หลกั บุญเรยี ง ขจรศลิ ป์ (2533 : 5) ไดใ้ หค้ วามหมายของคาว่า การวิจยั ทางดา้ นวชิ าการ หมายถงึ กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ หรือกระบวนการเสาะแสวงหาความรเู้ พ่ือตอบปญั หาท่ีมีอยู่อยา่ งมีระบบ และมีวัตถุประสงค์ทแ่ี น่นอน โดยอาศยั วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ดังนนั้ การวจิ ยั ทางการศึกษาจงึ หมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรูใ้ หม่ ๆ ที่เปน็ ความจริงเชิงตรรกะ(Logical) หรอื ความจรงิ เชงิ ประจกั ษ์ (Empirical) เพื่อตอบปัญหาทางการศกึ ษาอยา่ งมีระบบ และมีวตั ถปุ ระสงคท์ ี่แน่นอน โดยอาศยั วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ หลักลกั ษณะที่สาคัญของการวิจัย เบสท์ (Best , 1981อ้างถงึ ใน บญุ เรยี ง ขจรศิลป์ , 2533 : 5) ได้สรุปลักษณะทีส่ าคัญของการวิจยั ไวด้ ังนี้ 1. เป้าหมายของการวจิ ัยม่งุ ที่จะหาคาตอบตา่ ง ๆ เพ่ือจะนามาใชแ้ กป้ ัญหาทีม่ ีอยโู่ ดยพยายามท่ีจะศกึ ษาถงึ ความสมั พันธ์ ระหว่าง ตวั แปรในลักษณะความเป็นเหตุเป็นผลซง่ึ กันและกัน 2. การวจิ ยั เนน้ ถงึ การพฒั นาข้อสรปุ หลกั เกณฑ์หรือทฤษฎีตา่ ง ๆ เพ่ือทีจ่ ะเป็นประโยชน์ในการทานายเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ท่จี ะเกดิ ข้ึนในอนาคต เปา้ หมายของการวิจยั นน้ั มไิ ด้ หยุดอยู่เฉพาะกลมุ่ ตัวอย่างทนี่ ามาศึกษาเทา่ น้ัน แต่ข้อสรปุ ทไ่ี ดม้ ุ่งทีจ่ ะอา้ งอิงไปสู่กลมุ่ ประชากร เปา้ หมาย 3. การวจิ ยั จะอาศัยข้อมลู หรือเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ที่สามารถสังเกตไดร้ วบรวมได้ คาถามท่ีน่าสนใจบางคาถามไมส่ ามารถทาการวจิ ัยได้ เพราะไม่สามารถรวบรวมข้อมลู มาศกึ ษาได้ 4. การวิจยั ต้องการเครือ่ งมือและการรวบรวมข้อมูลที่แม่นยา เท่ียงตรง 5. การวิจยั จะเกยี่ วข้องกบั การรวบรวมขอ้ มลู ใหม่ ๆ จากแหลง่ ปฐมภมู ิหรอื ใชข้ ้อมูลทีม่ ีอยู่เดิมเพื่อหาคาตอบของวตั ถปุ ระสงค์ใหม่ 6. กจิ กรรมที่ใช้ในการวจิ ยั เป็นกิจกรรมท่ีกาหนดไว้อย่างมีระบบแบบแผน 7. การวิจัยตอ้ งการผู้รจู้ ริงในเน้อื หาท่จี ะทาการวิจยั 8. การวิจัยเปน็ กระบวนการทีม่ ีเหตุผล และมีความเป็นปรนยั สามารถท่จี ะทาการตรวจสอบความตรงของวิธกี ารทใ่ี ช้ขอ้ มูลทีร่ วบรวมมา และขอ้ สรุปทไ่ี ด้ 9. สามารถทจ่ี ะทาซ้าได้ โดยใชว้ ธิ เี ดียวกัน หรอื วธิ ีการท่ีคลา้ ยคลึงกันถ้ามกี ารเปล่ียนแปลงกล่มุ ประชากรสถานการณ์ หรือระยะเวลา 10. การทาวจิ ยั นั้นจะต้องมีความอดทนและรีบรอ้ นไม่ได้ นักวจิ ยั ควรจะเตรียมใจไวด้ ้วยว่า อาจจะต้องมีความลาบากในบางเรอื่ ง ในบางกรณที ี่จะแสวงหาคาตอบ ของคาถามทยี่ าก ๆ 11. การเขยี นรายงานการวิจยั ควรจะทาอยา่ งละเอียดรอบคอบ ศัพทเ์ ทคนคิ ท่ีใช้ควรจะบัญญตั คิ วามหมายไว้ วิธกี ารท่ใี ชใ้ นการวิจัยอธิบายอย่างละเอียด รายงายผลการวิจยั อย่างตรงไป ตรงมาโดยไม่ใช้ความคิดเหน็ ส่วนตัวไมบ่ ดิ เบือนผลการวจิ ยั 12. การวิจยั นนั้ ตอ้ งการความซ่ือสัตย์และกล้าหาญในการรายงานผลการวิจยั ในบางครงั้ ซงึ่ อาจจะไปขัดกับความรสู้ ึกหรือผลการวิจยั ของคนอ่นื ก็ตามข้อจากดั ของการวจิ ัยทางการศกึ ษา
1. ความซบั ซ้อนของเนื้อหาหรอื ปัญหาที่จะศึกษา 2. ความยากในการรวบรวมขอ้ มลู 3. ความยากในการทาซ้า 4. ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างนกั วจิ ยั และสมาชิกในกลมุ่ ตัวอย่าง หรือกล่มุ ประชากรมผี ลกระทบต่อผลการวิจยั 5. ความยากในการควบคมุ ตวั แปรเกิน 6. เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการรวบรวมข้อมูลทางการศึกษา มีความแม่นยาและเชื่อถือได้ นอ้ ยกวา่ เคร่ืองมือที่ใช้ในการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ประโยชนข์ องการวจิ ัย 1.ชว่ ยสง่ เสริมความรู้ทางดา้ นวชิ าการและศาสตรส์ าขาต่าง ๆ ให้มีการคน้ คว้าข้อเท็จจรงิ มากย่งิ ขึ้น ทงั้ น้ีเพราะวา่ การวิจยั จะทาใหม้ ีการค้นคว้าหาความรูใ้ หม่ ๆ เพ่ิมเตมิ ซงึ่ ทาให้วิทยาการต่าง ๆ เจรญิ กา้ วหน้ามากยิ่งข้นึทงั้ ตวั ผวู้ ิจัยและผูน้ าเอาเอกสารการวจิ ัยไปศึกษา 2. นาความรู้ท่ไี ด้จากการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบตั ิ หรือแก้ปัญหาโดยตรง ช่วยทาใหผ้ ู้ปฏิบตั ิได้เลอื กวธิ ีปฏบิ ัติท่ดี ีทส่ี ุด กอ่ ใหเ้ กดิ การประหยัด 3. ชว่ ยในการกาหนดนโยบาย หรือหลกั ปฏิบตั ิงานต่าง ๆ เปน็ ไปด้วยความถกู ต้อง เหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ 4. ชว่ ยใหค้ น้ พบทฤษฎีและสงิ่ ประดิษฐใ์ หม่ ๆ เพ่ือให้มนุษย์ได้ดาเนนิ ชวี ติ อยู่ในโลกอย่างมีความสุขสบาย 5. ชว่ ยพยากรณผ์ ลภายหน้าของสถานการณ์ ปรากฏการณแ์ ละพฤติกรรมตา่ ง ๆ ได้อย่างถกู ตอ้ ง
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: