รายงานการศกึ ษา การติดตามผลการดาเนนิ การของ หนว่ ยรับตรวจตามขอ้ เสนอแนะ ของสานักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน กลุ่มวิจยั และนวัตกรรม สานกั วิจยั สานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดิน
บทสรปุ สำหรับผู้บริหำร บทสรปุ สำหรับผบู้ ริหำร ตามที่สานักนโยบายและยุทธศาสตรก์ ารตรวจเงนิ แผ่นดินจัดทาข้อมูลเกี่ยวกับการติดตามผล การดาเนินการของหน่วยรับตรวจนาเสนอต่อผู้บริหารเป็นรายไตรมาส ว่านับแต่มีการบังคับใช้พระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ จนถึงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ มีรายงานการ ตรวจสอบท่ีคงค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ จานวน ๑๙,๓๔๖ รายงาน ซ่ึงประกอบด้วยกรณีท่ี หน่วยรับตรวจแจ้งผลการดาเนินการแล้วต้องมีการติดตามต่อ หน่วยรับตรวจยังไม่แจ้งผลการดาเนินการแต่ สานักงานฯ แจ้งเตอื นแล้ว และกรณีหน่วยรับตรวจยังไม่แจ้งผลการดาเนินการและสานักงานฯ ยังไม่แจ้งเตือน โดยในจานวนน้ีเป็นเรื่องที่ล่วงเลยมานานกว่า ๑๐ ปี นับแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๓ ถึงปีงบประมาณ ๒๕๕๐ จานวน ๑,๔๖๗ รายงาน สานักวิจัยโดยกลุ่มวิจัยและนวัตกรรมการตรวจสอบจึงได้ดาเนินการศึกษาเก่ียวกับ การติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือทราบถึงปัญหาอุปสรรคในการดาเนินการติดตามผล และเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็น ระบบ รวมถึงสาเหตหุ รือปัจจัยท่ีทาให้มีรายงานการตรวจสอบคงค้างในระบบบรหิ ารงานตรวจสอบเป็นจานวน มาก ซ่ึงเป็นการศึกษาข้อมูลท้ังในเชิงคณุ ภาพและในเชิงปริมาณ และนามาวิเคราะห์และประมวลผล โดยเลือก กลุ่มตัวอย่างของข้าราชการและลูกจ้างผู้ปฏิบัติหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับการติดตามผลของสานักตรวจสอบในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคที่มีจานวนรายงานการตรวจสอบค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบเป็นจานวนมาก ผลการศึกษา พบว่ารายงานการตรวจสอบค้างติดตามสะสมในระบบบริหารงานตรวจสอบเกิดจากปัจจัยท่ี สาคัญ ๖ ปัจจัย ซงึ่ สามารถสรปุ ไดด้ งั นี้ (๑) กฎหมายว่าดว้ ยการตรวจเงินแผน่ ดนิ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และแนว ปฏิบัติการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน มีการกาหนดลักษณะของข้อตรวจพบและการออกรายงานไว้ตามมาตรา ๔๔ มาตรา ๔๕ และมาตรา ๔๖ ประกอบกับแนวปฏิบัติการติดตามผลได้กาหนดกระบวนการหรือขั้นตอนของการติดตามผลในแต่ละลักษณะ ของการออกรายงานดังกล่าว เช่น กรณีพบว่ามีพฤติการณ์ที่น่าเช่ือว่าเป็นการทุจริตหรือมีการใช้อานาจหน้าท่ี โดยมชิ อบ กอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายแก่เงินหรือทรัพย์สินของราชการ เมื่อพนกั งานสอบสวน ผู้รับตรวจ กระทรวง เจ้าสังกัด ผู้บังคับบัญ ชา หรือผู้ควบคุมกากับหรือรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจ ดาเนินการไป ประการใดแล้วให้แจ้งให้คณะกรรมการฯ ทราบภายในทุกเก้าสิบวัน หรือกรณีตรวจพบว่ามีข้อบกพร่อง เนื่องจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบฯ เมื่อหน่วยรับตรวจดาเนินการประการใดแล้วให้แจ้ง คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินภายใน ๖๐ วัน ในทางปฏิบัติการติดตามผลในกรณีที่พบว่ามีข้อบกพร่อง เนื่องจากการไมป่ ฏบิ ัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั และกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายนั้น นอกเหนือจากการแจง้ ก การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
บทสรุปสำหรับผู้บริหำร ผลการตรวจสอบว่าหน่วยรับตรวจมีการปฏิบัติราชการท่ีมีความบกพร่องแล้ว ยังแจ้งให้ผู้รับตรวจดาเนินการ ทางแพ่งหรือทางวินัยด้วย ซึ่งบางคร้ังการดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง การดาเนินการทางแพ่ง และทางวินัย อาจใช้เวลานาน ผู้ตรวจสอบจึงตอ้ งมีการติดตามผลทุก ๖๐ วนั ซึ่งเปน็ ระยะเวลาทไ่ี ม่มีท่สี ้ินสุด ดงั นั้น จึงทาให้ มรี ายงานการตรวจสอบค้างติดตามในระบบบรหิ ารงานตรวจสอบจานวนมาก นอกจากนี้ แนวทางการติดตามผล ดังกล่าวไม่มีข้อกาหนดว่าผู้ตรวจสอบควรติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจถึงข้ันตอนใดจึงจะ สามารถยุติการติดตามได้ จึงทาให้ผู้ตรวจสอบยุติการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจในขั้นตอนที่ แตกตา่ งกนั ในขณะที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๖๑ ได้บัญญัติลักษณะของข้อตรวจพบไว้หลายลักษณะ โดยเน้นการปฏิบัติของผู้รับตรวจและเจ้าหน้าท่ีของ หน่วยรับตรวจนั้น เช่น กรณีมีข้อบกพร่องเน่ืองจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หรือแบบแผนการปฏิบัติราชการ แล้วเกิดความเสียหายแก่หน่วยรับตรวจซึ่งไม่เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยวินัย การเงินการคลังของรัฐ ในกรณีนี้ หากผู้รับตรวจไม่ดาเนินการให้มีการชดใช้ค่าเสียหายหรือดาเนินการทางวินัย ภายในเวลาท่ีผู้ว่าการฯ กาหนดโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือกรณีเป็นเจ้าหน้าที่ที่มีหน้าท่ีต้องปฏิบัติตาม กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐและผู้รับตรวจไม่อาจดาเนินการเพ่ือให้มีการชดใช้ค่าเสียหายหรือดาเนินการทาง วินัยได้ กรณีเหล่าน้ี ผู้ว่าการฯ สามารถเสนอให้คณะกรรมการฯ ลงโทษทางปกครองแก่ผู้รับตรวจหรือเจ้าหน้าที่ ผูน้ น้ั ได้ เมื่อพิจารณาข้อกาหนดของกฎหมายท่ีเกี่ยวกับการดาเนินการเพ่ือให้มีการชดใช้ค่าเสียหาย หรือดาเนินการทางวินัยข้างต้นอาจทาให้มีการปฏิบัติที่แตกต่างกันได้ ประกอบกับสานักงานฯ ยังไม่มีแนวทาง ในการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่ชัดเจนว่าหน่วยรับตรวจดาเนินกระบวนการแล้วเสร็จถึงข้ันตอนใดจึงจะสามารถยุติการติดตามได้ ประเด็นต่างๆ เหล่านี้อาจเป็นปัญหาต่องานติดตามผลการดาเนนิ งานของหน่วยรับตรวจ (๒) แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีของสานักงานฯ มีการกาหนด คน/วัน ในการติดตามผลการ ดาเนินการของหน่วยรับตรวจไม่สอดคล้องกับปริมาณรายงานผลการตรวจสอบท่ีต้องติดตามในระบบ บริหารงานตรวจสอบ โดยแผนปฏิบัติราชการจะให้ความสาคัญกับ คน/วัน ในการปฏิบัติงานตรวจสอบมากกว่า คน/วัน ในการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ ทาให้ไม่มี คน/วัน ในการติดตามผลการตรวจสอบ ใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ัน ข การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
บทสรุปสำหรบั ผู้บริหำร (๓) การบริหารงานของสานกั ตรวจสอบและการปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าท่ี การบริหารงานของสานักตรวจสอบ เปน็ ปัญหาหนงึ่ ที่มีผลต่อการดาเนนิ การตดิ ตามผล โดยพบว่าผู้มีหน้าที่ควบคุมกากับการปฏิบัติงานติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจส่วนใหญ่ไม่มีการ ควบคุม หรือเร่งรัด หรอื ติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจอย่างจริงจัง ระบบการบรหิ ารเอกสารไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอ ไม่มีการใช้ประโยชน์จากระบบ EIS และไม่มีการสอบยันข้อมูลการติดตามผลจริง กับข้อมลู ในระบบ EIS การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี พบว่าเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการบันทึกข้อมูล ขาดความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับวิธีการ ขน้ั ตอนการบันทึกข้อมูลในระบบ ThaiTerm ให้ถูกต้องครบถ้วน อีกท้ังคู่มือในการ ปฏิบัติงานของระบบ ThaiTerm ไม่มีความชัดเจนเพียงพอ ส่งผลให้ฐานข้อมูลในระบบแสดงสถานะของรายงาน ไมถ่ ูกต้องหรือไมค่ รบถ้วน ปรากฏเปน็ รายงานค้างการตดิ ตามในระบบ (๔) ประเดน็ ขอ้ ทักท้วงหรือขอ้ เสนอแนะ และการพจิ ารณาผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ ประเด็นข้อทักท้วงหรือข้อเสนอแนะบางเรื่องหน่วยรับตรวจจาเป็นต้องใช้ระยะเวลา ในการดาเนินการนาน โดยเฉพาะการดาเนินการทางละเมิด ทางวินัย และทางอาญา และข้อเสนอแนะท่ีให้ หน่วยรับตรวจปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ระบบบริหารงาน การดาเนินการท่ีต้องขับเคล่ือน ร่วมกับหน่วยงานอ่ืน นอกจากน้ี การท่ีหน่วยรับตรวจมีข้อโต้แย้งต่อข้อทักท้วงหรือข้อเสนอแนะ และยังหา ข้อยตุ ิไม่ได้ ส่งผลใหไ้ ม่สามารถยุตเิ รือ่ งในระบบได้ จงึ มรี ายงานการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ ค้างในระบบบรหิ ารงานตรวจสอบเปน็ จานวนมาก (๕) ระบบบริหารงานตรวจสอบ (ThaiTerm) และระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน ตรวจสอบ (EIS) ระบบ ThaiTerm ได้รับการออกแบบให้ทาการบันทึกค่อนข้างยาก มีความซับซ้อนหลาย ข้ันตอน หลายหน้าจอ และไม่รองรับกับระบบปฏิบัติการ Windows ที่ใช้ในปัจจุบัน หรือไม่สามารถใช้กับโน้ตบุ๊ค ประจาตัวในการบันทึกข้อมูลในระบบได้ ในส่วนของระบบ EIS ยังไม่เปิดกว้างอย่างเพียงพอในการให้ เจ้าหนา้ ทไี่ ด้เข้าใช้ประโยชนใ์ นการบริหารงาน และผู้รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการกลมุ่ ซึ่งเป็นระดับชานาญ การไม่สามารถเข้าใช้งานในระบบได้ นอกจากน้ี ทั้ง ๒ ระบบไม่ได้เช่ือมโยงข้อมูลแบบ Real time และคู่มือการ ใช้งานไม่ตอบสนองต่อการใช้งานเท่าท่ีควร ทาให้ไม่สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลให้เป็นประโยชน์ต่อการ ปฏิบตั งิ านอยา่ งเตม็ ที่ (๖) การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร การย้าย ลาออกหรือเกษียณอายุราชการของ เจ้าหน้าทผ่ี ้รู บั ผดิ ชอบ เมื่อมีการปรับเปล่ียนโครงสร้างองค์กรหรือเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบมีการเล่ือนตาแหน่ง โยกย้าย ลาออก หรือเกษียณอายุราชการ สานักตรวจสอบเดิมไม่ได้จัดทาเอกสารการส่งมอบงานเกี่ยวกับ ค การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
บทสรปุ สำหรับผู้บริหำร การติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจและการบันทึกข้อมูลในระบบ ThaiTerm ส่งมอบให้กับสานัก ตรวจสอบตามโครงสร้างใหม่ หรือมีการส่งมอบงานแต่ไม่ได้ระบุรายละเอียดไว้อย่างชัดเจนว่ามีการติดตามผล การตรวจสอบและบันทึกข้อมูลแต่ละเร่ืองไวใ้ นระบบหรือไม่ หรือเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบไม่ได้ส่งมอบงานติดตาม ผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจและการบันทึกข้อมูลในระบบก่อนการโยกย้าย หรือในกรณีการจดั ตั้งสานัก ตรวจเงินแผ่นดินจังหวัด ซ่ึงมีการขอใช้อาคารสถานท่ีของส่วนราชการอ่ืน บางแห่งมีพ้ืนท่ีจากัด และไม่มี สถานที่จัดเก็บเอกสาร ต้องนาเอกสารบางส่วนเก็บไว้ที่ห้องพัสดุของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค ทาให้การคน้ หาแฟม้ เรือ่ งเพ่ือใชใ้ นการตดิ ตามผลการตรวจสอบมคี วามไมส่ ะดวกและเกิดความล่าช้า หรือค้นหา เอกสารไม่พบ รวมถงึ กรณีท่ีเจ้าหน้าท่ีคนใหม่ท่ีได้รับมอบหมายต้องใชเ้ วลาในการศกึ ษาข้อเท็จจริง และข้อทักท้วง ของเร่อื งเดมิ จงึ ต้องใชเ้ วลาในการศึกษาทาความเข้าใจ ข้อเสนอแนะ ๑. ให้สานักกฎหมายและสานักวิจัยร่วมกันกาหนดแนวทางในการติดตามผลการดาเนินการ ของหนว่ ยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานฯ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการตรวจ เงนิ แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ ใหช้ ดั เจนว่าหน่วยรบั ตรวจดาเนนิ กระบวนการแลว้ เสรจ็ ถึงข้นั ตอนใดจงึ จะสามารถยุติ การตดิ ตามได้ ๒. ในการปฏิบัตริ าชการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปี สานกั ตรวจสอบควรให้ความสาคัญ กับการติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน อยา่ งเคร่งครัด ๓. ให้สถาบันพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดินและศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศให้ความรู้หรือจัด ฝึกอบรมเก่ียวกับการใช้งานระบบ EIS และระบบ ThaiTerm แก่บุคลากรของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ให้สามารถใช้ประโยชน์จากระบบในการควบคุมกากับการปฏิบัติราชการภายในสานักตรวจสอบ และให้ ผู้ปฏิบัติงานสามารถบันทึกข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ซ่ึงจะช่วยลดจานวนรายงานการ ตรวจสอบที่ค้างตดิ ตามในระบบได้ ๔. ผู้อานวยการสานักตรวจสอบควรเร่งรัดการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ โดยเฉพาะรายงานการตรวจสอบท่ีครบกาหนดระยะเวลาท่ีหน่วยรับตรวจต้องแจ้งผลการดาเนินการ เพ่ือลด จานวนรายงานทคี่ ้างในระบบบริหารงานการตรวจสอบ ๕. สานักตรวจสอบควรจัดการเอกสารการตรวจสอบอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะกรณีท่ี ขา้ ราชการเลื่อนระดบั ย้าย เกษียณ หรืออ่นื ใดทที่ าให้เจ้าหน้าที่ผู้น้ันพน้ จากหน้าทใ่ี นการติดตามผลในเรอื่ งน้ัน ๆ โดยให้จัดทาบันทึกการส่งมอบเอกสารเก่ียวกับงานติดตามผลให้ครบถ้วน และให้มีการตรวจสอบความถูกต้อง ของการสง่ มอบ รวมถึงให้มรี ะบบการจดั เกบ็ เอกสารทส่ี ามารถสบื คน้ และนาเอกสารมาใชป้ ระโยชน์ไดโ้ ดยงา่ ย ๖. สานักตรวจสอบแต่ละสานักควรมีการมอบหมายผู้รับผิดชอบในการติดตามผลการ ดาเนินการของหน่วยรับตรวจเปน็ ประจาและควรดาเนนิ การตดิ ตามอยา่ งตอ่ เนื่อง ง การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
บทสรปุ สำหรบั ผู้บริหำร ๗. ระบบบริหารงานตรวจสอบ (ThaiTerm) และระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน ตรวจสอบ (EIS) ควรดาเนนิ การ ดงั นี้ • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศควรปรับปรุงระบบ ThaiTerm ให้สะดวกต่อการใช้งาน โดยเพ่ิมพ้ืนที่ในการบันทึกข้อมูลในระบบ เพ่ิมสิทธิหรือเพ่ิมรหัสให้กับเจ้าหน้าที่ในการเข้าใช้งานระบบ ThaiTerm และระบบ EIS และปรับปรงุ ให้สามารถแก้ไขข้อมูลที่ผดิ พลาดได้ทนั ทีหรือแก้ไขโดยงา่ ย • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศควรปรับปรุงข้อมูลในระบบหรือขั้นตอนการบันทึกข้อมูลใน ระบบให้สอดคลอ้ งกับคมู่ อื ระเบียบ หรือกฎหมายใหม่ท่ีมผี ลบงั คบั ใช้ในปจั จุบนั • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศควรปรับปรุงระบบ EIS ให้แสดงข้อมูลท่ีเป็นปัจจุบัน ตรงกับ ข้อมลู ของระบบ ThaiTerm • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศพิจารณาจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์และเคร่ืองพิมพ์ ท่สี ามารถรองรบั การใช้งานระบบให้เพยี งพอและเหมาะสม • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศปรับปรุงคู่มือการใช้งานให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โดยเฉพาะส่วนท่ีจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานเป็นประจา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้งานระบบและ สามารถลดปญั หารายงานที่คา้ งตดิ ตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ • สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคควรเพ่ิมเวลาในการเปิด-ปิดสัญญาณของ ศนู ย์แม่ขา่ ยประจาสานกั เพ่อื ให้เจ้าหนา้ ที่สามารถบนั ทึกข้อมูลนอกเวลาราชการได้ • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศควรพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัยและสะดวก ต่อการใช้งาน เช่น การพัฒนาแอพพลิเคช่ัน (Application) ท่ีสามารถใช้งานผ่านมือถือหรือแทบเล็ต การพัฒนา ระบบการแจ้งเตือนงานค้างผ่านทางอีเมล (email) ของสานักหรือกลุ่มงาน หรือการพัฒนาระบบให้สามารถ Upload หนังสือหรือเอกสารที่เก่ียวข้องกับการติดตามผล เพ่ือเก็บเป็นหลักฐานและอาจใช้ประโยชน์ในกรณีท่ี เอกสารต้นฉบับสูญหาย เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายในการพัฒนาระบบบริหารและการจัดการ ทางด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ สามารถรองรับการเปล่ียนแปลงของสังคมในยุคดิจิทัล และแนวทางการ พัฒนาประเทศภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติและการเขา้ สู่การพฒั นายุคประเทศไทย ๔.๐ จ การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
สารบญั หน้า ก บทสรปุ สาหรับผู้บริหาร ฉ สารบญั ช สารบัญตาราง ซ สารบัญแผนภาพและกราฟ ฌ สารบญั ภาคผนวก บทท่ี ๑ บทนา ๑ ๒ • ความเปน็ มา ๒ • วัตถุประสงค์ของการศึกษา • ขอบเขตการศึกษา 3 บทท่ี ๒ กรอบแนวคิดในการศึกษา • กฎหมายวา่ ด้วยการตรวจเงินแผน่ ดนิ และแนวทางการติดตามผลการดาเนนิ การ 7 ๘ ของหน่วยรบั ตรวจ ๑๑ • หลกั การของการติดตามผล • แนวคิดทีเ่ กย่ี วข้องกบั การติดตามและประเมนิ ผล ๑๓ บทที่ ๓ ประชากร กลุ่มตวั อย่าง และวิธกี ารศกึ ษา บทที่ ๔ ผลการศึกษา ๑๖ • การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหนว่ ยรับตรวจในระบบบรหิ ารงานตรวจสอบ ๑๙ • ปจั จัยทส่ี ง่ ผลตอ่ การติดตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ๒๐ 23 ๑) กฎหมายว่าด้วยการตรวจเงินแผน่ ดิน ๒) นโยบายการตรวจเงนิ แผ่นดินและแผนปฏบิ ัติราชการประจาปี ๒๕ ๓) การบริหารงาน และการปฏบิ ัตงิ านของเจา้ หนา้ ท่ี ๔) ประเดน็ ข้อทักท้วงหรอื ขอ้ เสนอแนะ และการพจิ ารณาผลการดาเนนิ การ ๒๗ ของหน่วยรบั ตรวจ 29 ๕) ระบบบริหารงานตรวจสอบ (ThaiTerm) และระบบสารสนเทศ ๓2 ๓5 เพือ่ การบรหิ ารงานตรวจสอบ (EIS) ๖) การปรับเปล่ียนโครงสร้างองค์กร การย้าย ลาออก หรือเกษียณอายรุ าชการ ฉ ของเจ้าหน้าท่ี บทที่ ๕ ขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก
สารบญั ตาราง หน้า ๑๓ ตารางท่ี ๑ รายงานการตรวจสอบที่คา้ งติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ ๑๔ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๑ (ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน) ๑๕ ตารางท่ี ๒ รายงานการตรวจสอบที่คา้ งติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบกรณีที่ ครบกาหนดระยะเวลาแจ้งผลแล้วหนว่ ยรบั ตรวจยงั ไมแ่ จง้ ผลการดาเนินการ ๑๖ ปงี บประมาณ พ.ศ ๒๕๕๖ - ๒๕๖๑ (ณ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน) ตารางท่ี ๓ รายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตามในระบบบรหิ ารงานตรวจสอบ ณ วันท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๑ แยกตามปีงบประมาณที่ออกรายงาน (ตงั้ แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๖๑) ตารางท่ี ๔ รายงานการตรวจสอบที่คา้ งติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ ณ วันที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๑ แยกตามลักษณะงาน ช
สารบญั แผนภาพและกราฟ หน้า ๑๐ แผนภาพท่ี ๑ กรอบแนวคิดในการศึกษาการตดิ ตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ ๑๒ แผนภาพท่ี ๒ กระบวนการศึกษาปัญหาอุปสรรคของการตดิ ตามผลการดาเนนิ การ ๑๔ ของหน่วยรบั ตรวจ กราฟที่ ๑ กราฟแสดงจานวนรายงานติดตามฯ ต้ังแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๑ ซ
สารบัญภาคผนวก หน้า ๓6 ภาคผนวกท่ี ๑ แบบสอบถาม 39 ภาคผนวกท่ี ๒ บนั ทึกข้อความถึงสานักตรวจสอบ จานวน ๓๙ สานัก ฌ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั บทท่ี ๑ บทนำ ควำมเป็นมำ ตามท่ีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดให้สานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดินมีหน้าที่ตรวจสอบบัญชี การรับ การใช้จา่ ย การใช้ประโยชน์ การเก็บ รักษาเงิน และทรัพย์สินของหน่วยรับตรวจ หรือที่หน่วยรับตรวจมีอานาจหรือสิทธิในการใช้จ่ายหรือใช้ ประโยชน์ และเม่ือผลการตรวจสอบปรากฏว่ามีข้อบกพร่องเนื่องจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรี ให้คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินแจ้งให้หน่วยรับตรวจช้ีแจงหรือแก้ไข ข้อบกพร่องหรือปฏิบัติให้ถูกต้อง หรือแจ้งให้หน่วยรับตรวจดาเนินการตามกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผนท่ี ราชการหรือหน่วยรับตรวจกาหนดแก่เจ้าหน้าที่ผรู้ ับผดิ ชอบตามควรแก่กรณี ซ่งึ หมายถึงการดาเนินการเพื่อให้ มีการชดใช้ค่าเสียหายแก่ราชการหรือดาเนินการทางวินัยเพื่อลงโทษผู้กระทาความผิด ในขณะเดียวกัน สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินก็มีอานาจหน้าที่ในการติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจว่ามีการ ดาเนนิ การตามคาแนะนาหรอื ขอ้ เสนอแนะของสานกั งานฯ หรอื ไมเ่ พียงใด ในภาพรวมแต่ละปีสานักงานฯ มีข้อเสนอแนะให้หน่วยรับตรวจดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง พร้อมเรียกให้ชดใช้ค่าเสียหายหรือเรียกเงินคืนเป็นจานวนมาก เช่น ปีงบประมาณ ๒๕๔๘ จานวน ๓๘๙.๕๙ ลา้ นบาท ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ จานวน ๙๒๙.๙๘ ล้านบาท ปงี บประมาณ ๒๕๕๔ จานวน ๑,๒๖๓.๖๔ ล้านบาท และปีงบประมาณ ๒๕๕๙ จานวน ๘๐,๐๓๙ ลา้ นบาท ดังน้นั การติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรบั ตรวจ จึงเป็นกระบวนการท่ีสาคัญ เพ่ือใช้วัดผลการตรวจสอบว่าหน่วยรับตรวจได้ดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่องหรือ ปฏิบตั ิให้ถูกตอ้ งตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คับหรือไม่ รวมถงึ มีการติดตามเรยี กให้มีการชดใชค้ ่าเสียหายหรือ เรียกเงินคืนแก่ทางราชการหรือไม่ หากการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจเป็นไปอย่างมีระบบ และมีความต่อเน่ือง จะเป็นการสร้างความม่ันใจว่าการตรวจสอบนั้นบรรลุวัตถุประสงค์ ประชาชนและสังคม เกิดความเชอื่ มนั่ ว่าหนว่ ยงานภาครฐั ใช้จ่ายเงินอย่างถกู ต้อง เป็นประโยชนต์ ่อประเทศชาติและประชาชน สานักนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ (สนย.) ได้สรุปผลการปฏิบัติราชการงานตรวจสอบและ งานสนับสนุนเสนอต่อผู้บริหารเป็นรายไตรมาส พบว่า งานติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจตาม ข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นประเด็นหนึ่งที่สาคัญและเป็นปัญหาสะสมมาอย่าง ต่อเน่ือง ดังท่ีปรากฏในรายงานของสานักนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ ไตรมาสท่ี ๔ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ว่ามีรายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ ต้ังแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๒ จนถึงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ จานวน ๑๙,๓๔๖ รายงาน ซ่ึงมีท้ังกรณีที่หน่วยรับตรวจแจ้งผลการดาเนินการแล้ว และต้องมีการติดตามต่อ กรณีหน่วยรับตรวจยงั ไม่แจ้งผลการดาเนินการแต่สานักงานฯ แจ้งเตอื นแล้ว และกรณี หน่วยรับตรวจยังไม่แจ้งผลการดาเนินการและสานักงานฯ ยังไม่แจ้งเตือน โดยในจานวนน้ีเป็นรายงานที่ค้าง ตดิ ตามสะสมมานานกวา่ ๑๐ ปี จานวน ๑,๔๖๗ รายงาน (นับแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๓ ถงึ ปีงบประมาณ ๒๕๕๐) 1 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย ผู้บริหารของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ให้ความสาคัญกับปัญหางานติดตามผลการ ดาเนนิ การของหนว่ ยรับตรวจที่ค้างติดตามสะสมในระบบบรหิ ารงานตรวจสอบมาตลอด โดยมีข้อสง่ั การตา่ ง ๆ เพื่อลดปริมาณงานค้างติดตามสะสม เช่น การเร่งรัดการดาเนินการติดตาม การให้สานักที่เกี่ยวข้องศึกษา แนวทางแก้ไขปัญหา เป็นต้น ประกอบกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ ยังคงกาหนดหน้าที่และอานาจให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินติดตามผลการดาเนินงานของ หน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานฯ ดังน้ัน สานักวิจัยจึงได้ทาการศึกษาสถานการณ์ของงาน การติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ เพื่อให้ทราบถึงปัญหาอุปสรรค ปัจจัยท่ีมีผลต่อรายงาน การตรวจสอบที่ค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ และหาแนวทางแก้ไข โดยมุ่งหวังให้การติดตามผล การดาเนินการของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานฯ มีประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขน้ึ วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ ๑. เพ่ือทราบถึงปัญหา อุปสรรคในการดาเนินงานว่ามีปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการติดตามผล การดาเนินการของหนว่ ยรบั ตรวจ ๒. เพือ่ การจดั ทาขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ ขอบเขตของกำรศึกษำ คณะผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตของการศึกษา โดยเก็บข้อมูลรายงานการตรวจสอบที่ค้าง ตดิ ตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ ต้ังแตป่ ีงบประมาณ ๒๕๔๓ – ๒๕๖๑ การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง โดยเป็นการเก็บข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ได้แก่ ข้อมูลจานวนรายงานค้างติดตาม ในระบบ EIS การใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของสานักตรวจสอบท้ังใน สว่ นกลางและส่วนภูมิภาค จานวน ๓๙ สานกั ที่มจี านวนรายงานติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ ค้างในระบบบริหารงานตรวจสอบจานวนมาก เพื่อรวบรวม สรุป และนามาวิเคราะห์ถึงปัญหาอุปสรรค และสาเหตุหรือปัจจัยท่ีทาให้มีรายงานการตรวจสอบค้างติดตามสะสมมากข้ึน โดยรายงานผลการศึกษา ได้นาเสนอเน้อื หา ๕ ส่วน คอื บทนา กรอบแนวคิดของการศึกษา วิธีการศกึ ษา ผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ 2 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั บทท่ี ๒ กรอบแนวคิดในกำรศึกษำ การศึกษาการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจน้ี เป็นการศึกษาภายใต้กรอบ แนวคิดทางวิชาการในเร่ืองต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการติดตามผล ประกอบด้วย กฎหมายว่าด้วยการตรวจเงิน แผ่นดิน และแนวทางการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ ความหมายของการติดตามผล ความสาคัญของการติดตามผล ประเภทของการติดตามผล และแนวคิดท่ีเก่ียวข้องกับการติดตามและ ประเมินผล กฎหมำยว่ำด้วยกำรตรวจเงินแผน่ ดนิ และแนวทำงกำรตดิ ตำมผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรบั ตรวจ • พระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู ว่ำดว้ ยกำรตรวจเงนิ แผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๔๒ มำตรำ ๑๕ ให้คณะกรรมการมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับการวางนโยบายการตรวจเงิน แผ่นดิน การกาหนดหลักเกณฑม์ าตรฐานเก่ียวกับการตรวจเงินแผน่ ดิน การกาหนดหลักเกณฑ์และวธิ ีพิจารณา ในเร่ืองวินัยทางงบประมาณและการคลัง การให้คาปรึกษาและคาแนะนา การเสนอแนะให้มีการแก้ไข ขอ้ บกพร่องเก่ียวกับการตรวจเงนิ แผ่นดนิ การกาหนดโทษปรับทางปกครอง การพิจารณาวินิจฉัยความผิดวินัย ทางงบประมาณและการคลังในฐานะที่เป็นองค์กรสูงสุด การพิจารณาเลือกผู้สมควรดารงตาแหน่งผู้ว่าการ ตรวจเงินแผ่นดิน และการดาเนินการอ่ืนตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีในเร่ือง ดงั ตอ่ ไปน้ี (๔) เสนอแนะให้หน่วยรับตรวจแก้ไขข้อบกพร่องหรือปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรี และเสนอแนะในประการอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร ตลอดจนตดิ ตามการดาเนินการแกไ้ ขและการปฏิบัติตามคาแนะนา มำตรำ ๓๙ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีอานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับราชการท่ัวไปของ คณะกรรมการ และใหม้ ีอานาจหน้าทีด่ ังตอ่ ไปนี้ (๓) จัดทารายงานผลการปฏิบัติงานประจาปีของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเสนอต่อ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และคณะรัฐมนตรี ตามมาตรา ๔๘ และการรายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างปี ตามมาตรา ๔๙ (๔) ติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอของสานักงานการตรวจเงิน แผ่นดินตามท่ีปรากฏในรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านประจาปหี รอื รายงานผลการปฏิบตั งิ านระหว่างปี ... มำตรำ ๔๔ ในกรณีที่คณะกรรมการพิจารณาผลการตรวจสอบแล้ว ปรากฏว่ามีข้อบกพร่อง เนื่องจากไม่ปฏิบัตติ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรี ใหค้ ณะกรรมการมีหนังสือแจ้งใหห้ น่วย รับตรวจช้ีแจง หรือแก้ไขข้อบกพร่องหรือปฏิบัติให้ถูกต้อง หรือให้ดาเนินการตามกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผน ที่ราชการหรือหน่วยรับตรวจกาหนดไว้แก่เจ้าหน้าที่หน่วยรับตรวจซ่ึงเป็นผู้รับผิดชอบตามควรแก่กรณี 3 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวัตกรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั และให้หน่วยรับตรวจแจ้งผลการดาเนินการให้คณะกรรมการทราบภายในหกสิบวัน เว้นแต่คณะกรรมการจะ กาหนดเปน็ อย่างอน่ื ในกรณีท่ีคณะกรรมการเห็นว่าข้อบกพร่องเกิดขึ้นเน่ืองจากกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรีไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน หรือไม่อาจปฏิบัติได้ หรือหากปฏิบัติแล้วจะเสีย ประโยชน์ต่อราชการ ให้คณะกรรมการแจ้งต่อผู้มีอานาจหน้าที่ในเร่ืองนั้น ๆ เพื่อพิจารณาดาเนินการปรับปรุง แก้ไขตอ่ ไป ถ้าผู้รับตรวจไม่ดาเนินการตามวรรคหนึ่งโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้คณะกรรมการแจ้งต่อ กระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้ควบคุมกากับหรือรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจดาเนินการตามกฎหมาย หรือ ระเบียบแบบแผนที่ราชการหรือหน่วยรับตรวจกาหนดแก่ผู้รับตรวจและเจ้าหน้าท่ีหน่วยรับตรวจผู้ รับผิดชอบ ตามควรแกก่ รณี ในกรณีที่มีข้อโต้แย้งหรือไม่อาจดาเนินการตามมาตรานี้ได้ ให้คณะกรรมการรายงานต่อ สภาผู้แทนราษฎร วุฒสิ ภา และคณะรัฐมนตรี มำตรำ ๔๕ ในกรณีที่คณะกรรมการพิจารณาผลการตรวจสอบแล้วปรากฏว่ามี ข้อบกพร่องของหน่วยรับตรวจ เน่ืองจากไม่มีข้อกาหนดให้หน่วยรับตรวจต้องปฏิบัติ ให้คณะกรรมการแจ้งให้ กระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกากับหรือรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจ แล้วแต่กรณี ทราบ เพ่ือกาหนดมาตรการที่จาเป็นเพ่ือให้หน่วยรับตรวจไปปฏิบัติ และเม่ือกระทรวงเจ้าสังกัดหรือ ผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกากับหรือรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจดาเนินการไปประการใดแล้ว ให้แจ้งให้ คณะกรรมการทราบภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการกาหนด โดยคณะกรรมการอาจกาหนดระยะเวลา รายงานความคืบหนา้ ไวด้ ว้ ยกไ็ ด้ มำตรำ ๔๖ ในกรณีท่ีคณะกรรมการพิจารณาผลการตรวจสอบแลว้ ปรากฏว่ามพี ฤติการณ์ น่าเช่ือว่าเป็นการทุจริตหรือมีการใช้อานาจหน้าท่ีโดยมิชอบ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่เงินหรือทรัพย์สินของ ราชการ ให้คณะกรรมการแจ้งต่อพนักงานสอบสวนเพื่อดาเนินคดี และให้คณะกรรมการแจ้งผลการตรวจสอบ ดังกล่าวให้ผู้รับตรวจ หรือกระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกากับหรือรับผิดชอบของ หน่วยรับตรวจ แล้วแตก่ รณี ดาเนนิ การตามกฎหมายหรือตามระเบยี บแบบแผนที่ราชการหรือท่ีหน่วยรับตรวจ กาหนดไว้แกเ่ จ้าหนา้ ท่ีผรู้ ับผิดชอบดว้ ย การดาเนินคดีตามวรรคหน่ึง ให้พนักงานสอบสวนนารายงานการตรวจสอบของสานักงาน การตรวจเงินแผน่ ดินมาใช้เป็นหลักในการสอบสวนดว้ ย เม่ือพนักงานสอบสวน ผู้รับตรวจ กระทรวงเจ้าสังกัด ผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกากับ หรือรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจตามวรรคหน่ึง ดาเนินการไปประการใดแล้วให้แจ้งให้คณะกรรมการทราบ ภายในทุกเกา้ สิบวนั 4 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั ในกรณีท่ีพนักงานสอบสวน ผู้รับตรวจ กระทรวงเจ้าสังกัด ผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุม กากับหรือรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจไม่ดาเนินการตามวรรคหน่ึงภายในระยะเวลาอันสมควร ให้คณะกรรมการ รายงานต่อสภาผู้แทนราษฎร วฒุ สิ ภา และคณะรฐั มนตรี มำตรำ ๖๓ ผรู้ ับตรวจหรือผ้บู งั คับบัญชาหรือผู้ควบคมุ กากับหรอื รับผิดชอบของหนว่ ยรับตรวจ ผใู้ ด ละเลยไม่ดาเนนิ การตามมาตรา ๔๔ มาตรา ๔๕ หรือมาตรา ๔๖ ให้ถือว่าผนู้ น้ั กระทาผดิ วนิ ัย • แนวทำงกำรติดตำมผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจตำมข้อเสนอแนะของ สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดนิ สานักวิจัยและพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน (ชื่อเดิม) ได้จัดทาแนวทางการติดตามผลการ ดาเนินการของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ฉบับวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๙ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ านตดิ ตามผลการดาเนินการของหนว่ ยรับตรวจ โดยกาหนดแนวทางการติดตามผล ตามลักษณะการรายงานผลการตรวจสอบ ตามมาตรา ๔๔ มาตรา ๔๕ และมาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยการตรวจเงนิ แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ • พระรำชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวำ่ ด้วยกำรตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ มำตรำ ๕๔ นอกจากหน้าที่และอานาจตามมาตรา ๕๓ ให้ผู้ว่าการมีหน้าที่และอานาจ ดงั ต่อไปนดี้ ้วย (๑) กาหนดแผนการตรวจสอบประจาปเี พื่อให้สานักงานถือปฏิบตั ิ และเสนอคณะกรรมการ เพ่ือทราบ (๒) ตรวจสอบรายงานการเงนิ แผ่นดินประจาปีงบประมาณ และแสดงความเห็นว่าเป็นไป ตามกฎหมายและตามความเป็นจรงิ หรือไม่ (๓) ตรวจสอบบัญชีทุนสารองเงนิ ตราประจาปี และแสดงความเห็นว่าเป็นไปตามกฎหมาย และตามความเปน็ จริงหรอื ไม่ (๔) แจ้งผลการตรวจสอบและติดตามให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องดาเนินการตามหน้าที่และ อานาจเพือ่ ให้เปน็ ไปตามผลการตรวจสอบ... มำตรำ ๕๙ สานกั งานมีหนา้ ท่แี ละอานาจ ดังต่อไปน้ี (๖) จัดทารายงานผลการปฏิบัติงานประจาปีและรายงานผลการปฏิบัติงานระหว่างปี เสนอต่อคณะกรรมการเพ่ือให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะ หรือข้อท้วงติง และพิจารณาเห็นชอบก่อนเสนอสภา ผู้แทนราษฎร วฒุ สิ ภา และคณะรฐั มนตรที ราบ (๗) ติดตามผลการดาเนนิ งานของหน่วยรบั ตรวจตามขอ้ เสนอแนะของสานกั งาน... มำตรำ ๘๕ ในกรณีท่ีผลการตรวจสอบปรากฏว่ามีข้อบกพร่องเนื่องจากเจ้าหน้าท่ีของ หน่วยรับตรวจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หรือแบบแผนการปฏิบัติราชการ 5 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย ให้ผู้ว่าการมีหนังสือแจ้งข้อบกพร่องพร้อมท้ังข้อเสนอแนะให้ผู้รับตรวจทราบเพ่ือดาเนินการแก้ไขและควบคุม หรือกากับมิให้เกิดข้อบกพร่องขึ้นอีก แต่ผู้ว่าการต้องรับฟังคาช้ีแจงและเหตุผลหรือความจาเป็นของหน่วยรับตรวจ ประกอบดว้ ย ในกรณีตามวรรคหน่ึง ถ้าก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐหรือหน่วยรับตรวจท่ีไม่เกี่ยวกับ กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ ให้ผู้วา่ การแจ้งให้ผู้รับตรวจพิจารณาดาเนินการเพื่อให้มีการชดใช้ ค่าเสียหายแก่รัฐหรือหน่วยรับตรวจหรือดาเนินการทางวินัย แล้วแต่กรณี และเมื่อผู้รับตรวจดาเนินการ เปน็ ประการใดแล้วใหแ้ จ้งให้ผ้วู า่ การทราบ ในกรณีที่ผลการตรวจสอบประกอบกับคาชี้แจงของหน่วยรับตรวจปรากฏว่ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หรือแบบแผนการปฏิบัติราชการใดไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ หรือ การปฏิบตั ิตามจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อราชการหรือประชาชน ใหเ้ ป็นหน้าทข่ี องผวู้ า่ การที่จะเสนอแนะต่อ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่อื ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคับ มติคณะรัฐมนตรี หรอื แบบแผนการปฏิบัติ ราชการให้เหมาะสมต่อไป ในกรณเี ช่นนั้น การดาเนินการของหน่วยรบั ตรวจท่ีบกพร่องให้เป็นอันพับไป เว้นแต่ เปน็ กรณที ุจริต มำตรำ ๙๕ ในการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ หากข้อบกพร่องที่ตรวจพบไม่มีลักษณะเป็นการทุจรติ และไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐหรือหน่วยรับตรวจ ผูว้ ่าการจะแจ้งใหผ้ ูร้ บั ตรวจทราบเพื่อกากับดูแลมใิ หเ้ กิดข้อบกพร่องอีกก็ได้ ในกรณีท่ีข้อบกพร่องที่ตรวจพบมีลักษณะเป็นการทุจริต ให้ผู้ว่าการส่งเรื่องให้คณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติดาเนินการตามหน้าที่และอานาจต่อไป และให้นาความในมาตรา ๘๘ วรรคสอง มาใชบ้ งั คับดว้ ยโดยอนุโลม ในกรณที ข่ี ้อบกพร่องทีต่ รวจพบมีลักษณะกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายแก่รัฐหรอื หน่วยรบั ตรวจ หรอื มีลักษณะเป็นการจงใจไมป่ ฏิบตั ิตามกฎหมายว่าดว้ ยวนิ ัยการเงินการคลงั ของรฐั ให้ผู้ว่าการแจ้งให้ผรู้ ับตรวจ พิจารณาดาเนินการเพ่ือให้มีการชดใช้ค่าเสียหายต่อรัฐหรือหน่วยรับตรวจต่อไป หรือดาเนินการทางวินัย แลว้ แต่กรณี และเมือ่ ผรู้ บั ตรวจดาเนินการแล้วใหแ้ จง้ ให้ผ้วู ่าการทราบ ในกรณีทผ่ี ้รู ับตรวจไม่ดาเนินการตามที่ได้รับแจ้งตามวรรคสามภายในเวลาอันสมควร ผู้วา่ การ จะแจง้ ใหด้ าเนนิ การภายในระยะเวลาทีก่ าหนดก็ได้ มำตรำ ๙๖ ผู้รับตรวจผู้ใดไม่ดาเนินการภายในเวลาท่ีผู้ว่าการกาหนดตามมาตรา ๘๕ วรรคสองหรือมาตรา ๙๕ วรรคสี่ โดยไม่มีเหตุอันสมควร ผู้ว่าการจะเสนอต่อคณะกรรมการให้ลงโทษทางปกครอง แก่ผรู้ บั ตรวจผ้นู ้นั กไ็ ด้ ในการเสนอเพ่ือให้ลงโทษตามวรรคหนึ่ง ให้ผวู้ ่าการสรปุ ข้อเท็จจริง และพฤติการณท์ ่เี ป็น เหตุอนั ควรลงโทษทางปกครอง พรอ้ มทั้งข้อเสนอแนะเกี่ยวกบั โทษที่สมควรลงดว้ ย 6 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ยั มำตรำ ๙๗ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดมีหน้าท่ีต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลัง ของรัฐจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐและเป็นกรณีที่ไม่อาจดาเนินการตาม มาตรา ๙๕ วรรคสาม หรอื มาตรา ๙๖ ใหผ้ ู้ว่าการเสนอตอ่ คณะกรรมการให้ลงโทษทางปกครองแกผ่ ู้นั้น โดยให้ นาความในมาตรา ๙๖ วรรคสอง มาใช้บังคับดว้ ยโดยอนุโลม มำตรำ ๑๑๔ บรรดาการดาเนินการใด ๆ ตามหน้าที่และอานาจของคณะกรรมการตรวจ เงินแผ่นดิน ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน หรือสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งดาเนินการก่อนวันที่พระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญน้ีใช้บังคับ ถ้าการนัน้ อยู่ในหน้าที่และอานาจของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้วา่ การตรวจเงิน แผ่นดิน หรือสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี ให้ถือว่าการน้ัน เป็นการดาเนินการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ ส่วนการดาเนินการต่อไปให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญนี้ หลักกำรของกำรตดิ ตำมผล ควำมหมำยของกำรตดิ ตำมผล การติดตามผล หมายถึง กระบวนการเก็บข้อมูลตัวชี้วัดท่ีสาคัญของงานอย่างต่อเน่ือง เพ่ือเป็นเครอ่ื งบ่งชี้ความคบื หนา้ และความสาเร็จของงาน ตลอดจนความคบื หนา้ ของการใชจ้ า่ ยงบประมาณ การติดตามผลเป็นกระบวนการติดตามงานเพื่อทราบถึงความก้าวหน้าในการบริหารจัดการ เพ่ือให้ได้ผลผลิตตามแผนภายในเวลาที่กาหนด โดยใช้ข้อมูลจากระบบข้อมูลพื้นฐานเพื่อการจัดทารายงาน การติดตามผล เกบ็ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลและเหตุการณต์ า่ งๆ ที่เกดิ ขึน้ จากการดาเนนิ งาน รวมถงึ ปัญหา อุปสรรคในการดาเนนิ งานและแนวทางการแก้ไข การติดตามผล หมายถึง กระบวนการของการวดั หรอื การตรวจสอบท่ีทาเป็นชว่ งๆ ได้แก่ การวัด ปัจจัยนาเข้า (Inputs) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Outputs) ที่เกิดข้ึนในช่วงการดาเนินงานตามแผน โดยท่ัวไปเป็นการติดตามในด้านการจัดหาและการนาทรัพยากรมาใช้ว่าเป็นไปตามท่ีกาหนดไว้ในแผนและ กาหนดการหรือไม่ วัตถุประสงค์ของการติดตาม คือ ต้องการชี้ให้เห็นถึงสถานการณ์ของโครงการให้เร็วที่สุด เก่ียวกับการใช้ทรัพยากร การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ หรือผลิตผลของโครงการเพ่ือการจัดการแก้ไขปรับปรุง สถานการณ์ต่าง ๆ ของโครงการทเ่ี ป็นไปทนั ท่วงที 7 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ยั ควำมสำคญั ของกำรตดิ ตำมผล เป็นกระบวนการท่ีช่วยให้ระบบการวางแผนและการบริหารงาน/โครงการบรรลุผลอย่างมี ประสิทธิภาพ เพราะเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ เก่ียวกับการดาเนินงาน/โครงการเพื่อให้ได้ผลงานตาม เป้าหมายท่ีกาหนด นอกจากนี้ การติดตามผลเป็นเทคนิคสาคัญในการเร่งรัดโครงการให้ดาเนินการแล้วเสร็จ ตามเวลาและเป้าหมาย ซ่ึงการติดตามผลจะเกิดประโยชน์สงู สุดจะต้องดาเนินการเป็นระบบและต่อเน่ือง และ ต้องมีการรายงานถึงผลการติดตามและนาผลการติดตามไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนางาน/โครงการ และการบริหารงาน/โครงการในโอกาสต่อไป ประเภทของกำรตดิ ตำม มี ๓ ประเภท ๑) การติดตามผลการปฏิบัติงาน ได้แก่ การติดตามดวู า่ การปฏิบตั ิงานตามโครงการน้ันได้ผลงาน ก้าวหนา้ ไปในทศิ ทางท่สี อดคลอ้ งกับแผนปฏบิ ัตงิ าน ตลอดจนงบประมาณท่ีกาหนดไวห้ รือไม่ ๒) การติดตามประสิทธิภาพของโครงการ ได้แก่ การศึกษาติดตามดูว่าเม่ือมีการปฏิบัติงาน เพ่ือให้ได้ผลผลิตของโครงการออกมาน้ัน ได้ใช้กรรมวิธีการผลิตหรือวิธีดาเนินงานท่ีประหยัดท่ีสุดหรือไม่ โดยอาจจะมกี ารเทียบเคียงใหเ้ ห็นสดั สว่ นของผลผลติ กับปจั จยั นาเข้าของโครงการ ๓) การติดตามประเมินผลของโครงการ ได้แก่ การศึกษาติดตามดูว่าการปฏิบัติงานตาม โครงการน้ันได้ก่อให้เกิดผลผลิตตามท่ีกาหนดไว้หรือไม่ และผลผลิตท่ีเกิดข้ึนดังกล่าวสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ ของโครงการได้มากนอ้ ยเพยี งใด แนวคิดท่เี กยี่ วขอ้ งกับกำรตดิ ตำมและประเมินผล ๑. แนวคดิ ในกำรจดั กำรองค์กร การติดตามและประเมินผล เป็นกระบวนการที่สาคัญกระบวนการหน่ึงของกระบวนการ จัดการองค์กร ซึ่งหมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการสาหรับการประสานและบูรณาการการใช้ทรัพยากรเพ่ือ การบรรลุเป้าหมายขององค์กรด้วยการใช้คน ซึ่งคนจะใช้เทคนิคและข่าวสารในโครงสร้างขององค์กร การจัดการ จึงเป็นการปฏิบัติที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ของทฤษฎีองค์การมาใช้ให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร ซึ่งอาจจะเป็น ผลผลิต บริการ หรอื ความพึงพอใจ โดยกระบวนการจัดการดังกลา่ วประกอบด้วย การวางแผน การจัดองค์กร การเปน็ ผนู้ า และการประเมนิ ผล ๒. แนวคดิ ในกำรควบคมุ และประเมินผลแผนกลยุทธ์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ ไดแ้ ก่ ๒.๑ การติดตามผลการดาเนินการ เป็นเครื่องมือสาคัญของผู้บริหารที่จะสร้างความม่นั ใจว่า การปฏิบัติงานขององค์กรเป็นไปอย่างถูกต้อง สร้างผลงานท่ีสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายท่ีกาหนด ซึ่งจะช่วยให้ ผู้บริหารทราบถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึน และผู้บริหารสามารถใช้ประโยชน์ในการปรับเปล่ียนกลยุทธ์ ให้สอดรบั กับสถานการณท์ เ่ี ปลีย่ นแปลง 8 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย การติดตามผลการดาเนินงานหมายความรวมถึงการรวบรวมผลการดาเนินงาน ในแต่ละช่วงเวลาของกิจกรรม โครงการ สอดคล้องตามตัวชี้วัด ผลสาเร็จของการดาเนินงานในแต่ละระดับที่ กาหนดไว้ในแผนปฏิบัตงิ านประจาปี ๒.๒ การรายงานความกา้ วหน้า เปน็ กระบวนการหลังจากมกี ารรวบรวมผลการดาเนนิ งาน ตามแผนกลยทุ ธภ์ ายใต้กรอบของตัวชี้วดั ผลสาเร็จของการดาเนินงานในแต่ละชว่ งเวลาแลว้ ซง่ึ ผู้มหี นา้ ทใี่ นการ กากับติดตามผลต้องทารายงานเสนอผบู้ ริหารให้ทราบถงึ ความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานเป็นระยะ รวมท้ังข้อมูล ยอ้ นกลับให้แกผ่ เู้ ก่ยี วข้อง เพ่ือปรับปรุงแก้ไขการปฏิบตั ิงานให้เปน็ ไปตามแนวทางท่เี หมาะสม ๒.๓ การวดั ผลและประเมินผล ประกอบดว้ ยกระบวนการยอ่ ย ๓ ขัน้ ตอน ได้แก่ การเก็บ รวบรวมขอ้ มลู การวิเคราะห์และประเมินผลขอ้ มูล และการนาเสนอผลการประเมิน การวัดผลและประเมินผล จะเป็นการประเมินผลสาเร็จของการปฏิบัติงานตามแผนในแต่ละรอบเวลาที่กาหนด ซึ่งจะเป็นข้อมูลพ้ืนฐาน ในการวางแผนกลยทุ ธ์ขององคก์ รต่อไป ๓. แนวคิด Balanced Scorecard Robert S. Kaplan และ David P. Norton ได้เสนอแนวคิด Balanced Scorecard เพื่อใช้วัดผลของกิจการท่ีจะทาให้ผู้บริหารระดับสูงเห็นภาพรวมขององค์กรได้ชัดเจนข้ึน นอกจากการวัด ทางด้านการเงินแล้ว ต้องมีการวัดผลด้านกระบวนการบริหารงาน การสร้างความพอใจให้แก่ลูกค้า ตลอดจน สร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้ให้แก่องค์กรเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการสร้างอนาคตให้แก่ องค์กรด้วย ผู้บริหารจึงสามารถประเมินศักยภาพโดยรวมขององค์กรและความสามารถในการแข่งขันและ อนาคตขององค์กรน้ัน ๆ ได้ชัดเจนย่ิงขึ้น โดยขอบเขตในการวัดผลตามแนวคิดของ Balanced Scorecard จะประกอบดว้ ยประเดน็ ตา่ ง ๆ ได้แก่ (๑) วัตถุประสงค์ เพื่อกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของแตล่ ะมุมมองท่ตี ้องการจะชว้ี ัด (๒) ตวั ชีว้ ดั คือ ตัวช้วี ดั น้ันจะแสดงให้เห็นวา่ องค์กรได้บรรลถุ งึ วัตถุประสงค์ในแต่ละด้านหรอื ไม่ (๓) เปา้ หมาย คอื เปา้ หมายหรอื ค่าตัวเลขท่ีตง้ั ไว้ เพื่อใหอ้ งค์กรบรรลถุ ึงคา่ น้ัน ๆ (๔) แผนงาน โครงการทต่ี ้งั ใจ คอื แผนการปฏิบัติงานทมี่ กี ารลาดับเป็นขั้น ๆ ในการจดั ทากจิ กรรม จำกแนวคิดดังกล่ำว คณะผู้ศึกษำเห็นว่ำ การติดตามผลเป็นกระบวนการติดตามงาน เพอ่ื ทราบถึงความกา้ วหน้าในการบริหารจัดการวา่ สามารถสร้างผลผลิตไดต้ ามแผนภายในเวลาที่กาหนดหรอื ไม่ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีเกิดจากการดาเนินงาน รวมถึงข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล มาวิเคราะห์เพื่อทราบ ถึงปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานและแนวทางการแก้ไข เพื่อประกอบการจัดทารายงานการติดตามผล โดยนาแนวคิดในการจัดการองค์กร แนวคิดในการควบคุมและประเมินผลแผนกลยุทธ์ และแนวคิดของ Balanced Scorecard มาผสมผสานเพ่ือกาหนดเป็นกรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา โดยคานึงถึงปัจจัยนาเข้า เช่น กฎหมายว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน นโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการประจาปี โดยมี 9 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ัย กระบวนการในการบริหารและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รวมถึงระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน และผลของ การดาเนินการ คอื สถิติขอ้ มูลเก่ยี วกับการตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหนว่ ยรับตรวจ แผนภำพที่ ๑ กรอบแนวคิดในกำรศึกษำกำรติดตำมผลกำรดำเนนิ กำรของหน่วยรบั ตรวจ 10 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ยั บทที่ ๓ ประชำกร กลุ่มตัวอยำ่ ง และวธิ กี ำรศึกษำ การศึกษาน้ี เป็นการศึกษางานติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจตั้งแต่ ปีงบประมาณ ๒๕๔๓ ถึงปีงบประมาณ ๒๕๖๑ โดยเก็บข้อมูลจากระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารงาน ตรวจสอบ (EIS) และเอกสารที่เกีย่ วข้อง รายละเอยี ด ดงั น้ี ประชำกร • ประชากรเป็นข้าราชการ และลูกจ้างของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งปฏิบัติงาน ในสานักตรวจสอบ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค และสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัด และปฏิบัติ หน้าทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ กลมุ่ ตัวอยำ่ งและกำรคัดเลือกกลมุ่ ตัวอย่ำง • คดั เลือกจากสานกั ตรวจสอบ (ทุกลกั ษณะงาน) ที่มรี ายงานค้างติดตามในระบบบริหารงาน ตรวจสอบ ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๐ รวม ๓๙ สานักตรวจสอบ จาก ๑๒๑ สานกั ตรวจสอบ • ข้าราชการ และลูกจ้างของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินท้ังส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ โดยแบ่งเป็น (๑) ผู้อานวยการ สานัก (๒) นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดินชานาญการพิเศษ อย่างน้อยลักษณะงานละ ๑ คน และ (๓) เจ้าหนา้ ท่ี ผู้ปฏบิ ตั งิ านติดตามผลการตรวจสอบ อย่างนอ้ ยลักษณะงานละ ๑ คน รวมจานวนตัวอย่างทงั้ สนิ้ ๑๙๖ คน กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู (๑) รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างท่ีตอบแบบสอบถาม ระหว่างวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๑ ถึงวันท่ี ๕ เมษายน ๒๕๖๑ (๒) รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ (๓) รวบรวมและศึกษาข้อมูลเก่ียวกับกฎหมายวา่ ด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน รายงานแผน-ผล การปฏิบัติราชการประจาปีระหว่างปีงบประมาณ ๒๕๔๖ ถึงปีงบประมาณ ๒๕๖๐ และข้อมูลสถิติเก่ียวกับ การติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรบั ตรวจ กำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพประกอบกับข้อมูลเชิงปริมาณ เพ่ือให้ได้สภาพปัญหาอุปสรรค ของการปฏบิ ัตงิ าน พร้อมสาเหตุและข้อเสนอแนะ 11 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย แผนภำพท่ี ๒ กระบวนกำรศกึ ษำปัญหำอุปสรรคของกำรติดตำมผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจ 12 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย บทท่ี ๔ ผลกำรศกึ ษำ กำรติดตำมผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรบั ตรวจในระบบบรหิ ำรงำนตรวจสอบ จากการที่สานักนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ (สนย.) ประมวลผลข้อมูลการติดตามผลการ ดาเนินการของหน่วยรับตรวจจากระบบ EIS และรวบรวมข้อมูลรายงานค้างติดตามผลการดาเนินการของ หนว่ ยรบั ตรวจนาเสนอผบู้ ริหารเป็นรายไตรมาส ปลี ะ ๒ ครัง้ (ไตรมาสที่ ๒ และไตรมาสที่ ๔) คณะผู้ศึกษาได้เปรียบเทียบข้อมูลรายงานการตรวจสอบที่ค้างติดตามในระบบบริหารงาน ตรวจสอบสาหรับไตรมาสท่ี ๔ ในช่วง ๖ ปีย้อนหลัง พบว่า จานวนรายงานค้างติดตามผลการดาเนินการของ หน่วยรบั ตรวจมีแนวโนม้ เพม่ิ สูงขนึ้ ดังนี้ ตำรำงท่ี ๑ รายงานการตรวจสอบที่ค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๑ (ณ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน) รำยงำนคำ้ งติดตำมผลกำรดำเนินกำรของหนว่ ยรบั ตรวจ หนว่ ย:รายงาน เพ่มิ (ลด) จำก ปงี บประมำณ หน่วยรับตรวจ หนว่ ยรบั ตรวจยังไม่แจง้ ผลกำรดำเนินกำร ปกี อ่ น แจง้ ผลแล้ว แจ้งเตือน ยงั ไมแ่ จง้ รวม รวมทัง้ ส้นิ ตดิ ตำมตอ่ แลว้ เตือน จำนวน ร้อยละ ๒๕๕๖ ๔,๖๘๗ ๖๔๗ ๘,๒๔๕ ๘,๘๙๒ ๑๓,๕๗๙ - - ๒๕๕๗ ๕,๙๓๙ ๘๐๒ ๗,๕๒๑ ๘,๓๒๓ ๑๔,๒๖๒ ๖๘๓ ๕.๐๓ ๒๕๕๘ ๖,๕๓๙ ๙๗๔ ๗,๕๕๘ ๘,๕๓๒ *๑๕,๐๗๑ ๘๐๙ ๕.๖๗ ๒๕๕๙ ๘,๑๒๐ ๙๖๙ ๑๐,๓๑๗ ๑๑,๒๘๖ ๑๙,๔๐๖ ๔,๓๓๕ ๒๘.๗๖ ๒๕๖๐ ๘,๖๙๓ ๑,๐๓๙ ๙,๖๑๔ ๑๐,๖๕๓ ๑๙,๓๔๖ (๖๐) (๐.๓๑) ๒๕๖๑ ๙,๕๖๓ ๑,๑๒๗ ๙,๓๒๔ ๑๐,๔๕๑ *๒๐,๐๑๔ ๖๖๘ ๓.๔๕ ที่มา : ขอ้ มูลจากระบบสารสนเทศเพอื่ การบริหารงานตรวจสอบ (http://eis.oag.go.th) * ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ข้อมูล ณ วันท่ี ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ (เน่อื งจาก ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘ ไม่มกี ารเก็บ รวบรวมข้อมลู ) และปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ เปน็ ขอ้ มูลปจั จุบัน ณ วันที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๑ 13 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั จากข้อมูลรายงานการตรวจสอบที่ค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบตามตารางท่ี ๑ ซงึ่ แสดงรายละเอยี ดจานวนรายงานค้างตดิ ตามผลการดาเนินการของหนว่ ยรบั ตรวจ แยกเป็น ๓ กรณี คอื ๑) รายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตาม กรณีหน่วยรบั ตรวจแจ้งผลการดาเนนิ การแลว้ แต่ตอ้ ง ตดิ ตามผลการดาเนนิ การต่อ ๒) รายงานการตรวจสอบที่ค้างติดตาม กรณีครบกาหนดระยะเวลาแจ้งผลแล้ว หน่วยรับตรวจ ยังไมแ่ จง้ ผลการดาเนินการ แตส่ านักงานการตรวจเงินแผน่ ดนิ ได้แจง้ เตอื นแล้ว ๓) รายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตาม กรณีครบกาหนดระยะเวลาแจ้งผลแล้ว หน่วยรับตรวจ ยงั ไมแ่ จง้ ผลการดาเนนิ การ แตส่ านกั งานการตรวจเงินแผน่ ดนิ ยังไมแ่ จ้งเตอื น จะเห็นได้ว่า จานวนรายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตามกรณีท่ีครบกาหนดระยะเวลาแจ้งผลแล้ว หน่วยรับตรวจยังไม่แจ้งผลการดาเนินการ แต่สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินยังไม่แจ้งเตือน มีสัดส่วนสูงกว่า กรณีทส่ี านักงานฯ แจ้งเตอื นแล้วอย่างมนี ัยสาคญั รายละเอียด ดังน้ี ตำรำงท่ี ๒ รายงานการตรวจสอบที่ค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ กรณีท่ีครบกาหนดระยะเวลาแจ้งผลแล้ว หน่วยรบั ตรวจยังไม่แจง้ ผลการดาเนนิ การ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๑ (ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน) หนว่ ย : รายงาน ปีงบประมำณ รำยงำนคำ้ งติดตำมท่ีหนว่ ยรับตรวจยงั ไม่แจ้งผลกำรดำเนินกำร แจ้งเตือนแล้ว คิดเปน็ ร้อยละ ยงั ไมแ่ จง้ เตอื น คิดเป็นรอ้ ยละ รวม ๒๕๕๖ ๖๔๗ ๗.๒๘ ๘,๒๔๕ ๙๒.๗๒ ๘,๘๙๒ ๒๕๕๗ ๘๐๒ ๙.๖๔ ๗,๕๒๑ ๙๐.๓๖ ๘,๓๒๓ ๒๕๕๘ ๙๗๔ ๑๑.๔๒ ๗,๕๕๘ ๘๘.๕๘ *๘,๕๓๒ ๒๕๕๙ ๙๖๙ ๘.๕๙ ๑๐,๓๑๗ ๙๑.๔๑ ๑๑,๒๘๖ ๒๕๖๐ ๑,๐๓๙ ๙.๗๕ ๙,๖๑๔ ๙๐.๒๕ ๑๐,๖๕๓ ๒๕๖๑ ๑,๑๒๗ ๑๐.๗๘ ๙,๓๒๔ ๘๙.๒๒ *๑๐,๔๕๑ ทีม่ า : ข้อมูลจากระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานตรวจสอบ (http://eis.oag.go.th) 14 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ยั นอกจากนี้ จากข้อมูลรายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ สาหรับไตรมาสที่ ๒ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ (ณ วนั ที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๑) มีจานวนรายงานค้างติดตามฯ สะสม ท้ังหมด ๒๐,๐๑๔ รายงาน ในจานวนน้ีเป็นรายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตามฯ เกินกว่า ๑๐ ปี (ตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๕๒) รวมทั้งสิ้น ๒,๖๕๑ รายงาน ดงั น้ี ตำรำงท่ี ๓ รายงานการตรวจสอบที่ค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๑ แยกตาม ปีงบประมาณทีอ่ อกรายงาน (ตั้งแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๖๑) หน่วย:รายงาน ปีงบประมำณ หน่วยรบั ตรวจ หน่วยรับตรวจยังไม่แจง้ ผลกำรดำเนินกำร รวมทง้ั ส้ิน ทีอ่ อกรำยงำน แจ้งผลแล้ว ติดตำมตอ่ แจง้ เตือนแล้ว ยงั ไมแ่ จ้งเตือน รวม ๒๕๔๓ ๖ ๒ ๑๑ ๑๓ ๑๙ ๒๕๔๔ ๖๘ ๑ ๓๕ ๓๖ ๑๐๔ ๒๕๔๕ ๓๑ ๓ ๕๘ ๖๑ ๙๒ รำยงำนกำร ๒๕๔๖ ๙๒ ๑๓ ๕๘ ๗๑ ๑๖๓ ตรวจสอบท่ี คำ้ งเกินกว่ำ ๒๕๔๗ ๑๐๗ ๘ ๑๐๗ ๑๑๕ ๒๒๒ ๑๐ ปี ๒๕๔๘ ๘๒ ๑๐ ๑๐๙ ๑๑๙ ๒๐๑ จำนวน ๒๕๔๙ ๑๑๕ ๑๑ ๙๑ ๑๐๒ ๒๑๗ ๒,๖๕๑ ๒๕๕๐ ๒๒๘ ๑๙ ๘๙ ๑๐๘ ๓๓๖ รำยงำน ๒๕๕๑ ๓๔๗ ๙๐ ๒๔๔ ๓๓๔ ๖๘๑ ๒๕๕๒ ๓๖๓ ๕๐ ๒๐๓ ๒๕๓ ๖๑๖ ๒๕๕๓ ๔๑๖ ๔๔ ๒๒๖ ๒๗๐ ๖๘๖ ๒๕๕๔ ๖๕๔ ๖๐ ๔๗๔ ๕๓๔ ๑,๑๘๘ ๒๕๕๕ ๕๓๖ ๗๙ ๔๐๓ ๔๘๒ ๑,๐๑๘ ๒๕๕๖ ๘๗๓ ๑๑๑ ๔๘๔ ๕๙๕ ๑,๔๖๘ ๒๕๕๗ ๑,๒๓๒ ๑๑๘ ๘๔๓ ๙๖๑ ๒,๑๙๓ ๒๕๕๘ ๑,๔๐๕ ๙๖ ๑,๐๙๗ ๑,๑๙๓ ๒,๕๙๘ ๒๕๕๙ ๑,๕๘๗ ๑๗๘ ๑,๗๐๐ ๑,๘๗๘ ๓,๔๖๕ ๒๕๖๐ ๑,๒๘๒ ๑๙๔ ๒,๓๘๓ ๒,๕๗๗ ๓,๘๕๙ ๒๕๖๑ ๑๓๙ ๔๐ ๗๐๙ ๗๔๙ ๘๘๘ รวมทงั้ สน้ิ ๙,๕๖๓ ๑,๑๒๗ ๙,๓๒๔ ๑๐,๔๕๑ ๒๐,๐๑๔ คดิ เป็นร้อยละ ๔๗.๗๘ ๕.๖๓ ๔๖.๕๙ ๕๒.๒๒ ๑๐๐.๐๐ 15 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย ตำรำงท่ี ๔ รายงานการตรวจสอบท่ีคา้ งติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ ณ วนั ที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๑ แยกตามลักษณะงาน หนว่ ย : รายงาน ลกั ษณะงำน หนว่ ยรบั ตรวจ หนำ่ ยรับตรวจยงั ไมแ่ จง้ ผลกำรดำเนนิ กำร คิดเปน็ ตรวจสอบ ร้อยละ แจ้งผลแล้ว แจง้ เตอื นแล้ว ยังไม่ รวม รวมทั้งสน้ิ ติดตำมตอ่ แจ้งเตือน การเงนิ ทั่วไป ๘๐๕ ๑๐๖ ๒๓๘ ๓๔๔ ๑,๑๔๙ ๕.๗๔ งบการเงนิ ๔,๓๖๘ ๓๕๘ ๒,๘๙๗ ๓,๒๕๕ ๗,๖๒๓ ๓๘.๐๙ จดั เกบ็ รายได้ ๑๓๘ ๒๑ ๑๓๘ ๑๕๙ ๒๙๗ ๑.๔๘ สบื สวน ๑,๐๙๙ ๕๕ ๓๑๖ ๓๗๑ ๑,๔๗๐ ๗.๓๕ ดาเนนิ งาน ๖๘ ๗ ๕๑ ๕๘ ๑๒๖ ๐.๖๓ จัดซื้อจดั จา้ ง ๓,๐๘๕ ๕๘๐ ๕,๖๘๔ ๖,๒๖๔ ๙,๓๔๙ ๔๖.๗๑ รวมทัง้ สิน้ ๙,๕๖๓ ๑,๑๒๗ ๙,๓๒๔ ๑๐,๔๕๑ ๒๐,๐๑๔ ๑๐๐.๐๐ คดิ เป็นร้อยละ ๔๗.๗๘ ๕.๖๓ ๔๖.๕๙ ๕๒.๒๒ ๑๐๐.๐๐ ทม่ี า : ขอ้ มูลจากระบบสารสนเทศเพอ่ื การบริหารงานตรวจสอบ (http://eis.oag.go.th) ดว้ ยข้อมูลสถิติของจานวนรายงานการตรวจสอบท่ีคา้ งติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ ทม่ี แี นวโน้มเพ่ิมสูงขึ้น และจานวนรายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตามกรณีทค่ี รบกาหนดระยะเวลาแจ้งผลแล้ว หน่วยรบั ตรวจยงั ไมแ่ จง้ ผลการดาเนินการ แต่สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดนิ ยังไมแ่ จง้ เตอื น ซึ่งมีสดั ส่วนสงู กว่า กรณที สี่ านักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดินแจ้งเตือนแล้วอย่างมีนัยสาคญั รวมถึงจานวนรายงานการตรวจสอบที่ค้าง ติดตามเกินกว่า ๑๐ ปี ซึ่งมีจานวนสูงถึง ๒,๖๕๑ รายงาน จึงได้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับงานติดตามผล การดาเนินงานของหน่วยรับตรวจ ทั้งในระบบการบริหารงานตรวจสอบ เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง และข้อมูลท่ีได้จาก การสอบถามและสมั ภาษณ์ผู้ทเ่ี กย่ี วขอ้ งตามกลมุ่ ตัวอย่าง พบว่า มปี จั จัยหลายประการท่มี ีผลต่อการติดตามผล การดาเนินงานของหนว่ ยรบั ตรวจตามขอ้ เสนอแนะของสานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน ดังน้ี ปจั จยั ที่ส่งผลต่อกำรตดิ ตำมผลกำรดำเนนิ กำรของหนว่ ยรับตรวจ (๑) กฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรตรวจเงินแผ่นดิน พระรำชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวำ่ ด้วยกำรตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดให้ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบการเงินแผ่นดิน โดยตรวจสอบการรับจ่าย การเก็บรักษา และการใช้จ่ายเงินและทรัพย์สินอ่ืนของหน่วยรับตรวจ หรือท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วย รับตรวจ และแสดงความเห็นว่าเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีหรือไม่ ตรวจสอบการใช้จ่ายเงิน การใช้จ่ายทรัพย์สินอ่ืน หรือการจัดซ้ือจัดจ้างตามแผนงาน งานหรือโครงการ ของ 16 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ัย หน่วยรบั ตรวจ และแสดงความเห็นว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป็นไปโดยประหยัด ได้ผลตามเปา้ หมายและมีผล คุ้มค่าหรือไม่ รวมถึงสานักงานฯ มอี านาจหน้าที่ในการติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะ ของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินตามท่ีปรากฏในรายงานผลการปฏิบัติงานประจาปีหรือรายงานผลการ ปฏิบัติงานระหวา่ งปี ลกั ษณะโดยทั่วไปของข้อตรวจพบท่ีได้จากการตรวจสอบของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ มี ๓ ลักษณะ ซึ่งจะมีการ ดาเนนิ การหรอื ติดตามผลทีแ่ ตกตา่ งกนั กล่าวโดยสรุป คือ • กรณีตรวจพบข้อบกพรอ่ งเนื่องจำกกำรไม่ปฏบิ ัติตำมกฎหมำย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ มติคณะรัฐมนตรี (มาตรา ๔๔) คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินจะแจ้งให้หน่วยรับตรวจช้ีแจง หรือแก้ไข ข้อบกพร่องหรือปฏิบัติให้ถูกต้อง หรือให้ดาเนินการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนท่ีกาหนดแก่เจ้าห น้าท่ี ผู้รับผิดชอบ รวมถึงให้แจ้งผลการดาเนินการให้คณะกรรมการฯ ทราบภำยในหกสิบวัน หากไม่ดาเนินการ โดยไม่มีเหตุอันสมควร คณะกรรมการฯ จะแจ้งกระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้ควบคุมกากับหรือรับผิดชอบ ดาเนนิ การตามกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผนแก่ผู้รับตรวจและเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบตามควรแกก่ รณี หากมี ขอ้ โตแ้ ยง้ หรอื ไม่อาจดาเนินการดงั ทีก่ ล่าวมาได้ จะรายงานต่อสภาผู้แทนราษฎร วฒุ ิสภา และคณะรัฐมนตรี • กรณีตรวจพบข้อบกพร่องเนื่องจากไม่มีข้อกำหนดให้หน่วยรับตรวจปฏิบัติ (มาตรา ๔๕) คณะกรรมการฯ จะแจ้งกระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกากับหรือรับผิดชอบกาหนด มาตรการทจ่ี าเปน็ เพ่ือให้หนว่ ยรับตรวจปฏบิ ตั ิ และใหแ้ จ้งใหค้ ณะกรรมการฯ ทราบภายในระยะเวลาท่ีกาหนด • กรณีพบพฤติกำรณ์น่ำเชื่อว่ำเป็นกำรทุจริตหรือมีกำรใช้อำนำจหน้ำที่โดยมิชอบ ก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่เงินหรือทรัพย์สินของรำชกำร (มาตรา ๔๖) คณะกรรมการฯ จะแจ้งพนักงาน สอบสวนดาเนินคดี และแจ้งผู้รับตรวจ หรือกระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกากับหรือ รับผิดชอบ ดาเนินการตามกฎหมายหรือตามระเบียบแบบแผนแกเ่ จ้าหน้าทผี่ ้รู ับผิดชอบ และให้ผู้รับตรวจ หรือ กระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกากับหรือรับผิดชอบแจ้งให้คณะกรรมการทราบภำยใน ทุกเก้ำสิบวัน หากพนักงานสอบสวน ผู้รับตรวจ กระทรวงเจ้าสังกัด ผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกากับหรือ รับผิดชอบของหน่วยรับตรวจไม่ดาเนินการภำยในระยะเวลำอันสมควร ให้คณะกรรมกำรฯ รำยงำนต่อ สภำผู้แทนรำษฎร วุฒิสภำ และคณะรัฐมนตรี ทัง้ น้ี บทกาหนดโทษสาหรบั ผู้รบั ตรวจหรือผ้บู ังคับบัญชาหรือผู้ควบคุมกากับ หรือรับผิดชอบ ของหนว่ ยรบั ตรวจท่ลี ะเลยไมด่ าเนินการตามทีก่ ฎหมายกาหนด ดงั ทก่ี ล่าวขา้ งต้น ถอื วา่ เปน็ ผ้กู ระทาผิดวินยั ในส่วนการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ สานักงานฯ ได้กาหนดแนวทาง ในการปฏิบัติไว้ ตามแนวทางการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงาน การตรวจเงินแผ่นดิน ฉบับวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๙ โดยกาหนดกระบวนการ/ขั้นตอนของการติดตามผล จาแนกตามลักษณะการแจ้งผลการตรวจสอบตามมาตรา ๔๔ มาตรา ๔๕ และมาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติ 17 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวัตกรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และมีการจาแนกการติดตามผลออกเป็น หลายกรณี ประกอบด้วย กรณีที่หน่วยรับตรวจแจ้งผลการดาเนินการตามกาหนดระยะเวลาและดาเนินการ แล้วเสร็จ กรณีที่หน่วยรับตรวจแจ้งผลการดาเนินการตามกาหนดระยะเวลาและยังดาเนินการไม่แล้วเสร็จ/ ไม่ครบถ้วน กรณีที่หน่วยรับตรวจแจ้งผลการดาเนินการตามกาหนดระยะเวลาและหน่วยรับตรวจมีข้อโต้แย้ง และกรณีที่หน่วยรับตรวจไม่แจ้งผลการดาเนินการภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ซ่ึงแต่ละกรณีมีขั้นตอน/กระบวนการ ทแี่ ตกต่างกนั อย่างไรก็ตามในทางปฏบิ ตั ิก็ยังมีปญั หาอุปสรรคในการติดตามผลสาหรับข้อเสนอแนะท่ีหน่วยรับตรวจ ตอ้ งใช้ระยะเวลานานในการดาเนินการ เช่น การดาเนินการทางแพ่ง ทางวินัย และทางอาญา โดยสานักงานฯ ได้กาหนดให้ติดตามผลการดาเนินการเป็นหนังสือทุก ๖๐ วัน หรือทุก ๙๐ วันแล้วแต่กรณี ซึ่งจะเห็นได้ว่า การติดตามผลในกรณีดังกล่าวอาจต้องใช้เวลาในการดาเนินการยุติเรื่องนาน ประกอบกับสานักงานฯ ไม่มีการ กาหนดว่าการดาเนินการทางละเมิด หรือทางวินัย ของหน่วยรับตรวจขั้นตอนใดที่เพียงพอสาหรับการยุติ การติดตามได้ จึงเป็นสาเหตุหนึ่งท่ีทาให้มีรายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตามสะสมในระบบบริหารงานตรวจสอบ จานวนมาก สาหรับรายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ดังกล่าว จะต้องมีการดาเนินการติดตามต่อไป โดยถือว่าเป็นการดาเนินการตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามนัยมาตรา ๑๑๔ ซ่ึงพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ กาหนดให้ผู้วา่ การฯ มีหนา้ ที่และอานาจในการตรวจเงินแผน่ ดิน แจง้ ผลการตรวจสอบและติดตามใหห้ น่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องดาเนินการตามหน้าที่และอานาจเพื่อให้เป็นไปตามผลการตรวจสอบ และกาหนดให้สานักงานฯ มีหน้าท่ีและอานาจตดิ ตามผลการดาเนินงานของหน่วยรบั ตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานฯ โดยการติดตามผล จะมีลักษณะที่แตกต่างจากพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งหากผลการติดตามพบว่าหน่วยรับตรวจไม่ดาเนินการตามข้อเสนอแนะของสานักงานฯ ผู้ว่าการฯ สามารถ เสนอใหค้ ณะกรรมการฯ ลงโทษทางปกครองแกผ่ ูร้ บั ตรวจหรือเจ้าหนา้ ที่ของรฐั ได้ ในกรณีต่อไปนี้ • กรณีผลการตรวจสอบพบว่ามีข้อบกพร่องเนื่องจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรีหรือแบบแผนการปฏิบัติราชการ และเกิดความเสียหายแก่รัฐหรือหน่วยรับตรวจ ซ่ึงไม่เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ ให้แจ้งผู้รับตรวจพิจารณาดาเนินการเพ่ือให้มีการ ชดใช้ค่าเสียหายหรือดาเนินการทางวินัย เม่ือผู้รับตรวจดาเนินการแล้วให้แจ้งผู้ว่าการฯ ทราบ และหากผู้รับตรวจ ไม่ดาเนินการให้มีการชดใชค้ ่าเสียหายหรือดาเนินการทางวินัยภายในเวลาที่ผู้ว่าการฯ กาหนดโดยไม่มีเหตอุ นั สมควร ตามมาตรา ๙๖ ผูว้ ่าการฯ จะเสนอให้คณะกรรมการฯ ลงโทษทางปกครองแกผ่ ู้รับตรวจก็ได้ หรอื • กรณผี ลการตรวจสอบพบวา่ เจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ทม่ี ีหนา้ ทต่ี อ้ งปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยวนิ ัย การเงินการคลังของรัฐ จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ ซ่ึงผู้ว่าการฯ ได้แจ้งให้ 18 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย หน่วยรับตรวจดาเนินการเพ่ือให้มีการชดใช้ค่าเสียหาย หรือดาเนินการทางวินัยแล้ว แต่ผู้รับตรวจไม่อาจ ดาเนินการได้ ตามมาตรา ๙๗ ผ้วู า่ การฯ จะเสนอใหค้ ณะกรรมการฯ ลงโทษทางปกครองแก่เจ้าหนา้ ทผี่ ู้น้ันก็ได้ เป็นต้น เม่ือพิจารณาข้อกาหนดของกฎหมายท่ีเก่ียวกับการดาเนินการเพ่ือให้มีการชดใช้ค่าเสียหาย หรือดาเนินการทางวินัยข้างต้นจะเห็นว่าข้อกาหนดบางส่วนเป็นเรื่องของการใช้ดุลพินิจซ่ึงอาจเป็นปัญหา ในทางปฏิบัติได้ ประกอบกับสานักงานฯ ยังไม่มีแนวทางในการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ ตามพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู พ.ศ. ๒๕๖๑ ทช่ี ัดเจนว่าหน่วยรบั ตรวจดาเนินกระบวนการแล้วเสร็จ ถึงขั้นตอนใดจึงจะสามารถยุติการติดตามได้ ประเด็นต่างๆเหล่านี้อาจเป็นปัญหาต่องานติดตามผลการ ดาเนนิ งานของหน่วยรบั ตรวจ (๒) นโยบำยกำรตรวจเงนิ แผน่ ดนิ และแผนปฏบิ ัติรำชกำรประจำปี ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน ๑๓๔ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๖๘.๓๗ ของจานวนผู้ตอบ แบบสอบถามทั้งหมด เห็นว่า การจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของสานักงานฯ มีการกาหนด คน/วัน ในการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับปริมาณรายงานผลการ ตรวจสอบท่ีต้องติดตามจรงิ บางส่วนเห็นว่า นโยบายการตรวจเงินแผ่นดินไม่ได้กาหนดเป้าหมายหรือทิศทางของงาน ติดตามผลไว้ชัดเจน และสานักตรวจสอบได้รับมอบหมายให้ตรวจสอบงานเร่งด่วนอ่ืน ๆ หรือเรื่องที่ปรากฏ เป็นข่าวและสาธารณชนให้ความสนใจ ซ่ึงมิได้กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจาปี จึงทาให้ไม่มี คน/วัน เหลือเพยี งพอสาหรับการติดตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี ๒.๑ แผนปฏิบตั ริ ำชกำรประจำปี การจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี มีการกาหนด คน/วัน ในการติดตามผลการ ดาเนินการของหน่วยรับตรวจไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับปริมาณรายงานผลการตรวจสอบท่ีต้องติดตามจริง กล่าวคอื • กาหนด คน/วัน ในการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจน้อยกว่า จานวนรายงานการตรวจสอบทั้งหมดที่ยังอย่รู ะหวา่ งการติดตาม เชน่ สานักตรวจสอบมรี ายงานการติดตามผล การดาเนินการของหน่วยรับตรวจท่ีค้างในระบบบริหารงานตรวจสอบ จานวน ๕๐ เรื่อง แต่กาหนด คน/วัน ในการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจเพียง ๒๐ เรื่อง เนื่องจาก สานักงานฯ มีนโยบายในการ กาหนดเป้าหมายผลผลิตของงานตรวจสอบต้องไม่ต่ากว่าปีที่ผ่านมา จึงมีการกาหนด คน/วัน ส่วนใหญ่เพื่อใช้ ในการตรวจสอบเป็นหลัก ทาให้มี คน/วนั ไม่เพียงพอตอ่ การตดิ ตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ 19 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย • กาหนด คน/วัน ในภาพรวม ไม่ระบุอย่างชัดเจนว่าเป็นการติดตามผลการ ตรวจสอบเรื่องใด ทาให้ไม่มีเป้าหมายในการดาเนินการที่ชัดเจนว่าควรจะติดตามงานเรื่องใดเป็นลาดับ กอ่ นหลัง • กาหนด คน/วนั ในการตดิ ตามผลแต่ละเรอ่ื ง (งบ/ราย/ประกาศ/สัญญา/โครงการ) น้อยกว่า คน/วัน ท่ีใช้ในการติดตามงานจริง เช่น กาหนด คน/วัน ในการติดตามผลการดาเนินการของ หน่วยรับตรวจแต่ละเรื่องไว้ ประมาณ ๑ – ๓ คน/วัน ต่อเร่ือง เท่ากันทุกลักษณะงาน แต่ตามข้อเท็จจริง รายงานแต่ละเร่ืองมีประเด็นข้อเสนอแนะหรือข้อทักท้วงท่ีมีความซับซ้อนยากง่ายแตกต่างกัน เช่น มีประเด็น ข้อทักท้วงหลายประเด็น หรือแจ้งผลให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องดาเนินการหลายหน่วยงาน การพิจารณาผลการ ดาเนินการของหน่วยรับตรวจจงึ ใช้ระยะเวลาในการพิจารณาและเสนอความเห็นท่ีแตกต่างกัน หรอื กรณีกว่าที่ หน่วยรับตรวจจะดาเนนิ การตามข้อเสนอแนะจนเสร็จส้ินจะต้องใช้ระยะเวลานาน การกาหนดคน/วัน ที่เท่ากัน ทุกเร่ืองโดยไม่คานึงถึงข้อเท็จจริงและไม่แยกตามลักษณะงาน จึงเป็นสาเหตุให้ คน/วัน ในการติดตามผลการ ดาเนินการของหนว่ ยรบั ตรวจที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจาปไี มเ่ พียงพอ รวมทั้งไม่มี คน/วัน ในการ บันทกึ ขอ้ มูลในระบบบริหารงานตรวจสอบ เป็นตน้ ๒.๒ นโยบำยกำรตรวจเงินแผ่นดิน ไม่มีการกาหนดทิศทางหรือเป้าหมายด้านการติดตามผล การดาเนินการของหนว่ ยรับตรวจไว้อยา่ งชัดเจน โดยมงุ่ เน้นหรือใหค้ วามสาคัญเฉพาะด้านการตรวจสอบเป็นหลัก ๒.๓ สำนักตรวจสอบทั้งในส่วนกลำงและส่วนภูมิภำคได้รับมอบหมำยให้ตรวจสอบงำน เร่งด่วน หรือเรื่องท่ีปรำกฏเป็นข่ำวและสำธำรณชนให้ควำมสนใจ ซ่ึงไม่ได้กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ประจาปี เช่น การตรวจสอบโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตาบลหรือโครงการตาบลละ ๕ ล้านบาท การตรวจสอบงานก่อสร้างสนามกีฬา การตรวจสอบการจ่ายเงินสงเคราะห์ให้ผู้ยากไร้และบุคคล ไร้ท่ีพง่ึ นอกจากน้ี เจ้าหน้าท่ียังต้องปฏบิ ัตงิ านด้านสนบั สนุนหรือไดร้ ับคาสั่งแตง่ ต้ังให้เป็นคณะกรรมการปฏิบัติ หนา้ ท่ีด้านต่าง ๆ ทาให้ไม่มี คน/วนั เหลือเพียงพอสาหรบั การตดิ ตามผลการดาเนินการของหน่วยรบั ตรวจ (๓) กำรบริหำรงำน และกำรปฏิบตั ิงำนของเจำ้ หนำ้ ที่ ๓.๑ กำรบริหำรงำน ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน ๔๘ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๒๔.๔๙ ของจานวนผู้ตอบ แบบสอบถามทั้งหมด เห็นว่าผู้อานวยการสานักและนักวิชาการตรวจเงินแผ่นดินชานาญการพิเศษส่วนใหญ่ ไมเ่ คยเขา้ ใชง้ านระบบ EIS เพอื่ ใช้เป็นเครอ่ื งมือในการควบคุมติดตามผลการตรวจสอบ บางส่วนเห็นว่า สานักตรวจสอบบางแห่งไม่มีการควบคุมหรือเร่งรัดให้มีการติดตามผล การดาเนินการของหน่วยรับตรวจ ไม่มีการควบคุมการบันทึกข้อมูลในระบบ ThaiTerm อย่างจริงจัง ไม่มีการส่ัง การให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบรายงานข้อมลู งานค้างติดตามในระบบ ThaiTerm ไมไ่ ด้จดั ทาทะเบยี นคุมการแจ้งผล การตรวจสอบและการติดตามผลการตรวจสอบ และการบริหารงานด้านการจัดเก็บเอกสารยังไม่มีประสิทธิภาพ เพยี งพอ โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 20 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ัย ๓.๑.๑ ผู้อำนวยกำรสำนักและนักวชิ ำกำรตรวจเงนิ แผ่นดินชำนำญกำรพิเศษไมเ่ คย เข้ำใช้งำนระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรงำนตรวจสอบ (EIS) เน่ืองจากไม่มคี วามรู้ความเข้าใจวิธีการและ ขัน้ ตอนการใช้งานระบบ ไม่ทราบถึงวิธีการเรียกดูข้อมูลหรือการนาขอ้ มูลมาใช้ประโยชน์ในการติดตามผลการ ตรวจสอบ และไม่เข้าใจว่าระบบ ThaiTerm และระบบ EIS มีการเช่ือมโยงข้อมูลกันอย่างไร เพราะไม่เคย ได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้งาน และไม่สามารถศึกษาทาความเข้าใจจากคู่มือการใช้งานได้ เนื่องจากคู่มือการใช้งานระบบ EIS เป็นการแสดงวิธีการใช้งานในภาพรวม ไม่อธิบายรายละเอียดการใช้งาน ไว้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ บางส่วนไม่ทราบว่าสานักงานฯ มีระบบ EIS สาหรับผู้บริหาร เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือ ในการควบคุมติดตามผลการตรวจสอบ ๓.๑.๒ สำนักตรวจสอบไม่ควบคุมหรือเร่งรัดให้มีกำรติดตำมผลกำรดำเนินงำน ของหน่วยรับตรวจ และไม่ควบคุมให้มีกำรบันทึกข้อมูลในระบบฐำนข้อมูลงำนตรวจสอบ (ThaiTerm) อย่ำงจริงจัง กล่าวคือ ไม่มีการมอบหมายให้ผู้หนึ่งผู้ใดเป็นผู้รับผิดชอบในการติดตามผลการดาเนินการของ หน่วยรับตรวจและบันทึกข้อมูลในระบบบริหารงานตรวจสอบเป็นลายลักษณ์อักษร โดยส่วนใหญ่จะให้เจ้าหน้าท่ี ตรวจสอบทาหนา้ ทตี่ ดิ ตามผลการดาเนนิ งานของหนว่ ยรบั ตรวจและบนั ทกึ ข้อมลู ในระบบดว้ ย แต่ในทางปฏบิ ัติ มกี ารหมุนเวียนเปล่ียนเจ้าหน้าท่ีผตู้ รวจสอบแต่ละหน่วยรับตรวจอยู่เสมอ ทาให้การติดตามผลการดาเนินงาน ของหน่วยรับตรวจไม่ตอ่ เนื่องหรืออาจไม่มีการติดตาม นอกจากนี้ ยังไม่มีการรวบรวมขอ้ มูลงานติดตามผลการ ดาเนินการของหน่วยรับตรวจที่คา้ งในระบบ ThaiTerm เสนอผู้บังคับบัญชา เพ่ือบริหารจัดการงานติดตามผล การตรวจสอบให้มปี ระสทิ ธิภาพ ๓.๑.๓ สำนักตรวจสอบบำงแห่งไม่จัดทำทะเบียนคุมกำรแจ้งผลกำรตรวจสอบและ กำรติดตำมผลกำรตรวจสอบ ทาให้ไม่สามารถสอบยันความถูกต้องของการติดตามผลการดาเนินการของ หน่วยรับตรวจกับฐานข้อมูลในระบบ ThaiTerm อีกท้ังการบริหารงานด้านการจัดเก็บเอกสารของสานักตรวจสอบ บางแห่งยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ส่งผลให้การค้นหาแฟ้มเอกสารเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาผลการ ดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจเกดิ ความล่าช้า หรือไมส่ ามารถค้นหาแฟม้ เอกสารได้ ๓.๒ กำรปฏบิ ตั ิงำนของเจ้ำหนำ้ ท่ี ผูต้ อบแบบสอบถาม จานวน ๑๔๖ คน หรอื คิดเป็นร้อยละ ๗๔.๔๙ ของจานวนผู้ตอบ แบบสอบถามท้ังหมด เห็นว่าเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการบันทึกข้อมูลในระบบ ThaiTerm ขาดความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับวิธีการและขั้นตอนการบันทึกข้อมูลในระบบ เน่ืองจากไม่เคยได้รับการอบรมให้ความรู้ เกีย่ วกบั การใช้งาน บางสว่ นเห็นว่า เจ้าหน้าที่ผรู้ บั ผดิ ชอบในการติดตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ไม่ได้ติดตามผลอย่างต่อเนื่อง และไม่ได้บันทึกข้อมูลในระบบ ThaiTerm หรือบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน ไม่เป็น ปจั จุบัน ไมม่ กี ารสอบทานความถูกต้องของขอ้ มูลท่ีบนั ทกึ และกรณีเจ้าหน้าที่บันทึกขอ้ มูลในระบบ ThaiTerm ไม่ใชเ่ จ้าหน้าทต่ี รวจสอบเรื่องท่บี ันทึกข้อมลู โดยตรง การบนั ทกึ ขอ้ มลู ในระบบอาจไมถ่ ูกต้อง โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี 21 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั ๓.๒.๑ เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบบันทึ กข้อมูลในระบบบริหำรงำนตรวจสอบ (ThaiTerm) ขำดควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับวิธีกำรและข้ันตอนกำรบันทึกข้อมูลในระบบ เพราะไม่เข้าใจ โครงสร้างพ้ืนฐานในภาพรวมของระบบ ThaiTerm ว่ามีความต่อเนื่องเชื่อมโยงข้อมูลของแต่ละหัวข้ออย่างไร ทาให้การบันทึกข้อมูลในระบบไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ตามข้ันตอนท่ีต้องบันทึก เช่น มีการบันทึก เร่ืองเดียวกันหลายคร้ัง หรือมีการบันทึกข้อมูลไม่ครบทุกหน้าจอ บางกรณีเจ้าหน้าท่ีบันทึกยุติเรื่องในระบบแล้ว แต่ระบบยังคงแสดงสถานะว่าเป็นรายงานท่ีค้างติดตามอยู่ และบางกรณีบันทึกข้อมูลผิดพลาด แต่เจ้าหน้าท่ี ไม่ทราบว่าจะแก้ไขข้อมูลในระบบได้อย่างไร และไม่ทราบว่าต้องสั่งพิมพ์รายงานในรูปแบบใด อย่างไร เป็นต้น ซึง่ การบันทึกข้อมูลในระบบส่วนใหญ่เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบเรียนรู้โดยศึกษาจากคู่มือ สอบถามผูอ้ ่ืน หรือสอนงาน กันเองตามความเข้าใจระหว่างเพ่ือนร่วมงานหรือรุ่นพ่ี โดยไม่เคยได้รับการอบรมให้ความรู้เก่ียวกับการใช้งาน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง จึงทาให้การบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ตามข้ันตอนท่ีถูกต้อง ส่งผลให้ ฐาน ข้อมู ลในระบบแสดงผลไม่ ถู กต้ องและไม่ สามารถน าไปใช้ ในการบริ หาร งานตรวจสอบและติ ดตามผล ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๓.๒.๒ เจ้ำหน้ำท่ีผู้รับผิดชอบในกำรติดตำมผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจ ไม่ได้ตดิ ตำมผลอย่ำงต่อเน่ือง กล่าวคือ ไม่ได้พิจารณาผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจในทันทีที่ได้รบั แจ้งผล หรือพิจารณาผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจล่าช้า หรือไม่เร่งรัดติดตามหรือมีหนังสือแจ้งเตือนไปยัง หน่วยรับตรวจ หรือบางเรื่องเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบพิจารณาผลการดาเนินการแล้ว แต่อยู่ระหว่างการเสนอ ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือชั้นขึ้นไปแล้วไม่มีการติดตามต่อ สาเหตุที่เจ้าหน้าท่ีไม่ได้ให้ความสาคัญกับ การติดตามผลการตรวจสอบดังกล่าว เน่ืองจากต้องเร่งปฏิบัติงานตรวจสอบให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการ ประจาปี โดยออกตรวจสอบนอกพื้นที่ต้ังสานักงานเป็นส่วนใหญ่ มีเวลากลับเข้าสานักงานเพ่ือปฏิบัติงานอ่ืน ในช่วงสิ้นเดือนเพียง ๑ – ๒ วัน จึงไม่สามารถพิจารณาผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจให้แล้วเสร็จ และ อาจไม่ได้บันทึกข้อมูลการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจในระบบ ThaiTerm ให้เป็นปัจจุบัน ส่งผลให้มีรายงานการตรวจสอบ ซึ่งครบกาหนดติดตามแลว้ แต่สานักงานฯ ยังไม่แจ้งเตอื น ค้างสะสมในระบบ ThaiTerm จานวนมาก ๓.๒.๓ เจ้ำหน้ำท่ีผู้รับผิดชอบไม่บันทึกข้อมูลในระบบ หรือบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน ไม่เป็นปัจจุบัน และไม่มีกำรสอบทำนควำมถูกต้องของข้อมูลท่ีบันทึก เช่น บันทึกข้อมูลการแจ้งผลการ ตรวจสอบ แต่ไม่ได้บันทึกข้อมูลเพ่ิมเติมเมื่อหน่วยรับตรวจตอบชี้แจงหรือแจ้งผลการดาเนินการ หรือมีการส่ง หนังสือแจ้งเตือนไปยังหน่วยรับตรวจแล้ว แต่ไม่ได้นามาบันทึกข้อมูลในระบบ บางกรณีบันทึกข้อมูลไม่ครบ ทุกหัวข้อ เนื่องจากข้อทักทว้ งมีหลายประเด็น หรอื กรณีทหี่ น่วยรับตรวจตอบชี้แจงไมค่ รบทุกประเด็น อาจไมบ่ ันทึก ข้อมูลในทันที แต่รอจนกระท่ังหน่วยรับตรวจชี้แจงครบถ้วนทุกประเด็นแล้ว เจ้าหน้าที่จึงจะบันทึกข้อมูล สาเหตุท่ีมีการบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วนดังกล่าว เกิดจากเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการบันทึกข้อมูลต้องปฏิบัติงาน ตรวจสอบตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีเป็นหลัก และมงี านเร่งดว่ นอ่นื ท่ีได้รับมอบหมาย สว่ นใหญ่จะบันทึก 22 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั ข้อมูลเมื่อเข้าสานักงานในช่วงสิ้นเดือน ต้องเร่งรีบบันทึกข้อมูลให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว ส่งผลให้การบันทึกข้อมูล เกิดความผิดพลาด หรือบันทึกไม่ครบถ้วน และทาให้ฐานข้อมูลในระบบแสดงสถานะของรายงานท่ีไม่ถูกต้อง ตามความเปน็ จรงิ ๓.๒.๔ กรณีเจ้ำหน้ำท่ีบันทึกข้อมูลในระบบบริหำรงำนตรวจสอบ (ThaiTerm) ไมใ่ ช่เจำ้ หน้ำท่ีตรวจสอบเรื่องที่บันทึกข้อมลู โดยตรง ผู้บันทึกข้อมูลจึงต้องใชเ้ วลาในการศึกษาทาความเข้าใจต่อ ข้อเสนอแนะ และมักเกิดปัญหาในการพิจารณาประเด็นข้อทักท้วงอาจไม่สอดคล้องกับข้อมูลในระบบ ThaiTerm หรือกรณีที่มีการกรอกขอ้ มูลในแบบฟอร์มให้เจ้าหน้าที่นาไปบันทกึ ข้อมูลในระบบ แต่กรอกรายละเอียดไม่ครบทุก ขั้นตอน เช่น การตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้างมี ๔ ขั้นตอน ประกอบด้วย การตรวจประกาศ ตรวจสัญญา ตรวจการ ปฏิบัติงานของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง และตรวจระยะเวลาประกันความชารุดบกพร่อง ส่งผลให้การบันทึกข้อมูลเกิด ความผิดพลาด และเป็นเหตใุ ห้มรี ายงานการตรวจสอบค้างติดตามในระบบ ทงั้ ที่บางกรณีไดย้ ุตเิ ร่ืองไปแล้ว (๔) ประเด็นขอ้ ทักทว้ งหรือข้อเสนอแนะ และกำรพจิ ำรณำผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจ ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน ๑๓๔ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๖๘.๓๗ ของจานวนผู้ตอบ แบบสอบถามท้ังหมด เห็นว่าประเด็นข้อทักท้วงหรือข้อเสนอแนะซ่ึงหน่วยรับตรวจต้องใช้ระยะเวลาในการ ดาเนินการนาน เช่น การดาเนินการทางละเมิด ทางวินัย และทางอาญา เป็นสาเหตุท่ีทาให้มีรายงานค้างติดตาม ในระบบจานวนมาก บางส่วนเห็นวา่ การท่ีหน่วยรับตรวจไม่ดาเนินการตามข้อเสนอแนะ หรือมีการโต้แย้งข้อทักท้วง หรือข้อเสนอแนะ และการท่ีหน่วยรับตรวจแจ้งผลการดาเนินล่าช้า หรือมีลักษณะประวิงเวลา เป็นเร่ืองที่ ยังไม่สามารถยุติได้ ประกอบกับสานักงานฯ ยังไม่มีแนวทางปฏิบัติท่ีชัดเจนเก่ียวกับการยุติการติดตามผล การดาเนินการของหน่วยรับตรวจฯ ในระบบ ThaiTerm จึงเป็นสาเหตุให้มีรายงานการตรวจสอบค้างติดตาม ในระบบเป็นระยะเวลานาน โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี ๔.๑ ประเด็นข้อทักท้วงหรือข้อเสนอแนะ ซึ่งหน่วยรับตรวจต้องใช้ระยะเวลาในการ ดาเนินการนาน โดยเฉพาะการดาเนินการทางละเมิด ทางวินัย และทางอาญา ท่ีต้องดาเนินการตามข้ันตอน ของระเบียบ กฎหมาย หรือข้อเสนอแนะท่ีให้หน่วยรับตรวจปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงาน แก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ระบบบริหารงาน และการดาเนินการที่ต้องขับเคลื่อนร่วมกับหน่วยงานอื่นซึ่งต้องใช้ ระยะเวลาในการดาเนนิ การ เปน็ สาเหตุทที่ าให้มรี ายงานค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบเป็นจานวนมาก ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนหน่ึงเห็นว่า การที่หน่วยรับตรวจดาเนินการตามข้อเสนอแนะแล้ว โดยอยู่ระหว่างการดาเนินการ หากต้องมีการติดตามผลโดยทาหนังสือแจ้งเตือนทุก ๓๐ วัน ๖๐ วัน หรือ ๙๐ วัน อาจส่งผลกระทบต่อการปฏิบตั ิงานของท้ังหน่วยรบั ตรวจและสานักงานฯ จึงใช้วิธตี ิดตามทางโทรศพั ท์แทนการ แจ้งเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร แต่เน่ืองจากการบันทึกข้อมูลในระบบจะบนั ทึกขั้นตอนการติดตามฯ ได้เฉพาะ การติดตามเป็นหนังสือเทา่ นั้น จึงทาให้มีรายงานการตรวจสอบที่ครบกาหนดตดิ ตามแล้ว แตส่ านกั งานฯ ยังไม่ แจ้งเตือนค้างอยู่ในระบบจานวนมาก ซ่ึงกรณีดงั กล่าวสะท้อนให้เห็นวา่ กรอบระยะเวลาท่กี าหนดให้หน่วยรับตรวจ แจ้งผลการดาเนินการอาจยังไม่เหมาะสมกับข้อทักท้วงบางประเด็นท่ีต้องใช้ระยะเวลาในการดาเนินการนาน 23 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวตั กรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ัย นอกจากนี้ สานักงานฯ ยังไม่เคยกาหนดหลักเกณฑ์หรือแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการติดตามผลการดาเนินงาน ของหน่วยรับตรวจว่าควรต้องติดตามถึงแค่ไหน เพียงใด หรือถึงข้ันตอนใด จึงจะยุติการติดตามได้ เช่น การดาเนินการทางวินัยต้องติดตามจนกระท่ังหน่วยรับตรวจมีคาส่ังลงโทษทางวินัยแก่ผู้กระทาผิดหรือไม่ การดาเนินการทางละเมิดต้องรอผลการพิจารณาจากกรมบัญชีกลางและมีการชดใช้ค่าเสียหายแก่รัฐครบถ้วน แล้วหรือไม่ และการดาเนินการทางอาญาจะต้องติดตามจนกวา่ จะมีคาพิพากษาถึงที่สุดหรือไม่ สานักตรวจสอบ จึงถือปฏิบัติแตกต่างกัน โดยสานักตรวจสอบบางแห่งติดตามผลการดาเนินการจนถึงท่ีสุดทุกกรณี จึงจะยุติเรื่อง ทาให้มรี ายงานการตรวจสอบค้างติดตามในระบบจานวนมาก นอกจากนี้ กรณีประเด็นข้อทักท้วงที่มีความไม่ชัดเจน ยากต่อการใช้ดุลพินิจในการ พิจารณาและหน่วยรับตรวจไม่ดาเนินการ เช่น การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดงานท่ีฟุ่มเฟือย ไม่จาเป็น ไม่เหมาะสม และเร่ืองตรวจสอบเก่าที่ค้างมานานและมีประเด็นข้อทักท้วงเรื่องมูลค่าความเสียหาย บางเร่ืองไม่มีเอกสาร หลกั ฐานประกอบการพิจารณา หรือมีเอกสารไมค่ รบ ก็เป็นเร่อื งท่ีไม่สามารถยุตกิ ารติดตามไดเ้ ช่นกัน ๔.๒ กำรพิจำรณำผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจ ท่ีส่งผลต่อรายงานค้างติดตาม ในระบบบริหารงานตรวจสอบ ๔.๒.๑ กรณีที่หน่วยรับตรวจไม่ดำเนินกำรตำมข้อเสนอแนะหรือมีกำรโต้แย้ง ขอ้ ทักท้วงหรอื ข้อเสนอแนะ หรอื ข้อทักท้วงบางประเด็นทีร่ ะเบียบหรือกฎหมายกาหนดไว้ไม่ชัดเจนและยังหา ขอ้ ยุตไิ มไ่ ด้ เช่น การเบิกจ่ายเงินทุนการศึกษา เงินประกนั สงั คม เงนิ โบนัสขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น เปน็ ต้น กรณีดงั กลา่ วตอ้ งหารือผู้มีอานาจวินิจฉยั หรอื ผรู้ ักษาการตามระเบียบ จึงส่งผลให้มรี ายงานคา้ งตดิ ตามในระบบ เปน็ ระยะเวลานานและไม่มกี ารแจง้ เตือนอย่างต่อเน่ือง ๔.๒.๒ กรณีหน่วยรบั ตรวจแจง้ ผลกำรดำเนินกำรล่ำช้ำ หรือมีลักษณะประวิงเวลำ มีการขอขยายระยะเวลาในการสอบข้อเท็จจริง หรือผู้กระทาความผิดย้ายไปหน่วยงานอ่ืน กรรมการท่ีได้รับ การแต่งตั้งโยกย้าย ต้องแต่งตั้งกรรมการใหม่ กรณีต่างๆ เหล่าน้ี ทาให้การดาเนินการของหน่วยรับตรวจ ขาดความต่อเน่ือง หรืออาจส่งผลให้การติดตามต้องใช้เวลานานข้ึน หรือบางกรณีหน่วยรับตรวจชี้แจงผลการ ดาเนินการไม่ชัดเจน หรือช้ีแจงผลแล้ว แต่ยุติการติดตามได้เพียงบางประเด็น ทาให้ไม่สามารถบันทึกยุติเร่ือง ในระบบได้ จึงเป็นเรือ่ งท่คี า้ งตดิ ตามในระบบบรหิ ารงานตรวจสอบ ๔.๓ สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดินยังไม่มีแนวทำงปฏิบัติที่ชัดเจนเก่ียวกับกำรบันทึก ขอ้ มูลกำรยุติกำรติดตำมในระบบบริหำรงำนตรวจสอบ (ThaiTerm) โดยสานักตรวจสอบบางแห่งมีการนา ข้อสังเกตหรือข้อเสนอแนะท่ียังไม่ยุติการติดตามของปีก่อนไปบันทึกไว้ในรายงานการตรวจสอบของปีปัจจุบัน ในหัวข้อ “การติดตามงานงวดก่อน” และบันทึกยุติการติดตามในระบบของปีก่อน ดังน้ัน จึงไม่มีเรื่องค้างติดตาม แต่สานักตรวจสอบบางแห่งเห็นว่าการนาข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะของปีก่อนมารวมไว้ในการแจ้งผลการตรวจสอบ งวดปีปัจจุบัน จะทาให้หน่วยรับตรวจได้รับเง่ือนเวลาในการตอบชี้แจงเพ่ิมเป็น ๖๐ วัน ซึ่งมากกว่าการติดตาม งานงวดกอ่ น จึงตดิ ตามผลการตรวจสอบแตล่ ะเร่ืองโดยวิธีปกติ ทาให้มีเรอ่ื งคา้ งติดตามในระบบสงู กวา่ เปน็ ตน้ 24 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั (๕) ระบบบริหำรงำนตรวจสอบ (ThaiTerm) และระบบสำรสนเทศเพอื่ กำรบรหิ ำรงำนตรวจสอบ (EIS) ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน ๑๓๑ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๖๖.๘๔ ของจานวนผู้ตอบ แบบสอบถามทั้งหมด เห็นว่าระบบ ThaiTerm ได้รับการออกแบบให้ทาการบันทึกค่อนข้างยาก มีความซับซ้อน หลายขนั้ ตอน หลายหนา้ จอ ไมเ่ ปดิ กว้างหรือไมเ่ อ้อื อานวยให้เจา้ หน้าท่ีปฏิบัตงิ านได้อยา่ งสะดวก บางส่วนเห็นว่า การเชื่อมโยงข้อมูลการตรวจสอบจากระบบ ThaiTerm กับระบบ EIS ไม่เป็นแบบ Real time ข้อมูลจึงไม่เป็นปัจจุบัน และระบบ ThaiTerm เป็นระบบที่ใช้มาเป็นระยะเวลานาน ไม่รองรับกับระบบปฏิบัติการ Windows ท่ีใช้ในปัจจุบัน การประมวลผลค่อนข้างช้า การเรียกดูข้อมูลและสั่งพิมพ์ ขอ้ มลู จากระบบมีความย่งุ ยาก โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ๕.๑ กำรบันทึกข้อมูลในระบบบริหำรงำนตรวจสอบ (ThaiTerm) มีรูปแบบการบันทึก ทคี่ ่อนข้างยากและซบั ซอ้ น ต้องทาหลายข้นั ตอน หลายหนา้ จอ อีกท้ังหน้าจอในการบันทึกข้อมลู ยงั มีขนาดเล็ก ไม่ขยายเต็มหน้าจอ ทาให้ตัวอักษรเล็ก และตัวอักษรท่ีปรากฏในระบบไม่ตรงตามอักขระปกติ เป็นภาษาที่อ่านยาก ทาให้เกิดความสับสนและใช้เวลานานในการบันทึกข้อมูล และที่สาคัญระบบยังไม่เปิดกว้างหรือเอื้ออานวยให้ เจา้ หนา้ ท่ปี ฏบิ ตั ิงานได้อย่างสะดวก กล่าวคือ ๕.๑.๑ ขั้นตอนในการเข้าใช้งานระบบมีหลายข้ันตอน การเข้าใช้ระบบจากัดเฉพาะ บคุ คลที่ได้รับมอบหมายให้เข้าใช้งาน ซง่ึ ต้องมีรหัสเข้าใช้ เจ้าหน้าที่บางรายยงั ไมไ่ ด้รับรหัสเพื่อเขา้ ใช้งานระบบ ThaiTerm ต้องใชร้ หัสของเจ้าหนา้ ท่ีท่านอนื่ ในการบันทึกข้อมูล ๕.๑.๒ เวลาในการบนั ทกึ ข้อมูลมีจากัด ขน้ึ อยู่กบั การเปิด-ปิดสัญญาณของศูนยแ์ ม่ขา่ ย ประจาสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค ซ่ึงโดยส่วนใหญ่จะเปิด-ปิดในวันและเวลาทาการ ประกอบกับ เจ้าหน้าที่จะต้องออกปฏิบัติงานตรวจสอบนอกสถานท่ี และเข้าสานักงานเพ่ือบันทึกข้อมูลเพียง ๑ – ๒ วัน ในช่วงสิ้นเดอื น บางคร้ังไม่สามารถบันทึกข้อมลู ให้เสรจ็ ก่อนเวลาปดิ ระบบ หรือบางครัง้ ไม่สามารถบนั ทึกขอ้ มูล ไดเ้ ลย เพราะเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ี่ใช้งานได้มีจากัด การใช้ระบบ ThaiTerm ต้องใช้ผ่านระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ภายในของสานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดิน (Intranet) เท่านั้น ไม่สามารถใช้งานผ่านเวปไซด์หรือบนเครือข่าย ออนไลน์ ทาให้เจ้าหน้าทไี่ มส่ ามารถบนั ทึกข้อมลู นอกสถานท่ีหรอื นอกเวลาราชการได้ ๕.๑.๓ ระบบไม่เอื้อต่อการบันทึกข้อมูลจานวนมาก หากมีการพิมพ์ข้อมูลต่อเนื่อง ข้อมูลบางส่วนอาจหายไป การบันทึกข้อสังเกตหรือข้อทักท้วงในระบบไม่เปิดกว้างให้มีการบันทึกรายละเอียด เพ่ิมเติม ไม่ครอบคลุมการตรวจสอบตามระเบียบ กฎหมายในปัจจุบัน รหัสหน่วยรับตรวจในระบบมีไม่ครบถ้วน ทุกหน่วยงานและไม่ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน ระบบไม่สามารถบันทึกข้อมูล (Save) ได้โดยอัตโนมตั ิ หากระบบ ขัดข้องเจ้าหน้าท่ีต้องบันทึกข้อมูลใหม่ทั้งหมด การแก้ไขข้อมูลทาได้ยาก บางขั้นตอนหากไม่ถูกต้อง ต้องแก้ไข ใหมท่ งั้ หมดตั้งแต่ตน้ ๕.๑.๔ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบดา้ นการจัดซ้ือจัดจา้ งสว่ นใหญแ่ สดงความเห็นว่าการบันทึก ข้อมูลในระบบการตรวจสอบพัสดุและการบริการมีความซับซ้อน ต้องบันทึกผลการตรวจสอบหลายขั้นตอน และไมส่ ามารถเชื่อมโยงข้อมูลแตล่ ะข้ันตอนได้ กลา่ วคือ ต้องบันทึกผลการตรวจสอบเป็นรายสัญญาทุกขัน้ ตอน 25 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ยั ทาใหต้ ้องใช้เวลาในการบนั ทึกข้อมูลนาน และอาจสง่ ผลให้การบันทกึ ข้อมลู ไม่ครบถว้ น เชน่ การส่งหนังสือแจ้ง หนว่ ยรับตรวจ การรับแจ้งผลการดาเนินการจากหนว่ ยรับตรวจ หากเป็นการตรวจสอบหลายสัญญา จะต้องบันทึก ข้อมูลดังกล่าวทุกสัญญา เช่นเดียวกับการบันทึกยุติเรื่องในระบบที่ต้องบันทึกทุกข้ันตอน หากบันทึกไม่ครบ ทกุ ข้นั ตอน จะไม่สามารถยุตเิ ร่ือง ๕.๑.๕ สัญญาณเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Internet) ของสานักงานไม่มีประสิทธิภาพ เพียงพอ ขาดความเสถียร และมักมีปัญหาเรื่องความล่าช้า ใช้พร้อมกันหลายเครื่องไม่ได้ หรือบางวันไม่สามารถ ใช้งานได้ สง่ ผลใหก้ ารบันทกึ ข้อมูลในระบบลา่ ชา้ หรอื ติดขดั ไม่สามารถบนั ทกึ ข้อมลู ได้ ๕.๒ กำรเชื่อมโยงข้อมูลกำรตรวจสอบจำกระบบบริหำรงำนตรวจสอบ (ThaiTerm) กับระบบสำรสนเทศเพ่ือกำรบริหำรงำนตรวจสอบ (EIS) ไม่ได้เป็นแบบ Real time แต่จะแสดงข้อมูล ณ วันสิ้นเดือนของเดือนก่อน และหากเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลในระบบ ThaiTerm ไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน ดังที่กล่าวมา จะส่งผลต่อสถานะของรายงานหรือข้อมูลที่แสดงในระบบ EIS ที่ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง ดังน้ัน จึงไม่สามารถใชข้ อ้ มลู ในระบบ EIS ในการตดิ ตามและบริหารงานตรวจสอบไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ นอกจากน้ีระบบ EIS ยังไม่เปิดกว้างอย่างเพียงพอในการให้เจ้าหน้าท่ีได้เข้าใช้ประโยชน์ ในการบริหารงาน กล่าวคือ ผู้อานวยการสานักและนกั วิชาการตรวจเงินแผ่นดินชานาญการพิเศษจะได้รับรหัส เข้าใชง้ านเพือ่ ดูขอ้ มูลรายงานของสานกั หรอื กลมุ่ งานทีร่ ับผิดชอบ แต่หากมีการโยกย้ายสับเปลย่ี นหน้าทภี่ ายใน ซ่ึงไม่ตรงกับตาแหน่งตามโครงสร้างที่รับผิดชอบ จะไม่สามารถดูข้อมูลรายงานผลการตรวจสอบกลุ่มงานใหม่ ทีร่ ับผิดชอบได้ หรือนักวิชาการตรวจเงินแผ่นดินชานาญการ และผู้รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการกลมุ่ ที่ไม่มี รหสั ในการเขา้ ใช้งานเพอื่ ดขู ้อมลู ในระบบ ๕.๓ ระบบบริหำรงำนตรวจสอบ (ThaiTerm) เป็นระบบท่ีใช้มำเป็นระยะเวลำนำน ไม่รองรับกับระบบปฏิบัติการ Windows ท่ีใช้ในปัจจุบัน โดยสามารถใช้งานได้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่น 32 บิต แต่ปัจจุบันโน้ตบุ๊คของสานักงานฯ ส่วนใหญ่เป็นรุ่น ๖๔ บิต จึงไม่สามารถ ใช้โน้ตบุ๊คของสานักงานฯ ในการบันทึกข้อมูลในระบบได้ และระบบ ThaiTerm เป็นโปรแกรมท่ีมีความซับซ้อน ไม่เสถียร ค้างหรือ Error บ่อย เช่น หากบันทึกข้อมูลหลายเรื่องติดต่อกันจะไม่สามารถบันทึกได้ทันที หรือกรอกข้อมูลจนครบถ้วนแล้วแต่ไม่สามารถบันทึกได้ หรือหลุดออกจากหน้าจอ ต้องบันทึกข้อมูลในระบบใหม่ ทง้ั หมดตง้ั แต่ตน้ การเรียกดูข้อมูลหรือค้นหาข้อมูลในระบบ ThaiTerm ทาได้ยาก การประมวลผล ค่อนข้างช้า การแสดงผลของข้อมูลเป็นแบบ Text ไม่ได้แสดงผลแบบตารางหรือ Excel ที่ทาให้ดูเข้าใจง่าย และไม่สามารถกาหนดเงือ่ นไขการแสดงรูปแบบของรายงานได้ จงึ ไม่สามารถใชใ้ นการติดตามผลการตรวจสอบ และการบริหารงานตรวจสอบไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การส่ังพิมพ์ (Print) ข้อมลู จากระบบ ThaiTerm มีความยุ่งยาก เน่ืองจากเคร่ืองพิมพ์บาง รุ่นไม่รองรับกับระบบ ต้องใช้งานกับเครื่องพิมพ์แบบหัวเข็มชนิดแคร่ยาวท่ีใช้กระดาษต่อเน่ือง ซ่ึงมีจานวนน้อย 26 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวตั กรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ยั ทาให้ไม่สะดวกในการใช้งาน หรือหากต้องการพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์เลเซอร์ก็ต้องใช้โปรแกรมอ่ืนช่วย ทาให้เสียเวลาในการทางาน และตัวอักษรที่ได้จากการพิมพ์จะเป็นลักษณะตัวอักษรกระโดด พยัญชนะและ สระไมต่ รงคา อา่ นยาก ไม่สามารถปรบั เปลี่ยนหรือเลอื กรปู แบบขนาดตวั อกั ษรไดต้ ามทต่ี อ้ งการ (๖) กำรปรบั เปลยี่ นโครงสร้ำงองคก์ ร กำรย้ำย ลำออกหรอื เกษียณอำยรุ ำชกำรของเจ้ำหนำ้ ท่ีผรู้ ับผดิ ชอบ ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน ๑๓๓ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๖๗.๘๖ ของจานวนผู้ตอบ แบบสอบถามทั้งหมด เห็นว่าการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงหน่วยรับตรวจในความ รับผิดชอบของแต่ละสานัก หรือมีการย้ายข้าราชการและลูกจ้างไปสังกัดสานักใหม่ หรือข้าราชการขอย้าย ลาออกหรือเกษียณอายุราชการ เป็นปัญหาหนึ่งซึ่งทาให้การติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจและ การบันทึกข้อมูลในระบบบรหิ ารงานตรวจสอบ (ThaiTerm) ขาดความต่อเนือ่ งและไมม่ ีประสิทธิภาพเทา่ ท่คี วร โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้ ๖.๑ กำรปรับเปล่ียนโครงสร้ำงองค์กร โดยเฉพาะในช่วงท่ีมีการจัดตั้งสานักตรวจเงิน แผ่นดินจังหวดั มีสภาพปัญหาเกย่ี วกับการส่งมอบงาน ดงั นี้ ๖.๑.๑ สานักตรวจสอบเดิมไม่ได้จัดทาเอกสารการส่งมอบงานเก่ียวกับการติดตามผล การดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจและการบันทึกขอ้ มูลในระบบ ThaiTerm ส่งมอบใหก้ ับสานักตรวจสอบตาม โครงสร้างใหม่ หรือมีการส่งมอบงาน แต่ไม่ไดร้ ะบุรายละเอียดไว้อย่างชัดเจนว่ามีการติดตามผลการตรวจสอบ และบันทึกข้อมูลแต่ละเร่ืองไว้ในระบบหรือไม่ อย่างไร ทาให้สานักตรวจสอบใหม่ที่มารับผิดชอบงานต่อ ไม่ทราบว่ามีเรอ่ื งใดค้างตดิ ตามบา้ งและได้มีการบันทึกข้อมลู ในระบบไว้แลว้ หรือไม่ เพียงใด ประกอบกับสานัก ตรวจสอบตามโครงสร้างใหม่ก็ไม่ได้ให้ความสาคัญกับงานติดตามผลการตรวจสอบ จึงไม่ได้สอบยันข้อมูล ในระบบ ThaiTerm ว่ามีเร่ืองใดค้างติดตามในระบบบา้ ง ตรงกับเอกสารการส่งมอบงานหรือไม่ และได้รับมอบ แฟ้มเอกสารจากสานักตรวจสอบเดิมครบถ้วนหรอื ไม่ จึงทาให้มีเรื่องเก่าค้างติดตามสะสมในระบบมาเป็นเวลา หลายปี และปัจจุบันไม่สามารถบันทึกยุติการติดตามได้ เนื่องจากไม่มีแฟ้มงานหรอื เอกสารต้นเร่ืองเดิมเพื่อใช้ ประกอบการพิจารณาผลการดาเนินการของหนว่ ยรับตรวจ หรอื ใชเ้ ปน็ ข้อมลู ประกอบการบันทกึ ยุตเิ รือ่ ง ๖.๑.๒ สานักตรวจสอบเดิมจะส่งมอบแฟ้มเอกสารงานตรวจสอบให้กับสานัก ตรวจสอบตามโครงสร้างใหม่เฉพาะเร่ืองที่ค้างออกรายงาน หรือค้างการติดตามผลการตรวจสอบ แต่เร่ืองที่มี การพิจารณายตุ ิเรอ่ื งแล้วจะแยกแฟ้มเอกสารเก็บไว้ไมไ่ ด้ส่งมอบให้กับสานักตรวจสอบใหม่ด้วย ซึ่งพบว่ามีงาน ค้างติดตามในระบบบางเรื่องที่สานักตรวจสอบเดิมได้พิจารณายุติเร่ืองในเอกสารแล้ว แต่ไม่ได้บันทึกยุติเรื่อง ในระบบ ThaiTerm และไม่ได้ส่งมอบแฟ้มเอกสารให้กับสานักตรวจสอบใหม่ ข้อมูลในระบบจึงแสดงสถานะ คา้ งตดิ ตามมาโดยตลอด ๖.๑.๓ การจัดตั้งสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัด ซึ่งมีการขอใช้อาคารสถานที่ของ ส่วนราชการอื่น บางแห่งมีพ้ืนท่ีจากัด และไม่มีสถานท่ีจัดเก็บเอกสาร สิ้นปีงบประมาณต้องนาเอกสารบางส่วนไป ฝากไว้ท่ีห้องพัสดุของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค ทาให้การค้นหาแฟ้มเร่ืองเพ่ือใช้ในการติดตามผลการ ตรวจสอบมีความไม่สะดวกและเกิดความล่าช้า หรือบางแห่งมีระบบการควบคุมการจัดเก็บเอกสารไม่ดี 27 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ัย ทาให้เอกสารเปียกน้า ปลวกกิน หรือค้นหาเอกสารไม่พบ เป็นต้น ส่งผลให้การติดตามผลการดาเนินงานของ หน่วยรับตรวจเป็นไปด้วยความล่าช้า หรือไม่สามารถติดตามต่อได้ เนื่องจากขาดเอกสารหลักฐานท่ีใช้ ประกอบการพจิ ารณา ๖.๒ กำรโยกย้ำย ลำออก หรือเกษยี ณอำยุรำชกำรของเจ้ำหนำ้ ทผ่ี ู้รับผดิ ชอบ ๖.๒.๑ เจ้าหน้าทผ่ี ู้รับผดิ ชอบไม่ได้สง่ มอบงานตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ และการบันทึกขอ้ มูลในระบบก่อนการโยกย้าย หรือมีการส่งมอบงานแต่ไมไ่ ด้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับการติดตาม และการบันทึกข้อมูลในระบบไว้อย่างชัดเจน รวมถึงไม่มีการส่งมอบแฟ้มเอกสารการตรวจสอบ หรือส่งมอบ เอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วน ส่งผลให้การติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจขาดความต่อเน่ือง หรอื ไม่มีการติดตามผลการตรวจสอบตอ่ แต่อยา่ งใด ๖.๒.๒ สานักตรวจสอบไม่ได้มอบหมายงานติดตามผลการตรวจสอบและการบันทึก ข้อมูลในระบบให้กับเจ้าหน้าที่คนใหม่รับผิดชอบงานต่ออย่างชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร หรือมีการ มอบหมายงานให้กับเจ้าหน้าที่คนใหม่ดาเนินการต่อแล้ว แต่เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายต้องใช้เวลาในการศึกษา ข้อเท็จจริง ข้อเสนอแนะหรือข้อทักท้วงของเร่ืองเดิม และอาจไม่เข้าใจข้ันตอนวิธีการบันทึกข้อมูลในระบ บ จงึ ต้องใช้เวลาในการศกึ ษาทาความเข้าใจ ทาใหก้ ารตดิ ตามผลการดาเนินการของหนว่ ยรบั ตรวจและการบันทึก ข้อมูลในระบบเกิดความล่าช้า หรือบางกรณีอาจไม่ได้ดาเนินการติดตามและไม่ได้บันทึกข้อมูลในระบบต่อ เนื่องจากเจ้าหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายมีภาระงานของตนเองท่ีต้องรับผิดชอบ จึงไม่มี คน/วัน เหลือเพียงพอ ในการดาเนินการ จากการศึกษาที่กล่าวมาข้างต้น จึงสรุปได้ว่า ประเด็นที่เป็นปัญหาอุปสรรคในการติดตามผล การดาเนินการของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานฯ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบด้วย (๑) กฎหมายว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน (๒) แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี (๓) การบรหิ ารงานและการปฏบิ ัตงิ านของเจ้าหนา้ ที่ (๔) ประเดน็ ขอ้ ทักท้วงหรือ ข้อเสนอแนะและการพิจารณาผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจ (๕) ระบบบริหารงานตรวจสอบ (ThaiTerm) และระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานตรวจสอบ (EIS) (๖) การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร การย้าย ลาออกหรือเกษียณอายุราชการของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ซ่ึงปัญหาดังกล่าวหากยังไม่ได้รับการ ปรับปรุงหรือแก้ไขในกรณีท่ีสามารถดาเนินการได้ ก็จะส่งผลต่อการปฏิบัติหน้าที่การติดตามผลการดาเนินงาน ของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานฯ และการบังคับใช้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วา่ ด้วยการตรวจเงินแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๖๑ ตอ่ ไปอกี 28 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั บทท่ี ๕ ขอ้ เสนอแนะ จากการศึกษาข้อมูลการติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจฯ ของสานักงาน การตรวจเงินแผน่ ดินท้ังในส่วนของเอกสารที่เกยี่ วขอ้ ง ขอ้ มลู ในระบบบรหิ ารงานตรวจสอบ การสัมภาษณ์ และ การใช้แบบสอบถาม ทาให้ทราบถึงสภาพปัญหาของการดาเนินงานติดตามผล ข้อจากัดของการปฏิบัติงาน สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อรายงานค้างติดตามสะสมในระบบบริหารงานตรวจสอบ ดังนั้น คณะผู้ศึกษาจึงมี ขอ้ เสนอแนะตามประเด็นผลการศกึ ษา ดังนี้ กฎหมำยว่ำด้วยกำรตรวจเงินแผน่ ดิน • สานักกฎหมายและสานักวิจัยควรร่วมกาหนดแนวทางในการติดตามผลการดาเนินงาน ของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานฯ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ ให้ชัดเจนว่าหน่วยรับตรวจดาเนินกระบวนการแล้วเสร็จถึงขั้นตอนใดจึงจะ สามารถยุติการติดตามได้ ท้ังนี้ เพื่อลดจานวนรายงานการตรวจสอบท่ีค้างติดตามสะสมในระบบบริหารงาน ตรวจสอบ และเป็นแนวทางปฏิบัติในการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจตามพระราชบัญญัติ ประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๖๑ แผนปฏบิ ัตริ ำชกำรประจำปี • ในการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปี สานักตรวจสอบควรให้ความสาคัญ กับการติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน อย่างเคร่งครัด กำรบริหำรงำน และกำรปฏิบัตงิ ำนของเจ้ำหน้ำท่ี • สถาบันพัฒนาการตรวจเงนิ แผ่นดิน และศูนยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศควรใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับ การใช้งานระบบบริหารงานตรวจสอบ (ThaiTerm) และระบบสารสนเทศ เพ่ือการบริหารงานตรวจสอบ (EIS) แก่บุคลากรของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เพ่ือให้การบันทึกข้อมูลในระบบ ThaiTerm เป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถว้ น เปน็ ปจั จุบนั และสามารถนาข้อมลู ในระบบไปใช้ประโยชน์ในการบรหิ ารงานตรวจสอบและติดตามผล การดาเนินงานของหน่วยรบั ตรวจไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ • สานักตรวจสอบซึ่งมีหน้าท่ีควบคุม กากับหรือเร่งรัดการติดตามผลการดาเนินการของ หน่วยรับตรวจ ควรใช้ประโยชน์จากระบบบริหารงานตรวจสอบให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด หรือดาเนินการอ่ืนใด เพ่ือลดจานวนรายงานท่ีค้างติดตามในระบบบริหารงานตรวจสอบ และให้ข้อมูลในระบบบริหารงานตรวจสอบ ตรงกับข้อเท็จจรงิ ทเ่ี ป็นปัจจบุ นั 29 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ัย • สานักตรวจสอบควรมอบหมายเปน็ ลายลกั ษณ์อักษรใหม้ ผี รู้ ับผิดชอบในการติดตามผลการ ดาเนินงานของหน่วยรับตรวจและบันทึกข้อมูลในระบบบริหารงานตรวจสอบแต่ละเรื่อง (งบ/ราย/ประกาศ/ สัญญา/โครงการ) และควบคุมหรือเร่งรัดให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการติดตามผลการตรวจสอบและบันทึกข้อมูลใน ระบบอย่างต่อเนือ่ ง • สานักตรวจสอบควรวางระบบการจัดเก็บเอกสารให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันเอกสาร สูญหาย และเพ่ือใหง้ ่ายต่อการค้นหา สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้ตลอดเวลา หากพ้ืนท่ีจัดเก็บเอกสารมีจากัด อาจเลือกใช้วิธีการจัดเก็บเอกสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือสแกนเอกสารเก็บไว้ในรูปแบบไฟล์งาน ท้ังน้ี เพ่ือมิให้ ปรากฏเป็นเร่อื งค้างในระบบบรหิ ารงานตรวจสอบ เนือ่ งจากไมม่ เี อกสารประกอบการพิจารณาดาเนินการ ประเดน็ ข้อทักทว้ งหรอื ข้อเสนอแนะ และกำรพิจำรณำผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรบั ตรวจ • สานักกฎหมายและสานักวิจัยควรร่วมกาหนดแนวทางในการติดตามผลการดาเนินการ ของหน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของสานักงานฯ ตามพระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจ เงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ ให้ชัดเจนว่าหน่วยรับตรวจดาเนินกระบวนการแล้วเสร็จถึงข้ันตอนใดจึงจะสามารถ ยุติการตดิ ตามได้ • ผู้อานวยการสานักตรวจสอบ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายควรมีการประชุมแจ้งผลการ ตรวจสอบหรือประเด็นข้อทกั ทว้ งและข้อเสนอแนะก่อนการปิดตรวจ รว่ มกบั ผู้รบั ตรวจหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องของหน่วยรับตรวจอย่างเป็นทางการ และบันทึกสรุปผลการประชุมไว้เป็นลายลักษณ์ อักษร โดยเปิดโอกาสให้ผู้รับตรวจหรือเจ้าหน้าท่ีของหน่วยรับตรวจช้ีแจงเหตุผลความจาเป็น และหาข้อสรุป ร่วมกันท้ังสองฝ่าย เพ่ือให้เกิดการยอมรบั และใหค้ วามร่วมมอื ในการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของสานักงานการ ตรวจเงินแผ่นดิน และลดปัญหาการโต้แย้งข้อทักท้วงและข้อเสนอแนะ ซ่ึงจะส่งผลให้การติดตามผลการ ดาเนนิ การของหนว่ ยรบั ตรวจเป็นไปอย่างรวดเรว็ และไมม่ ีปัญหาอุปสรรค ระบบบริหำรงำนตรวจสอบ (ThaiTerm) และระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรงำนตรวจสอบ (EIS) • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศควรปรับปรุงระบบ ThaiTerm ให้สะดวกต่อการใช้งาน โดยเพ่ิมพ้ืนที่ในการบันทึกข้อมูลในระบบ เพิ่มสิทธิหรือเพิ่มรหัสให้กับเจ้าหน้าที่ในการเข้าใช้งานระบบ ThaiTerm และระบบ EIS และปรบั ปรุงใหส้ ามารถแกไ้ ขขอ้ มูลทผี่ ดิ พลาดได้ทันทีหรอื แก้ไขโดยง่าย • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศควรปรับปรุงข้อมูลในระบบหรือข้ันตอนการบันทึกข้อมูลใน ระบบใหส้ อดคลอ้ งกับคูม่ อื ระเบยี บ หรือกฎหมายใหมท่ ่มี ผี ลบงั คับใชใ้ นปัจจบุ นั • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศควรปรับปรุงระบบ EIS ให้แสดงข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ตรงกับ ขอ้ มลู ของระบบ ThaiTerm • สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคควรเพ่ิมเวลาในการเปิด-ปิดสัญญาณของศูนย์ แมข่ ่ายประจาสานกั เพื่อให้เจา้ หนา้ ท่ีสามารถบันทกึ ขอ้ มลู นอกเวลาราชการได้ 30 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศควรพิจารณาเพ่ิมเติมเคร่ืองคอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ที่ รองรับการใช้งานของระบบให้เพียงพอและเหมาะสม และควรปรับปรุงคู่มือการใช้งานใหส้ ามารถเรยี นรู้ได้เอง จากคู่มือโดยงา่ ย ทง้ั น้ี ตามความจาเป็นและเหมาะสม • ในอนาคตควรมีระบบฐานข้อมูลเพ่ือการบริหารงานตรวจสอบท่ีทันสมัย สะดวก ต่อการใช้งาน สามารถใช้งานผ่านคอมพิวเตอร์ของแต่ละบุคคลได้ หรือพัฒนาการใช้งานผ่านแอพพลิเคชั่น (Application) บนมือถือหรือแทบเล็ต ให้มีระบบการแจ้งเตือนงานค้างผ่านทางอีเมล (email) ของสานักหรือ กลุ่มงาน สามารถ Upload หนังสือหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการติดตามผลการตรวจสอบเพ่ือเก็บเป็น หลกั ฐานและอาจใช้ประโยชนไ์ ด้ในกรณีท่เี อกสารต้นฉบบั สูญหายหรือคน้ หาไม่พบ กำรปรับเปลยี่ นโครงสรำ้ งองคก์ ร กำรย้ำย ลำออกหรอื เกษียณอำยรุ ำชกำรของเจ้ำหนำ้ ที่ผรู้ บั ผดิ ชอบ • ในกรณที ่ีมีการปรับเปล่ียนโครงสรา้ งองค์กร การย้าย การเกษยี ณอายุของข้าราชการ หรือ อ่ืนใดท่ีทาให้สานักตรวจสอบเปล่ียนแปลงหน่วยรับตรวจในความรับผิดชอบ หรือเจ้าหน้าท่ีพ้นจากหน้าท่ีใน การติดตามผลการตรวจสอบเร่ืองที่รับผิดชอบ ให้สานักตรวจสอบดาเนินการเพ่ือให้มีการจัดทาบันทึกการส่ง มอบเอกสารเก่ยี วกับงานติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจและการบันทึกข้อมูลในระบบบรหิ ารงาน ตรวจสอบแต่ละเรื่องโดยละเอียด พร้อมส่งมอบเอกสารหลักฐานท่ีเก่ียวข้องให้ครบถ้วน และให้ผู้อานวยการ สานักตรวจสอบหรือผู้ท่ีมีหน้าที่ควบคุมหรือรับผิดชอบใหม่หรือผู้ได้รับมอบหมายตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของการส่งมอบงานเรื่องน้ัน ๆ ในระบบบริหารงานตรวจสอบด้วย 31 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวตั กรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ัย บรรณำนุกรม กระทรวงสาธารณสุข. (๒๓ เมษายน ๒๕๕๘). แนวคิดด้านการติดตามและประเมินผล. สืบค้นเม่ือวันท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑, จาก http://www.hed.go.th/menu /๑๐๖ ชูเกียรติ รักบาเหน็จ. (กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙). คู่มือแนวทางการติดตามประเมินผล. สืบค้นเม่ือวันที่ ๑๗ ก รก ฎ าค ม ๒ ๕ ๖ ๑ , จ าก http://www.library2 .parliament.go.th/ebook/content- ebspa/pbo-report5-2559.pdf สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน. (ม.ป.ป.). นโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน (พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) ของ คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน. สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน. (๗ มิถุนายน ๒๕๖๑). เร่ือง นโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕). ประกาศคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดนิ . สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน. (๒๕๔๗). รายงานผลการปฏิบัติงานของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๖. สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน. (๒๕๔๘). รายงานผลการปฏิบัติงานของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๗. สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน. (๒๕๔๙). รายงานผลการปฏิบัติงานของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘. สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน. (ม.ป.ป.). รายงานผลการปฏิบัติงานของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓. สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน. (ม.ป.ป.). รายงานผลการปฏิบัติงานของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔. สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน. (ม.ป.ป.). รา่ งรายงานผลการปฏิบตั ิงานของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙. สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน. (๒๕๕๙). แนวทางการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจตาม ขอ้ เสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ . กรุงเทพฯ : สานักวิจัยและพัฒนาการตรวจเงิน แผน่ ดิน สานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดิน. (๒๕๔๖). แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๖. สานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ . (๒๕๔๘). แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘. สานกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ . (๒๕๕๐). แผนปฏิบตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐. สานกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ . (๒๕๕๑). แผนปฏิบัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑. สานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดิน. (๒๕๕๒). แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒. สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน. (๒๕๕๓). แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓. 32 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ยั สานกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน. (๒๕๕๔). แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔. สานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน. (๒๕๕๕). แผนปฏบิ ัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕. สานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดิน. (๒๕๕๖). แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖. สานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน. (๒๕๕๗). แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗. สานกั งานการตรวจเงินแผ่นดิน. (๒๕๕๘). แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘. สานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ . (๒๕๕๙). แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙. สานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดนิ . (๒๕๖๐). แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐. 33 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวตั กรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั รำยช่ือที่ปรึกษำและคณะผ้จู ัดทำรำยงำนกำรศกึ ษำ ทีป่ รกึ ษำ ๑. นางสาวอัญชลี เจริญทรพั ย์ รองผูว้ า่ การตรวจเงินแผ่นดนิ ๒. นางสาวชัชพร พนิ ทุวัฒนะ ผู้อานวยการสานักวิจยั ผจู้ ดั ทำ ๑. นางสาววภิ าศิริ จันทนจุลกะ นกั วิชาการตรวจเงินแผน่ ดินเช่ยี วชาญ นกั วิชาการตรวจเงินแผน่ ดนิ ชานาญการ ๒. นางสาวชชั ฎาวรรณ เดชศรี นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดินชานาญการ ๓. นายปดพิ ัทธ์ สรรพชยั 34 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจัยและนวัตกรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ยั ภำคผนวก 35 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย ภำคผนวกท่ี ๑ แบบสอบถำม แบบสอบถำมปัญหำอุปสรรคและแนวทำงแกไ้ ข งานค้างตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ จากระบบบริหารงานตรวจสอบ การจัดทาแบบสอบถามน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือทราบถึงปัญหาอุปสรรคของงานค้างติดตามผล การดาเนินการของหน่วยรับตรวจในระบบบริหารงานตรวจสอบของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ซ่ึงมีเป็น จานวนมาก โดยมีข้อมูลรายงานค้างติดตามฯ กรณีที่หน่วยรับตรวจยังไม่แจ้งผลการดาเนินการและสานักงาน การตรวจเงินแผ่นดินยังไม่แจ้งเตือน และมีบางรายงานท่ีค้างการติดตามเกินกว่า ๑๐ ปี ทั้งน้ี เพื่อประโยชน์ใน การจัดทาข้อเสนอแนะเพ่ือปรับปรุง และพัฒนากระบวนการบริหาร การติดตามผลการดาเนินการของ หน่วยรับตรวจใหม้ ีประสิทธิภาพสูงสดุ สว่ นท่ี ๑ ข้อมูลทัว่ ไป ๑. สานัก......................................................... ๒. ลักษณะงาน............................................... ๓. ตาแหนง่ ..................................................... ส่วนท่ี ๒ ข้อมูลท่ีศึกษารวบรวม เป็นประเด็นปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจริงในด้านต่าง ๆ พร้อมแนวทางการแก้ไข และข้อเสนอแนะ ดงั น้ี ๑. ด้ำนนโยบำยและแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี (เช่น นโยบายในการติดตามงานค้าง, การกาหนดคน/วัน ในการตดิ ตามงานต่อปี เปน็ ต้น) ปัญหำ.................................................................................................................. ........................................... ................................................................................................................................................................... ........... ............................................................................................................................. ................................................. แนวทำงกำรแกไ้ ขปญั หำและขอ้ เสนอแนะ................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๒. ดำ้ นกำรปฏบิ ตั งิ ำน ๒.๑ การบริหารงาน (เช่น การใช้ระบบ eis ในการติดตามงาน, ความเข้าใจในระบบ eis และ thaiterm, การมอบหมายผรู้ บั ผิดชอบงานตดิ ตาม) ปญั หำ............................................................................................................................. ................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 36 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำและข้อเสนอแนะ................................................................................................... ................................................................................................. ............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๒.๒ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ (เช่น ความครบถ้วนในการบันทึกข้อมูล, ความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจนใน ระบบ การสง่ มอบงาน เปน็ ตน้ ) ปัญหำ............................................................................................................................. ................................ ........................................................................................................................................................................ ...... ............................................................................................................................. ................................................. แนวทำงกำรแกไ้ ขปัญหำและข้อเสนอแนะ................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๓. ด้ำนประเด็นข้อทักท้วง (เช่น ลักษณะของข้อทักท้วงที่ใช้เวลาในการติดตามงาน เช่น กรณีผิดวินัย ข้าราชการ หรอื การละเมดิ ต่อหน่วยงาน เปน็ ต้น) ปญั หำ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. แนวทำงกำรแก้ไขปญั หำและข้อเสนอแนะ................................................................................................... ................................................................................................................................................ .............................. ..................................................................................................... ......................................................................... ๔. ด้ำนระบบบันทึกข้อมูล และระบบบริหำรงำนตรวจสอบ (เช่น ความทันสมัยของระบบ ความยืดหยุ่น หรือเปิดกวา้ งในการบันทกึ ข้อมลู เป็นต้น) ปัญหำ........................................................................................................................... .................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................... ....................................................... แนวทำงกำรแกไ้ ขปญั หำและขอ้ เสนอแนะ................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 37 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรบั ตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานักวจิ ัย ๕. ดำ้ นกำรปรบั เปล่ียนโครงสร้ำงองค์กร (เช่น การจัดตั้งสานกั /สตจ.ใหม่, การโยกย้ายข้าราชการ) ปญั หำ............................................................................................................................. ................................ .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................... .................................................... แนวทำงกำรแก้ไขปญั หำและข้อเสนอแนะ................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๖. ด้ำนอ่ืน ๆ (เช่น จานวนอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์/เคร่ืองพิมพ์, ความสมา่ เสมอในการจัดทารายงานการติดตาม ผลการดาเนินการของหนว่ ยรับตรวจ เปน็ ต้น) ปัญหำ..................................................................................... ........................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทำงกำรแกไ้ ขปัญหำและขอ้ เสนอแนะ................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ................... ................................................................................................................ .............................................................. ส่วนที่ ๓ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการติดตามผลการดาเนินการของหน่วยรับตรวจตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ (เช่น ระยะเวลา, วิธีการ/รูปแบบในการ ประสานความรว่ มมอื เพ่อื การตดิ ตามผลการตรวจสอบจากหนว่ ยรบั ตรวจ เปน็ ต้น) ................................................................................................................................................. ............................. ..................................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................... ........................................ ........................................................................................... ................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 38 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
กลุ่มวิจยั และนวัตกรรมการตรวจสอบ สานกั วจิ ัย ภำคผนวกที่ ๒ บันทึกขอ้ ควำมถงึ สำนักตรวจสอบ จำนวน ๓๙ สำนัก บนั ทึกขอ้ ควำม ส่วนราชการ สำนักวิจัยและพฒั นำกำรตรวจเงินแผน่ ดิน โทร. ๘๒๐๒, ๒๘๐๑ ที่ ตผ ๐๐๐๘/ วนั ที่ ๒๑ มนี ำคม ๒๕๖๑ เร่ือง กำรติดตำมผลกำรดำเนนิ กำรของหนว่ ยรับตรวจ เรียน ผตน. ๑ ผตน. ๒ ผพส. ๒ ผพส. ๓ ผพส. ๕ ผตส. ๔ ผตส. ๕ ผตส. ๑๓ ผตส. ๑๗ ผตพ. ๓ ผตพ. ๔ ผตพ. ๘ ผตพ. ๑๐ ผตพ. ๑๑ ผตพ. ๑๒ ผตจ. (พระนครศรีอยุธยำ ปรำจีนบุรี อ่ำงทอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรำ จันทบุรี ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลรำชธำนี ศรีสะเกษ เลย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด เชียงรำย ลำปำง แพร่ อุตรดติ ถ์ พษิ ณโุ ลก ตำก สรุ ำษฎร์ธำนี พัทลุง สตลู ยะลำ) ตำมที่สำนักนโยบำยและยุทธศำสตร์กำรตรวจเงินแผ่นดิน (สนย.) ได้รำยงำนกำรติดตำมผล กำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจ ไตรมำส ๒ และไตรมำส ๔ ประจำปีงบประมำณ ๒๕๖๐ จำกระบบ บรหิ ำรงำนตรวจสอบ (http://eis.oag.go.th) เสนอต่อผู้ว่ำกำรตรวจเงินแผ่นดิน โดยมีรำยงำนค้ำงติดตำมผล กำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจ ณ วันที่ ๓๐ กนั ยำยน ๒๕๖๐ จำนวนทัง้ ส้ิน ๑๙,๓๖๔ รำยงำน ในจำนวนนี้ เปน็ กรณที ห่ี นว่ ยรบั ตรวจยังไมแ่ จ้งผลกำรดำเนินกำรและสำนกั งำนกำรตรวจเงนิ แผ่นดนิ ยงั ไม่แจ้งเตือน จำนวน ๙,๖๑๔ รำยงำน คิดเป็นร้อยละ ๔๙.๗๐ ของรำยงำนค้ำงติดตำมผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจ และมี รำยงำนค้ำงติดตำมผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจท่ีเกินกว่ำ ๑๐ ปี (ปีงบประมำณ ๒๕๔๓ ถึง ปีงบประมำณ ๒๕๕๐) รวมท้ังส้ิน ๑,๔๖๗ รำยงำน ซ่ึงผู้ว่ำกำรตรวจเงินแผ่นดินได้สั่งกำรให้สำนักวิจัย และพัฒนำกำรตรวจเงนิ แผ่นดนิ ศกึ ษำวิเครำะห์และเสนอแนวทำงแกไ้ ขปัญหำต่อไป นั้น จำกรำยงำนกำรติดตำมผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจดังกล่ำว ปรำกฏข้อมูลว่ำ สำนัก ตรวจสอบพเิ ศษภำค ๑๑ มีรำยงำนคำ้ งติดตำมผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจ ณ วันท่ี ๓๐ กันยำยน ๒๕๖๐ กรณีท่ีหน่วยรับตรวจยังไม่แจ้งผลกำรดำเนินกำร และสำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดินยังไม่แจ้งเตือน จำนวน ๒๘ รำยงำน และมีรำยงำนค้ำงติดตำมผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจท่ีเกินกว่ำ ๑๐ ปี (ปีงบประมำณ ๒๕๔๓ ถึงปีงบประมำณ ๒๕๕๐) จำนวน ๒๑ รำยงำน ดังนั้น สำนักวิจัยและพัฒนำกำรตรวจเงินแผ่นดิน จงึ ขอควำมร่วมมือจำกท่ำนและบุคลำกรในสำนักฯ ในกำรตอบแบบสอบถำม (ตำมเอกสำรแนบ) เพ่ือทรำบถึง ปัญหำ อุปสรรคที่เกิดข้ึนจริงอย่ำงครบถ้วน รอบด้ำน ตลอดจนวิธีกำรแก้ไขปัญหำ พร้อมข้อเสนอแนะ (ถ้ำมี) ซ่ึงข้อมูลดังกล่ำวจะเป็นประโยชน์ต่อกำรจัดทำข้อเสนอแนะในกำรบริหำร กำรปรบั ปรุง พัฒนำวิธีกำรติดตำม ผลกำรดำเนินกำรของหน่วยรับตรวจท้ังในปัจจุบันและอนำคตให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุด สอดคล้องกับ กฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรตรวจเงินแผน่ ดนิ ท่ีเปลยี่ นแปลงไป ทง้ั นี้ ขอควำมร่วมมือผู้อำนวยกำรสำนัก นักวชิ ำกำรตรวจเงินแผ่นดินชำนำญกำรพิเศษที่ปฏิบัติ หน้ำที่แต่ละลักษณะงำน ๑ ท่ำน และเจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติหน้ำที่ติดตำมงำนอย่ำงน้อยลักษณะงำนละ ๑ ท่ำน ตอบแบบสอบถำมและขอให้รวบรวมแบบสอบถำมส่งสำนักวิจัยและพัฒนำกำรตรวจเงินแผ่นดิน ภำยในวันท่ี ๕ เมษำยน ๒๕๖๑ จงึ เรียนมำเพ่ือโปรดพิจำรณำดำเนินกำร (นำงสำววิภำศริ ิ จันทนจุลกะ) 39 นักวิชำกำรตรวจเงินแผน่ ดนิ เชยี่ วชำญ รกั ษำรำชกำรแทน ผู้อำนวยกำรสำนักวจิ ยั และพัฒนำกำรตรวจเงนิ แผ่นดิน การตดิ ตามผลการดาเนนิ การของหน่วยรับตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: