รายงานวจิ ัย เรอื่ ง การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเรื่อง การนำเสนอการขาย หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทกั ษะ ของนกั เรยี นช้นั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ 3/1 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสุรนิ ทร์ วนั เพญ็ พรง้ิ เพราะ แผนกวชิ าการตลาด วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสุรนิ ทร์ สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ปีการศกึ ษา 2562
ข กิตติกรรมประกาศ การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การศึกษาการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะของนักเรียนช้ัน ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ สาขาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 3/1 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาสุรนิ ทร์ มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึก ทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สุรินทร์ เพื่อพัฒนา.ทักษะการนำเสนอการขายสินค้า เรื่อง การนำเสนอการขาย ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 และเพื่อศึกษาความพึงพอใจทางการเรียนเร่ือง การนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบตั รวชิ าชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัย อาชีวศึกษาสุรินทร์ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 15 คน เป็นนักเรียนชั้น ปวช 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สุรินทร์ สำเร็จมาไดด้ ้วยดีเพราะได้รบั ความอนุเคราะหจ์ ากนายนิวตั ิ ตงั วฒั นา วนั เพ็ญ พริง้ เพราะ
ค บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการศึกษาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึก ทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สุรินทร์ โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรนิ ทร์ เพื่อเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน เรื่องเรื่องการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตร วชิ าชีพ (ปวช.) โดยใชแ้ บบฝึกทักษะของนกั เรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ แบบฝึกทักษะ เรื่องการนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะของ นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑท์ ี่กำหนดไว้ 80/80 และเพื่อศึกษาความพึงพอใจทางการเรียนการสอนเรือ่ ง การนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝกึ ทักษะของนักเรยี นช้นั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 15 คน เป็นนักเรียนชั้น ปวช. 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ การวิจัยครั้งนี้ใช้เครื่องมือการวิจัย 4 ประเภท คือ แผนการจัดการ เรียนรจู้ ำนวน 6 แผน่ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบฝึกทักษะ และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติ ทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คอื 1) สถิติพ้ืนฐานท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นต้น 2) สถิติการเปรียบเทียบใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ t-test/F-test 3) สถิติการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ และดัชนีประสิทธิผลใช้ใน การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ผลการวจิ ัยพบวา่ 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเร่ือง การนำเสนอการขาย โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ ของนักเรียนชัน้ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ สาขาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ มีความแตกต่างกนั อย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ 0ิ .5 2. การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระหว่างก่อนเรียนกบั หลังเรยี นเร่ืองการนำเสนอ การขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบตั รวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสรุ ินทร์ มคี วามแตกต่างกนั พบว่าแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 - 4 โดยรวม (เฉล่ีย) พบว่า คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนโดยรวม 293 เฉล่ีย 73.25 คะแนน ค่าเฉลี่ยร้อยละ 48.83 แบบทดสอบหลงั เรียนโดยรวม 532 เฉลย่ี 133 ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ 88.66 คะแนน
3. การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่องการนำเสนอการ-kp ต้องมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ทก่ี ำหนดไว้ 80/80 4. ความพึงพอใจทางการเรียนการสอนเรื่องการนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ อยใู่ นระดับดี
ง สารบญั หนา้ กิตติกรรมประกาศ.............................................................................................................. ข บทคัดยอ่ ............................................................................................................................ ค สารบัญ .............................................................................................................................. ง สารบัญตาราง .................................................................................................................... ฉ บทที่ 1 บทนำ................................................................................................................. 1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา ............................................................... 1 วัตถปุ ระสงค์......................................................................................................... 3 สมมติฐานการวิจัย................................................................................................ 3 ขอบเขตการวจิ ัย................................................................................................... 4 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ.................................................................................................. 4 ประโยชน์ที่คาดจะไดร้ บั ....................................................................................... 5 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้อง........................................................................... 6 แนวคิดเกยี่ วกับการจัดการเรยี นร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี............................ 11 แนวคดิ เกย่ี วกับการจดั การเรียนรกู้ ารนำเสนอการขาย......................................... 15 แนวคดิ เกี่ยวกบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น............................................................... 18 แนวคดิ เก่ียวกับความพงึ พอใจ.............................................................................. 20 งานวจิ ัยที่เกยี่ วข้อง............................................................................................... 21 3 วิธดี ำเนนิ การวิจัย ............................................................................................... 26 กลุ่มเปา้ หมายการวจิ ัย .......................................................................................... 26 เครื่องมือการวิจยั ................................................................................................. 26 การเก็บรวบรวมข้อมูล.......................................................................................... 27 วิเคราะหข์ อ้ มลู ..................................................................................................... 28 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล......................................................................................... 29 ผลการวเิ คราะหต์ อนท่ี 1 ...................................................................................... 30 ผลการวิเคราะห์ตอนที่ 2...................................................................................... 36 ผลการวเิ คราะห์ตอนท่ี 3...................................................................................... 37 ผลการวเิ คราะห์ตอนท่ี 4...................................................................................... 38
5 สรปุ ผลการวิจยั อภิปรายผลวจิ ัยและข้อเสนอแนะ.............................................. 40 สรุปผลการวิจัย..................................................................................................... 40 อภิปรายผล........................................................................................................... 41 ขอ้ เสนอแนะ ....................................................................................................... 43 บรรณานกุ รม ................................................................................................................... 44
ฉ สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา้ ตารางวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตอนท่ี 1.................................................................................................................................. 30 ตอนท่ี 2.................................................................................................................................. 36 ตอนที่ 3 .................................................................................................................................. 37 ตอนที่ 4 .................................................................................................................................. 38
1 บทที่ 1 บทนำ ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา การจัดการศึกษาในประเทศไทยเป็นการศึกษาที่จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการของประเทศ ไทย โดยภาครัฐจะเข้ามาดูแลโดยตรงและเปิดโอกาสให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษาตั้งแต่ระดับ การศึกษาปฐมวัยจนถงึ ระดับอุดมศึกษา สำหรับการศึกษาภาคบังคับในประเทศไทยนั้นได้กำหนดให้ พลเมอื งไทยตอ้ งจบการศึกษาอย่างนอ้ ยท่ีสุดในระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต้นและตอ้ งเข้ารับการศึกษา อย่างช้าสุดเมื่ออายุ 7 ปี ซึ่งการศึกษาภาคบังคับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งแบ่ง ออกเป็นระดับชั้นประถมศึกษา 6 ปีและมัธยมศึกษา 6 ปี นอกจากนี้แล้วการศึกษาขั้นพื้นฐานยัง รวมถงึ การศกึ ษาปฐมวัยอีกดว้ ย ทั้งนร้ี ัฐจะตอ้ งจดั ให้อยา่ งท่ัวถึงและมีคณุ ภาพโดยไม่เก็บคา่ ใช้จ่ายตาม ความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ส่วนการบริหารและการควบคุม การศึกษาในระดบั อุดมศึกษาจะดำเนินการโดยสำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งเป็นแผนก หนง่ึ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ในปัจจบุ นั การศึกษาในประเทศไทยมีท้งั สนิ้ 3 รูปแบบ คือ การศกึ ษาใน ระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างไรก็ตามการจัดการศึกษาของประเทศ ไทยนัน้ ถกู มองว่าล้าหลังและล้มเหลวเสมอมา กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ เปดิ เผยเม่ือเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ว่า เดก็ ไทยมีระดบั เชาวน์ปญั ญา 98.59 ซง่ึ ต่ำกว่าค่ามัธยฐานของเชาวน์ปัญญา ท้ังโลกทร่ี ะดบั 100 โดยเดก็ ไทยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือมีสติปญั ญานอ้ ยท่ีสดุ สูงข้ึนมาจึงเปน็ ภาคใต้ ภาคเหนือ และภาคกลางตามลำดับ (วภิ าภรณ์, 2543) แนวคิดทฤษฏีทางการศึกษาเน้นกระบวนการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญคือ วิธีการ ที่สามารถสร้างและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดคุณลักษณะต่างๆ ที่ต้องการในยุคโลกาภิวัตน์เนื่องจากเปน็ การจดั การเรยี นการสอนท่ีให้ความ สำคญั กบั ผ้เู รียน ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนรู้จักเรยี นรู้ด้วยตนเอง เรียนใน เรื่องที่สอดคล้องกับความสามารถและความต้องการของตนเองและได้พัฒนา ศักยภาพของตนเอง อย่างเต็มที่ ซงึ่ แนวคดิ การ จัดการศกึ ษานเ้ี ปน็ แนวคดิ ทมี่ รี ากฐานจากปรชั ญาการศึกษาและทฤษฎีการ เรียนรู้ ต่าง ๆ ที่ได้พัฒนามาอย่าง ต่อเนื่องยาวนาน และเป็นแนวทางที่ได้รับการพิสูจน์ว่าสามารถ พฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ คี ณุ ลกั ษณะตาม ต้องการอยา่ งได้ผล (วัฒนาพร ระงับทกุ ข์. 2542) จุดมุ่งหมายของการศึกษาของหลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี 2556 ต้องการให้ผู้เรียนมี ความรู ทกั ษะและประสบการณในงานอาชพี สอดคลองกับมาตรฐานวิชาชพี สามารถนาํ ความรูทักษะ และประสบการณในงานอาชีพไปปฏิบัตงิ านอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ เลือกวิถกี ารดาํ รงชวี ิต การ ประกอบอาชพี ไดอยางเหมาะสมกับตน สรางสรรคความเจริญตอชมุ ชน ทองถน่ิ และประเทศชาติ
2 เปนผูมีปญญา มีความคิดรเิ ริ่มสรางสรรค ใฝเรียนรู เพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตและการประกอบ อาชีพ สามารถสรางอาชพี มีทักษะในการจดั การและพฒั นาอาชีพใหกาวหนาอยูเสมอ มเี จตคติท่ีดีตออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในวิชาชีพที่เรียน รักงาน รักหนวยงาน สามารถทํางานเปนหมูคณะไดดี โดยมีความเคารพในสิทธิและหนาท่ีของตนเองและผู้อื่น มีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงาม ทั้งในการ ทํางาน การอยูรวมกัน การตอตานความรุนแรง และสารเสพติด มีความรับผิดชอบตอครอบครัว หนวยงาน ทองถน่ิ และประเทศชาติ อทุ ศิ ตนเพอ่ื สงั คม เขาใจและเหน็ คณุ คาของศิลปวฒั นธรรม ภมู ิป ญญาทองถิ่น มีจิตสํานึกดานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูจักใชและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสรางสง่ิ แวดลอมทีด่ ี 5. เพอ่ื ใหมบี ุคลกิ ภาพที่ดี มีมนษุ ยสัมพนั ธ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และวินัยใน ตนเอง มีสุขภาพอนามัย ที่สมบูรณทั้งรางกายและจิตใจเหมาะสมกับงานอาชีพ ตระหนักและมีสวน รวมในการแกไขปญหาเศรษฐกิจ สงั คม การเมืองของประเทศและโลก มคี วามรักชาติ สาํ นึกในความ เปนไทย เสียสละเพื่อสวนรวม ดํารงรักษาไวซึ่งความมั่นคงของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข(สำนักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศกึ ษา,2556) วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสรุ ินทร์ไดจ้ ดั การศกึ ษาโดยเนน้ กระบวนการเรยี นรู้ทีส่ รา้ งสรรค์สามารถ เรียนรู้ได้ตลอดเวลาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งพัฒนาผู้เรียน จึงต้องใช้เทคนิควิธีสอน วิธีการเรียนรู้ในรูปแบบการสอนหรือกระบวนการเรียนการสอนในหลากหลายวิธีซึ่งจำแนกได้ ดังน้ี(คณะอนกุ รรมการปฏิรูปการเรียนรู้, 2543) การจัดการเรยี นการสอนทางอ้อม ได้แก่ การเรียนรู้ แบบสืบค้น แบบค้นพบ แบบแก้ปัญหาแบบ สร้างแผนผังความคิดแบบใช้กรณีศึกษา แบบตั้งคำถาม แบบใช้การตัดสินใจ เทคนิคการศึกษาเป็นรายบุคคล ได้แก่ วิธีการเรียนแบบศูนย์การเรียน แบบการ เรียนรู้ด้วยตนเอง แบบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เทคนิคการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีต่าง ๆ ประกอบการเรียน เช่น การใช้สิ่งพิมพ์ ตำราเรียน และแบบฝึกหัดการใช้แหล่ง ทรัพยากรในชุมชน ศูนย์การเรียนชุดการสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียนสำเร็จรูปเทคนิคการ จดั การเรยี นการสอนแบบเน้นปฏิสมั พันธ์ประกอบดว้ ย การโต้วาทีกลุ่ม Buzzการอภิปราย การระดม พลังสมอง กลุ่มแก้ปัญหา กลุ่มติว การประชุมต่างๆ การแสดงบทบาทสมมติกลุ่มสืบค้นคู่คิดการฝกึ ปฏิบัติ เป็นต้น เทคนิค การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นประสบการณ์เช่น การจัดการเรียนรู้แบบ มสี ว่ นร่วมเกม กรณีตัวอย่างสถานการณ์จำลองละคร กรณตี วั อย่างสถานการณจ์ ำลอง ละคร บทบาท สมมติ เทคนคิ การเรยี นแบบรว่ มมือ ได้แก่ ปริศนาความคิดร่วมมือแขง่ ขนั หรือกลุ่มสืบค้นกลุ่มเรียนรู้ รว่ มกัน ร่วมกนั คิด กล่มุ ร่วมมือเทคนิคการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ได้แก่ การเรียนการสอนแบบ ใช้เว้นเล่าเรื่อง(Story line) และการเรียนการสอนแบบแก้ปัญหา (Problem-Solving) (จิราภรณ์, 2541)
3 จากแนวคิดดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่าวิธีสอนแบบต่าง ๆ เป็นกระบวนการที่ครูจำเป็นต้อง นำมาใช้สอนนักเรียนให้เกิดประสิทธิภาพ และถือเป็นภาระหน้าที่ของครูผูส้ อนที่จักนำวิธีสอนทั้ง 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ วิธีสอนแบบครูเป็นศนู ย์กลางและวิธีสอนแบบผู้เรียนเป็นสำคัญตลอดจนวิธสี อน แบบต่าง ๆ ที่เอ้อื ต่อหลกั สตู รมาพิจารณาใช้ให้เหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอนในแต่ละกลุ่มวิชา และ สนองความตอ้ งการของนกั เรียนแต่ละวยั แตล่ ะระดับทำให้ผู้วิจยั สนใจ หลกั สตู รประกาศนยี บัตร วชิ าชีพ (ปวช.) โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะของนกั เรยี นชนั้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสรุ ินทร์ เพือ่ ประโยชนแ์ กค่ รูผ้สู อนไดน้ ำแนวทางไปปรบั ประยกุ ตใ์ ช้ในการทำ หน้าท่ตี อ่ ไปในอนาคต วัตถุประสงค์ 1. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรอ่ื ง การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตร วชิ าชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝกึ ทักษะของนักเรยี นช้ันประกาศนยี บตั รวิชาชพี สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาสรุ นิ ทร์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนเรื่อง การ นำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกจิ 3/1 วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสุรนิ ทร์ 3. เพื่อพฒั นาแบบฝึกทักษะ เรื่องการนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียน ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ ให้มี ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ 80/80 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจทางการเรียนการสอนเรื่องการนำเสนอการขาย โดยใช้แบบ ฝึกทักษะของนกั เรียนช้ันประกาศนียบัตรวชิ าชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สุรนิ ทร์ สมมติฐานการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรยี น ชนั้ ประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรนิ ทร์ มคี วามแตกต่าง กนั อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ 0.5 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนเรื่อง การ นำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรนิ ทร์ มีความแตกตา่ งกัน 3. การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่องการนำเสนอการ-kp ต้องมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ทีก่ ำหนดไว้ 80/80
4 4. ความพึงพอใจทางการเรียนการสอนเรื่องการนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ อยูใ่ นระดบั ดี ขอบเขตการวจิ ัย 1. ขอบเขตด้านเนอื้ หา การวิจัยครั้งนี้ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง การนำเสนอ การขาย โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนยี บัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสรุ ินทร์ 2. ขอบเขตด้านกลุ่มเป้าหมาย นักเรยี นชั้นประกาศนียบัตรวิชาชพี สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สรุ ินทร์ 3. ขอบเขตด้านตัวแปร ตวั แปรอสิ ระ ได้แก่ การสอนโดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 4. ขอบเขตด้านระยะเวลา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562 ใช้เวลา 54 คาบ คาบเรียนละ 60 นาที นิยามศัพท์เฉพาะ นักเรียน หมายถงึ ผู้ศกึ ษาในสถานศกึ ษา แบบฝึกทักษะ หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่ครูสร้างขึ้น โดยมีรูปแบบกิจกรรมท่ี หลากหลาย มจี ดุ มุง่ หมายเพอ่ื ฝึกใหน้ ักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจบทเรียนไดด้ ยี งิ่ ขน้ึ ประสิทธภิ าพ หมายถงึ กระบวนการ วธิ ีการ หรอื การกระทำใด ๆ ที่นำไปส่ผู ลสำเร็จ 80 ตัวแรก หมายถึง ประสิทธภิ าพของกระบวนการ 80 ตวั หลงั หมายถงึ ประสทิ ธภิ าพของผลลพั ธ์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร ได้มาตามหลักการวดั และ ประเมนิ ผล ทีค่ รอบคลมุ ทงั้ ด้านความรู้ความคิดหรือพุทธพิ ิสยั ดา้ นอารมณแ์ ละความรูสึกหรือจิตพิสัย และดา้ นทกั ษะปฏบิ ัตหิ รอื ทกั ษะพิสยั ทผ่ี สู้ อนกำหนดไวใ้ นช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรู้สึกรักชอบยนิ ดีเต็มใจ หรือมเี จตคติที่ดีของบุคคลต่อส่ิงใด สิ่งหนง่ึ
5 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ 1. ได้ทราบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนยี บตั รวิชาชพี สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ 3/1 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสุรนิ ทร์ 2. ได้ทราบผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน เรื่องการนำเสนอการขาย โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ ของนกั เรยี นช้นั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ สาขา คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาสรุ นิ ทร์ 3. ได้พัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การนำเสนอการขาย ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ท่กี ำหนดไว้ 80/80 4. ได้ทราบความพึงพอใจทางการเรียนการสอนเรื่องการนำเสนอการขาย โดยใช้แบบ ฝกึ ทกั ษะ ของนักเรียนชน้ั ประกาศนียบัตรวิชาชพี สาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สรุ นิ ทร์
6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง การวิจัยเรื่องการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบตั รวิชาชีพ สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจทางการ เรียนการสอนเร่ืองการนำเสนอการขาย, เพ่ือเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียน กบั หลังเรยี นเรื่องการนำเสนอการขาย,เพอื่ พฒั นาแบบฝึกทกั ษะ เรื่องการนำเสนอการขาย, การศึกษา ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย ในการศกึ ษาครง้ั นี้ผ้วู ิจัยได้ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วขอ้ งดังน้ี 1. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 2. กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี 3. แนวคดิ เกย่ี วกับการจัดการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี 4. แนวคดิ เกีย่ วกับแบบฝึกทกั ษะ 5. แนวคดิ เกีย่ วกบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 6. แนวคดิ เกีย่ วกับความพึงพอใจ 7. งานวจิ ัยที่เกยี่ วข้อง หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพฒั นาผู้เรยี นทุกคนซึง่ เปน็ กำลังของชาติ ให้เป็นมนุษยท์ ี่มคี วามสมดลุ ทังด้านร่างกายความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็น พลเมอื งไทยและเปน็ พลโลกยดึ มน่ั ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รง เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชือ่ วา่ ทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ หลักการหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลกั การที่สำคญั ดงั นี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษา เพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน ใหม้ คี วามรทู้ กั ษะเจตคติและคณุ ธรรมบน พืน้ ฐานของความเปน็ ไทยควบคกู่ ับความเป็นสากล
7 2. เป็นหลักสตู รการศึกษาเพ่อื ปวงชน ที่ประชาชนทกุ คนมีโอกาสได้รบั การศึกษาอย่าง เสมอภาคและมีคุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษา ทีสนองการกระจายอำนาจให้สังคม มีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษาให้สอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของท้องถ่ิน 4. เป็นหลักสูตรการศึกษา ที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้เวลาและการ จัดการเรยี นรู้ 5. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษา ทีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์จุดหมายหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนให้เป็นคนดมี ีปญั ญา มีความสุข มี ศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ การศึกษาข้นั พื้นฐาน ดังน้ี 1. มีคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ มทีพึงประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเองมวี นิ ัยและปฏิบัติ ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทตี นนับถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมี ทกั ษะชีวติ 3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี มี สี ขุ นสิ ัยและรกั การออกกำลงั กาย 4. มีความรกั ชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมันในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มจี ติ สาธารณะทีมุ่งทำประโยชนแ์ ละสร้างสงิ ทีดงี ามในสงั คมและอยู่รว่ มกันในสังคมอย่าง มีความสขุ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น การพฒั นาผ้เู รยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ่ พฒั นา ผเู้ รยี นใหม้ สี มรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการ ใช้ภาษา ถา่ ยทอดความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพือ่ แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสงั คมรวมท้งั การเจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรอื ไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ ความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ ีการส่ือสารทีมีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทีมีต่อตนเอง และสังคม
8 2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรอื สารสนเทศ เพื่อการตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ทีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูล สารสนเทศเข้าใจ ความสัมพนั ธ์และการเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ งๆในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกันและแก้ไขปญั หาและมีการตดั สินใจทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ โดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อ ตนเองสงั คมและสิงแวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆไปใช้ ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนืองการทำงานและการอยู่ ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ ขัดแยง้ ตา่ งๆอยา่ งเหมาะสม การปรบั ตัวให้ทันกับการเปล่ยี นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อมและ การร้จู กั หลกี เลยี งพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ ีสง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยี ด้านต่างๆและมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรยี นรู้ การสอื่ สาร การแกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรคถ์ ูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์การพฒั นาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยูร่ ่วมกับผูอ้ ่นื ใน สงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซือ่ สัตย์ สุจรติ 3. มีวินยั 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. ม่งุ มัน ในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจติ สาธารณะ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2545 : 5) ได้กล่าววา่ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยีเป็นสาระการเรียนรู้ ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ และมี
9 ความสามารถเกี่ยวกับงาน อาชีพและเทคโนโลยี มีทักษะการทำงาน ทักษะการจัดการ สามารถนำ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีจากภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภมู ิปัญญาไทย และเทคโนโลยีสากลมาใช้ใน การทำงานอยา่ งถูกต้อง เหมาะสม คุ้มค่า และมีศีลธรรม คุณธรรม สร้างและพัฒนาผลิตภณั ฑห์ รอื วิธีการใหม่ สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ มีนิสัยรักการทำงาน เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่องาน ตลอดจนมีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เป็นพื้นฐาน ได้แก่ ความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัดและอดทน อันจะนำไปสู่การเป็นผู้เรียนที่สามารถช่วยเหลือตนเอง และพึ่งตนเองได้ตาม พระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดำรงชวี ิตอยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข ร่วมมือและแข่งขัน ในระดบั สากลภายใต้บริบทของสงั คมไทย วิสยั ทัศน์ กรมวชิ าการ, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2545 : 4) วิสยั ทัศนข์ องกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี เป็นสาระที่เน้นกระบวนการทำงานและการจัดการอย่างเป็นระบบ พัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะการออกแบบงาน และการทำงานอย่างมีกลยุทธ์ โดยใช้กระบวนการ เทคโนโลยี และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนนำเทคโนโลยีมาใช้และประยุกต์ใช้ในการทำงาน รวมทงั้ การสรา้ ง พัฒนาผลิตภณั ฑ์หรือวธิ ีการใหม่ เน้นการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมและ พลังงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ และเทคโนโลยกี ำหนดวิสยั ทัศน์ การเรยี นรู้ ที่ยึดการทำงานและการแก้ปัญหาเป็นสำคัญบนพื้นฐาน ของการใชห้ ลกั การและทฤษฏีเป็นหลักในการทำงานและการแก้ปัญหา งานที่นำมาฝึกฝนเพื่อบรรลุ วิสยั ทัศน์ของกลุม่ นัน้ เป็นงานเพื่อการดำรงชวี ติ ในครอบครัวและสงั คมและงานเพ่อื การประกอบอาชีพ ซง่ึ งานทัง้ 2 ประเภทน้ี เม่อื ผู้เรียนได้รับการฝกึ ฝนตามกระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผู้เรียนจะได้รับการปลูกฝังและพัฒนาให้มีคุณภาพและมีศีลธรรมการ เรียนรู้จากการทำงานและการแก้ ปัญหาของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี จึง เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจาก การบูรณาการ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และความดีที่หล่อหลอม รวมกันจนก่อเกิดเป็นคุณลักษณะของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดคุณภาพผู้เรียนกลุ่ม สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้เป็นคนดี มี ความรู้ ความสามารถ โดย กรมวิชาการ, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2545 : 4) ได้เสนอคุณลักษณะ ท่ี พึงประสงค์ ดงั นี้ 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำรงชีวิตและครอบครัว การอาชีพ การ ออกแบบและเทคโนโลยี เทคโนโลยสี ารสนเทศ และเทคโนโลยเี พื่อการทำงานและอาชพี 2. มีทักษะในการทำงาน การประกอบอาชีพ การจดั การ การแสวงหาความรู้ เลือกใช้ เทคโนโลยี และเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำงาน สามารถทำงานอย่างมีกลยุทธ์ สรา้ งและพัฒนา
10 ผลติ ภัณฑห์ รือวธิ กี ารใหม่ 3. มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน รักการทำงาน ประหยัด อดออม ตรง ต่อเวลา เอื้อเฟื้อ เสียสละและมีวินัยในการทำงาน เห็นความสำคัญของงานและอาชีพสุจริต ตระหนกั ถึงความสำคญั ของสารสนเทศ การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมและพลงั งาน สาระและขอบขา่ ยของกลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี กรมวชิ าการ, กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2545 : 6 - 7) ไดก้ ล่าวถึง สาระและขอบขา่ ยของ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ไว้ดังน้ี สาระที่ 1 การดำรงชวี ิตและครอบครัว เป็นสาระทีเ่ ก่ียวกับการทำงานในชวี ติ ประจำวัน ท้ังในระดบั ครอบครวั ชมุ ชนและสงั คม ทีว่ ่าดว้ ยงานบ้าน งานเกษตร งานช่าง งานประดิษฐ์ และงาน ธุรกิจ ซึ่งหมายความว่า สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรยี นครบทั้ง 5 งาน ภายใน 3 ปีของแต่ละช่วงช้นั จะ ขาดงานใดงานหนง่ึ ไม่ได้ 1. งานบ้าน เป็นงานที่เกี่ยวกับการทำงานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในครอบครัวซึ่งประกอบด้วยบ้าน และความเป็นอยู่ในบ้าน ผ้าและเครื่องแต่งกาย อาหารและโภชนาการ โดยเน้นการปลูกฝังนิสัย ลักษณะการทำงาน ทักษะ กระบวนการทำงาน การแก้ปญั หาในการทำงาน มีความรับผิดชอบ สะอาด มีระเบียบ ประหยดั อดออม อนุรกั ษพ์ ลงั งานและสง่ิ แวดล้อม ทัง้ น้ีสถานศึกษาจะต้องจัดให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ครบท้งั 3 เรอ่ื ง ภายใน 3 ปี ของแตล่ ะชว่ งชั้นจะขาดเรือ่ งใดเรื่องหนงึ่ ไมไ่ ด้ 2. งานเกษตร เป็นงานทเ่ี กยี่ วกับการทำงานในชวี ิตประจำวัน ซึ่งประกอบด้วยการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ตามกระบวนการผลิตและการจัดการผลผลิตมีการใช้เทคโนโลยี เพื่อเพิ่มผลผลิต ความรับผิดชอบ ขยัน อดทน การอนุรักษ์ พลังงาน และสง่ิ แวดลอ้ ม ทัง้ นี้ สามารถจัดให้เรยี นรทู้ ง้ั การปลกู พชื และเลี้ยง สตั ว์ หรืออยา่ งหน่ึงอยา่ งใดก็ไดภ้ ายใน 3 ปี ของแตล่ ะชว่ งชนั้ 3. งานช่าง เป็นงานที่เกี่ยวกับการทำงานตามกระบวนการของงานช่าง ซึ่งประกอบด้วย การบำรุง รกั ษา การตดิ ต้งั ประกอบ การซ่อมและการผลติ เพอื่ ใช้ในชีวติ ประจำวัน ท้งั น้สี ถานศึกษาสามารถ จดั ใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รียนรู้ทัง้ 4 งาน ภายใน 3 ปขี องแต่ละชว่ งช้นั 4. งานประดษิ ฐ์ เป็นงานที่เกี่ยวกับการทำงานด้านการประดษิ ฐ์สิ่งของเครือ่ งใช้ ที่เป็นการประดิษฐ์ทั่วไป และท่ีเปน็ เอกลกั ษณไ์ ทย โดยเนน้ ความคิดสร้างสรรค์ เนน้ ความประณีต สวยงามตามกระบวนการ งานประดษิ ฐ์ และเนน้ การอนรุ กั ษ์และสบื สานศิลปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณไี ทย ตามภูมิ ปญั ญาท้องถิน่ และสากล
11 5. งานธรุ กิจ เป็นงานที่เกี่ยวกับการจัดการเศรษฐกิจของครอบครัว การเป็นผู้บริโภคที่ฉลาด ซึ่งประกอบด้วย ธุรกิจประจำวัน งานสำนักงาน การเงินและบัญชี การขายและการจัดการ ทั้งนี้ สถานศึกษาสามารถจดั ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรทู้ ้งั 5 เร่ือง ภายใน 3 ปขี องแตล่ ะช่วงชนั้ สาระท่ี 2 การอาชพี เป็นสาระทีเ่ ก่ยี วข้องกบั หลักการ คุณคา่ ประโยชนข์ องการประกอบ อาชพี สุจรติ ตลอดจนการเหน็ ของแนวทางในการประกอบอาชพี สาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยี เป็นสาระที่เกี่ยวกับการพฒั นาความสามารถของ มนุษย์ในการแก้ปัญหา และสนองความต้องการของมนุษย์อย่างสร้างสรรค์ โดยนำความรู้มาใช้กับ กระบวนการเทคโนโลยี สร้างและใช้สิ่งของเครื่องใช้ วิธีการและเพ่ิมประสิทธิภาพในการดำรงชีวติ สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นสาระที่เกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้นหาความรู้ การสืบค้น การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรือ สร้างงาน คุณค่าและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและอาชีพ เป็นสาระที่เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีและ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการทำงานทเ่ี กี่ยวกบั การดำรงชวี ิต ครอบครวั และการอาชีพ แนวคดิ เก่ยี วกับการจดั การเรียนรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2545 : 127 - 130) ไดก้ ล่าววา่ การจดั การเรียนรู้ เป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สำหรับกลุ่มการงานอาชีพ และเทคโนโลยี แนวความคิดหลกั (Main Concept) ของการจัดการเรียนรู้ มีลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้ 1. จัดการเรียนรู้ให้ครบองค์รวมของการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน คือ ผู้เรียนต้องมีทั้ง ความรทู้ กั ษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ ม 2. การจัดการเรียนรู้ต้องกำหนดเป็นงาน (TASK) โดยแต่ละงานต้องเป็นไปตาม โครงสร้างของการเรียนร้ขู องกลมุ่ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ทัง้ 7 หัวข้อ คือ 2.1 ความหมายของงาน 2.2 ความสำคัญและประโยชนข์ องงาน 2.3 มที ฤษฎสี นบั สนุนหลกั การของงาน 2.4 วิธีการและข้นั ตอนของการทำงาน 2.5 กระบวนการทำงาน การจัดการเทคโนโลยีเทคโนโลยสี ารสนเทศและแนวทางในการ ประกอบอาชีพ 2.6 การนำเทคโนโลยีเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการทำงาน การสร้างและพัฒนา ผลิตภณั ฑ์หรือวิธกี ารใหม่ ๆ
12 2.7 คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มในการทำงานและประกอบอาชีพ ผู้สอนสามารถสอน แต่ละงานครบหรือไม่ ทงั้ 7 หวั ข้อก็ได้ ขน้ึ อย่กู ับลักษณะงาน ท้งั น้จี ะต้องสอนครบท้ังมาตรฐานด้าน ความรู้ ด้านทกั ษะ/กระบวนการและดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม 3. การจดั การเรยี นรู้ โดยผสู้ อนสามารถนำความรู้ ทกั ษะ กระบวนการและดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มจากสาระภายในกลุ่มมาบูรณาการกันได้ หรือนำสาระจากกลมุ่ วิชาอื่นมาบูรณา การกับสาระของกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยีก็ได้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานตาม กระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น กระบวนการทำงาน กระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรยี นร้แู บบมีสว่ นร่วม ตลอดจนเกิดทักษะใน การทำงานและได้ช้ินงาน รวมท้งั สรา้ งพัฒนางานใหม่ 4. จัดการเรียนรู้ทั้งภายในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน โดยจัดในสถานปฏิบัติจริง แหล่ง วทิ ยาการ สถานประกอบการ ผ้เู รียนและดุลพนิ ิจของผู้สอน โดยคำนงึ ถงึ สภาพการเปลีย่ นแปลงทาง สังคม เศรษฐกิจและเทคโนโลยี 5. จัดการเรียนรู้โดยกระตุ้นให้ผู้เรียนกำหนดงานที่มีความหมายกับผู้เรียน ซึ่งจะทำให้ ผเู้ รียนเห็นประโยชน์ ความสำคญั เห็นคณุ คา่ ย่อมทำใหเ้ กดิ ความภาคภมู ใิ จในการปฏบิ ัติงาน 6. จัดการเรียนรู้ โดยผู้สอนต้องคำนึงถึงความต้องการ ความสนใจ ความพร้อมทาง รา่ งกาย อปุ นสิ ยั สตปิ ัญญาและประสบการณ์เดิมของผู้เรยี น รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จในการจัดการเรียนกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี จงึ เสนอแนะรปู แบบการจดั การเรยี นรู้ ดังน้ี 1. การเรยี นรู้จากการปฏิบัติจริง เปน็ การเรยี นรทู้ มี่ ุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนได้ลงมือทำงานจริง ๆ มีข้ันตอนอยา่ งน้อย 4 ขั้นตอน คอื 1.1 ขน้ั ศกึ ษาและวเิ คราะห์ 1.2 ขั้นวางแผน 1.3 ขนั้ ปฏิบัติ 1.3.1 ผสู้ อนใหค้ ำแนะนำ 1.3.2 ผู้เรยี นฝึกปฏิบตั ิ 1.3.3 ผู้เรยี นฝกึ ฝน 1.4 ขั้นประเมนิ /ปรบั ปรงุ 2. การเรียนรูจ้ ากการศึกษาค้นคว้า เป็นการเรยี นรู้ท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า ในเรื่องที่สนใจจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ จนสามารถสนองแรงจูงใจใฝ่รู้ของตนเอง ทั้งนี้ ผู้สอนควร
13 ใหผ้ ูเ้ รียนเรียบเรียงกระบวนการแสวงหาความรู้ เสนอต่อผูส้ อนและหรอื กลุ่มผเู้ รียน 3. การเรยี นร้จู ากประสบการณ์ การเรยี นร้จู ากประสบการณ์เปน็ การเรียนท่ีประกอบด้วย 5 ข้ันตอนดงั น้ี 3.1 ครูผู้สอนสร้างกิจกรรม โดยที่กิจกรรมนั้นอาจจะเชื่อมโยงกับสถานการณ์ ของผู้เรียนหรอื เป็นกิจกรรมใหม่ หรือเปน็ ประสบการณ์ในชวี ติ ประจำวันกไ็ ด้ 3.2 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมตามข้อ 2.2.1 โดยการอภิปราย การศึกษากรณี ตัวอย่าง หรอื การปฏิบัตกิ จิ กรรมน้ัน ๆ 3.3 ผู้เรียนวเิ คราะหผ์ ลที่เกดิ ขน้ึ จากการปฏิบัตกิ ิจกรรมวา่ เกดิ ขึ้นจากสาเหตอุ ะไร 3.4 สรุปผลที่ได้จากข้อ 3.3 เพื่อนำไปใช้กิจกรรมใหม่หรือกิจกรรมอื่น ๆ หรือ สถานการณใ์ หม่ตอ่ ไป 3.5 นำหลักการ/แนวคิด จากข้อ 3.3 ไปใช้กับกิจกรรมใหม่หรือกิจกรรมอืน่ ๆ หรือ สถานการณใ์ หมต่ อ่ ไป อนึ่งเพือ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ ผู้สอนควรดำเนนิ การจัดการ เรียนการสอนใหค้ รบท้งั 5 ขัน้ ตอน (3.1 – 3.5) 4. การเรยี นรจู้ ากการทำงานกลมุ่ เป็นการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้มีการเลือกใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ แก้ปัญหา กระบวนการสร้างนิยม กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด กระบวนการทำงานกับผูอ้ ื่น ในการจดั การเรียนรู้ใหป้ ระสบผลสำเรจ็ สรุปจากแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอา ชีพ และเทคโนโลยี ให้ได้ผลขั้นแรกผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรให้เข้าใจ และนำมาวางแผนการสอนโดย กำหนดกิจกรรมการเรียนสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร ความต้องการของผู้เรียนและเหมาะสมกบั สภาพของท้องถิน่ โดยใหผ้ ้เู รียน เกิดการเรียนรจู้ ากการศึกษาค้นควา้ จากประสบการณ์จรงิ จากการ ปฏิบัติจริงและจากการทำงานกลุ่ม ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง และขั้นตอน สดุ ท้ายการวดั และประเมินผลครผู ้สู อน ควรใชก้ ระบวนวัดและประเมนิ ผลที่หลากหลาย เพื่อสะทอ้ น ความสามารถท่แี ท้จรงิ ของผู้เรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี สาระท่ี ๑ การดำรงชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เขา้ ใจการทำงาน มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะ การจดั การ ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการทำงาน รว่ มกนั และทักษะ การแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรม และลักษณะนสิ ัย
14 ในการทำงาน มีจติ สำนกึ ในการใชพ้ ลังงาน ทรพั ยากร และสง่ิ แวดล้อม เพือ่ การดำรงชีวิตและครอบครัว สาระท่ี ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างส่งิ ของเคร่ืองใช้ หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้ เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการ จดั การเทคโนโลยีท่ยี ั่งยืน สาระที่ ๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เหน็ คุณค่า และใชก้ ระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคน้ ขอ้ มลู การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงาน และอาชีพอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผล และมคี ุณธรรม สาระท่ี ๔ การอาชพี มาตรฐาน ง ๔.๑ เข้าใจ มที กั ษะทจี่ ำเป็น มปี ระสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยเี พ่อื พัฒนาอาชพี มีคุณธรรม และมเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ อาชีพ ภาษาตา่ งประเทศ สาระท่ี ๑ ภาษาเพ่อื การสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรอื่ งท่ีฟงั และอ่านจากสอื่ ประเภทตา่ งๆ และแสดงความคิดเหน็ อยา่ งมเี หตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการส่อื สารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นข้อมูลขา่ วสาร แสดงความรูส้ ึก และความคดิ เหน็ อย่างมีประสิทธภิ าพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน สาระท่ี ๒ ภาษาและวฒั นธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใชไ้ ด้ อยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา้ ใจความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าของ ภาษากับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม
15 สาระที่ ๓ ภาษากับความสมั พนั ธ์กบั กล่มุ สาระการเรียนรอู้ ื่น มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเชอื่ มโยงความรูก้ บั กลุ่มสาระการเรยี นรอู้ นื่ และเป็น พืน้ ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระที่ ๔ ภาษากับความสมั พนั ธก์ ับชมุ ชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณต์ ่างๆ ทั้งในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครอื่ งมือพืน้ ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้กับสงั คมโลก แนวคิดเกีย่ วกบั การจดั การเรียนรู้ การนำเสนอการขาย การพูดเป็นเครื่องมือการสื่อสารประเภทหนึ่งที่มีความสะดวกและทำให้เกิดความเข้าใจ ได้ง่าย การสื่อสารด้วยการพูดนั้นอาศัยทัง้ ถ้อยคำ น้ำเสียง สีหน้า สายตา และกิริยาท่าทางประกอบ ดังน้ันเม่ือผ้ฟู งั ได้ยินเสยี งและได้เห็นกิริยาท่าทางประกอบการพดู จะทำให้เขา้ ใจเรอ่ื งไดง้ า่ ยและชัดเจน กว่าการสื่อสารโดยการอ่านเพยี งอย่างเดียว ดังนั้นการพูดและการนำเสนอจึงเปน็ การใช้น้ำเสยี งเพือ่ ส่อื สารให้เกิดประสิทธภิ าพและดงึ ดูดใจผ้ฟู งั มากที่สดุ จะเห็นได้วา่ การส่อื สารที่ดตี ้องมาพร้อมน้ำเสียง ท่ีทรงพลงั จงึ จะทำให้การส่อื สารมคี วามน่าสนใจและดึงดดู ความสนใจของผูฟ้ ังได้ แม้ว่าเสียงท่ีทรงพลงั จะมีอทิ ธิพลต่อการสอ่ื สารเพียงใดก็ตามแต่หากพดู โดยไม่มีภาษาท่าทาง ประกอบอาจจะทำให้เรื่องท่ี พูดขาดความน่าสนใจไปทันที การพูดและการนำเสนอจึงต้องนำภาษาท่าทางมาปรับใช้กับการ นำเสนอด้วยเพื่อให้ผู้ฟังเกิดภาพในใจและเข้าถึงในสิ่งที่เรากำลังสื่อสาร ขณะเดียวกันการพูดที่สื่อ ถึงอารมณแ์ ละความร้สู กึ กจ็ ะทำให้ผ้ฟู ังเกิดจนิ ตนาการและรสู้ กึ คลอ้ ยตามได้เช่นกัน นอกจากนี้การพูดยังเป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญที่สุดสำหรับบุคคลทุกอาชีพ จะเห็นได้ว่า บุคคลท่ปี ระสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน การคบหาสมาคมกับผ้อู น่ื ตลอดจนการทำประโยชน์แก่ สังคมโดยส่วนรวมล้วนแล้วแต่เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการพูดทั้งสิ้น การพูดจึงเปรียบเสมือน บันไดสำคัญขั้นแรกของมนุษย์ในการสมาคมและเป็นสะพานเชื่อมไปสู่ความสำเร็จในชีวิตได้ คน ที่ต้องการประสบความสำเร็จในชีวิต ในหน้าที่การงานจึงควรศึกษาเรียนรู้เพ่ิมเติมในแงม่ ุมเกี่ยวกบั การพูดเพื่อที่จะนำไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมกับการดำรงชีวิตและก้าวหน้าในอาชีพต่อไป เราคง ปฏเิ สธไม่ได้ว่าคนทมี่ คี วามสามารถด้านการพูดแลว้ สามารถสร้างความประทับใจให้เกิดขน้ึ มักจะได้รับ ความเคารพและศรัทธาจากคนฟงั รวมทั้งคนที่พูดแล้วสามารถชกั จูงใจคนไดม้ ักจะมีโอกาสเป็นผู้นำ มากกวา่ คนท่ีไม่มีความสามารถในด้านการพูดน่นั เอง สำหรบั การนำเสนอนบั ว่าเปน็ หน่งึ ในทกั ษะทีน่ ักนิเทศศาสตร์ หรอื คนทที่ ำงานทั้งในสังคม ธุรกิจและงานราชการ แมก้ ระท่ังพนกั งานทกุ ๆ ระดับในองคก์ รควรต้องมี เพราะการนำเสนอเป็นทั้ง
16 ศาสตร์และศิลป์สำหรับการถ่ายทอดความคิด หรือ ในการนำเสนอผลงาน โครงการ รวมถึงความคิด ต่าง ๆ ต่อเพื่อนร่วมงาน ต่อผู้บริหาร ต่อลูกค้า ฯลฯ หรือแม้กระทั่ง พนักงานขายในบริษัทก็ต้องใช้ ทักษะการนำเสนองานอยู่เสมอในระหว่างขั้นตอนการขาย ไม่ว่าจะเป็นการนำเสนองานเพ่ือแนะนำ องคก์ ร เพอื่ นำเสนอคุณลักษณะและคุณประโยชนข์ องสินค้าและบรกิ าร รวมไปถงึ การสาธิตวิธีการใช้ งาน นอกจากนั้นการนำเสนองานยังนำมาใช้ภายในองค์กร เพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสาร หรือ ขอความ รว่ มมอื ในโครงการตา่ ง ๆ ไดอ้ กี ทางหนง่ึ ดว้ ย ดังนั้น การนำเสนอที่ดีจึงต้องคำนึงถึงการเลือกรูปแบบ วิธีการและขั้นตอนของการนำเสนอให้ เหมาะสม นอกจากนี้ตัวของผู้นำเสนอเองก็นับเป็นอีกองค์ประกอบสำคัญที่จะส่งผลให้กระบวนการ นำเสนอไปสคู่ วามสำเรจ็ โดยผนู้ ำเสนอต้องใชเ้ ทคนคิ วธิ ีการ การเปน็ ผ้พู ดู ผบู้ รรยาย หรือผสู้ รุปงานที่ ดี เพราะคุณสมบัติของผู้นำเสนอจะมอี ิทธพิ ลต่อการโน้นน้าวชักจูงให้เกิดความสนใจ ความไว้วางใจ ให้เกิดการยอมรบั และเช่อื ถือ และหากการนำเสนอนั้นได้เลือกใช้สื่อประกอบการนำเสนอท่ีเหมาะสม ก็จะช่วยสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดความเช่อื ม่ัน การตรึงพฤตกิ รรมของผ้รู บั ฟงั ใหค้ ล้อยตามไปกับเรอื่ งราวของการ นำเสนอ ดงั นนั้ การออกแบบสอ่ื นำเสนอทีด่ ี กจ็ ะเป็นสว่ นเสริมให้การนำเสนอน้นั นา่ สนใจและมีคุณค่า จากการอธิบายข้างต้นจะเห็นว่าการพูดและการนำเสนอนั้นเป็นสิ่งที่มีความเกีย่ วเนื่องกนั อย่างชัดเจน สอดคล้องกับคำอธิบายที่วา่ การนำเสนอ คือ การถ่ายทอดเนือ้ หาสาระที่ผสมผสานกนั ระหว่างศิลปะการพูดกับการแสดงข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ผ่านสื่อและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม เพราะฉะนั้นนักนิเทศศาสตร์จึงควรทำความเข้าใจในความหมาย ความสำคัญของการพูดและการ นำเสนอ ตอ้ งเปน็ ผทู้ ่ีรูร้ ูปแบบ ขนั้ ตอนของการพดู และการนำเสนอ รลู้ ักษณะของพูดและการนำเสนอ ทด่ี ี ตลอดจนหม่ันฝึกฝนและพัฒนาตนเองเพ่ือจะได้ส่ือสารกับกลุ่มเป้าหมายได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ สรุปจากแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้การนำเสนอการขาย พบว่า ศึกษาเกี่ยวกับ หลักการขาย แนวคดิ ทางการขาย วิวัฒนาการการขาย หน้าที่ทางการขาย ประเภทและลักษณะของ งานขาย ความรู้เกี่ยวกับตนเอง ความรู้เกี่ยวกับกิจการ ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ความรู้เกี่ยวกับ ลกู คา้ ความร้เู กีย่ วกับคู่แข่งขัน คณุ สมบตั ขิ องนักขาย โอกาสและความก้าวหน้าของนักขาย ส่งผลให้ ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงการพูดและการนำเสนอเป็น ทกั ษะสำคัญที่นักนเิ ทศศาสตร์พึงมีและควรหม่นั พฒั นาฝกึ ฝนอยู่เสมอ การพูดและการนำเสนอที่ดีนั้น ผู้ที่ศึกษาจะต้องมีความรู้ทั้งด้านทฤษฎี อันได้แก่ หลักการหรือกฎเกณฑ์ที่วางไว้ ตลอดจนมีความรู้ ทางด้านปฏิบัตินั่นคือ การฝึกฝนตนเองอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้รู้จักพูดอย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน เพื่อให้มีความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฏีการพูดและการนำเสนอในงานนิเทศศาสตร์อย่างแท้จริง ผู้ที่ศึกษาจึงควรทำความเข้าใจในเรื่องดังกล่าวเพื่อจะได้มีความเข้าใจศาสตร์ของการพูดและการ นำเสนอกระจ่างชดั ข้ึน ตลอดจนนำไปฝกึ ฝนปฏิบตั ไิ ดอ้ ยา่ งมีหลกั เกณฑ์
17 แนวคดิ เกยี่ วกับแบบฝึกทักษะ แบบฝึกเสริมทักษะเป็นนวัตกรรมหรือสื่อการสอนชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจเรียกได้หลายชื่อ เช่น แบบฝึก แบบฝึกทักษะ แบบฝึกเสริมทักษะ แบบฝึกหัด และได้มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย ของคาเหลา่ น้ีไวด้ ังนี้ ความหมายและความสำคญั ของแบบฝกึ แบบฝึกทักษะ หรอื แบบฝกึ มคี วามหมายเดยี วกนั ซงึ่ บางครง้ั จะเรียกวา่ แบบฝึกบางคร้ังก็ เรียกว่า แบบฝึกทักษะ เพราะเป็นนวัตกรรม ทีครูนำมาใช้ในการฝึกทักษะของผู้เรียนเพื่อให้เกิด รปู แบบในการเรียนการสอนและเพ่ิมประสิทธภิ าพของการเรยี นให้สงู ย่งิ ขึ้น มีผู้ศึกษาหลายท่านได้ให้ ความหมายของแบบฝกึ ทักษะไว้ ดังน้ี วราภรณ์ ระบาเลิศ (2552: 34) กล่าววา่ แบบฝกึ ทักษะ หมายถึงงานหรือกจิ กรรมทีครูจัด ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการปฏิบัติบ่อย ๆ จนเกิดความชำนาญมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา ที่เรียน และสามารถนำความรู้นน้ั ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ สลาย ปลังกลาง (2552: 31-32) กล่าวว่า แบบฝึกหัดหรือแบบฝึกทักษะ หมายถึง สื่อการ เรียนการสอนทีใช้สำหรับให้ผู้เรียนฝึกความชำนาญในทักษะต่างๆ จนเกิดความคิดรวบยอดในเรือ่ งที ฝกึ และสามารถนำทกั ษะไปใชใ้ นการแก้ปญั หาได้ จารุวรรณ เขียวอ่อน (2551: 52) กล่าวว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง สื่อการสอนทีสร้างขึ้น สำหรบั ให้นกั เรยี นฝึกปฏิบตั เิ พ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ และความชำนาญในเรอื งน้นั ๆมากข้ึน สมศรี อภัย (2552: 21) กล่าวว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง สื่อการสอนทีครูสร้างขึ้นเพื่อให้ นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และความชำนาญในเรืองนั้นๆ มากข้ึน นักเรียนมี ทกั ษะเพมิ่ ข้นึ สามารถแกป้ ัญหาได้อย่างถูกต้อง วรสดุ า บญุ ยไวโรจน์ (2556: 37) ไดใ้ หค้ วามหมายของแบบฝกึ ทกั ษะไว้วา่ หมายถึง สอ่ื การ สอนที่จดั ทำขึน้ เพื่อใหผ้ ู้เรยี นได้ศึกษา ทำความเข้าใจและฝกึ ฝนจนเกิดแนวคิดที่ถูกต้องและเกิดทักษะ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งนอกจากนั้นแบบฝึกหัดยังเป็นเครื่องช่วยบ่งชี้ให้ครูทราบว่า ผู้เรียนหรือผู้ใช้ แบบฝกึ หดั มีความรู้ความเขา้ ใจในบทเรียนและสามารถนำความร้นู นั้ ไปใช้ได้มากนอ้ ยเพยี งใด ผเู้ รยี นมี จุดเด่นที่ควรส่งเสริมหรือมีจดุ ด้อยที่ตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ขตรงไหน อย่างไร แบบฝึกหัดจึงเป็นเครื่องมอื สำคัญที่ครูทุกคนใช้ในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ และพัฒนาทักษะของนักเรียนในวิชาต่าง ๆ ฉวีวรรณ พลสนะ (2557: 39) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะว่า หมายถึง สื่อกลางท่ี จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษา ทำความเข้าใจและฝึกฝนจนเกิดแนวคิดที่ถูกต้อง และเกิดทักษะใน เรื่องใดเรื่องหนึ่ง นอกจากนี้ยังเปน็ เครือ่ งบ่งชี้ให้ครูทราบว่าผู้เรียนมีความรูค้ วามเข้าใจบทเรียนมาก น้อยเพียงใด
18 กติกา สุวรรณสมพงศ์ (2541: 40) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะ หมายถึง การจัด ประสบการณ์การฝึกหัด โดยใช้วัสดุประกอบการสอน หรือเป็นกิจกรรมให้ผู้เรียนกระทำด้วยตนเอง เพื่อฝึกฝนเนื้อหาต่าง ๆ ที่ได้เรียนไปแล้วให้เข้าใจดีขึ้น และเกิดความชำนาญจนสามารถนำไปใช้ได้ โดยอัตโนมัติ ทง้ั ในการแกป้ ญั หาระหว่างเรียนและในสถานการณ์อืน่ ๆ ในชวี ติ ประจำวัน สรุปจากแนวคิดเกี่ยวกับแบบฝึกทักษะพบว่า ลักษณะของแบบฝึกทักษะที่ดีต้องมีความ สอดคลอ้ งกบั เนื้อหา สามารถฝกึ ฝนให้นกั เรียนบรรลุผลการเรยี นรู้ทีคาดหวงั ทตี ้องการฝึกปฏิบัติด้วย ตนเองและทราบความก้าวหน้าของตน มีความสอดคล้องกับหลักจิตวิทยาและพัฒนาการของเด็ก ประกอบด้วย คำชี้แจงทีสั้นกระชับ และชัดเจน เรียงลำดับเนื้อหาจากง่ายไปหายาก มีรูปแ บบที หลากหลายสีสนั สดใส สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของนกั เรียน สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ สรา้ งเจตคติทดี ี แนวคิดเก่ยี วกับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ความหมายผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น มผี ู้ให้ความหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนไว้หลายทา่ น ดังนี้ อารีย์ วชิรวราการ (2542: 143) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอนการฝึกฝน หรือประสบการณ์ต่าง ๆ ทั้งที่โรงเรียน ที่บ้าน และ สงิ่ แวดลอ้ มอน่ื ๆ เยาวดี วิบูลย์ศรี (2545: 28) ไดใ้ ห้ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ หมายถงึ แบบ สอบวดั ความรู้เชิงวิชาการ มกั ใช้วัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เนน้ การวัดความรู้ความสามารถจากการ เรยี นรู้ในอดตี หรอื ในสภาพปัจจบุ ันของแตล่ ะบุคคล จากความหมายของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ จึง หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ความสามารถทางวิชาการโดยเฉพาะการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนประเภทของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ในการเรยี น แบ่งได้ ดังนี้ 1. แบง่ ตามลักษณะทางจิตวิทยาท่ใี ชว้ ัด แบง่ เปน็ 3 ประเภท ได้แก่ 1.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ ความเข้าใจตามพุทธิพิสัย (Cognitive domain) ซึ่งเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ แบบทดสอบประเภทนี้ แบง่ ออกเปน็ 2 ชนิด คอื 1.1.1 แบบทดสอบทคี่ รูสรา้ งขึ้นใช้เอง (Teacher-Made Test) เป็นแบบทดสอบ ที่สร้างขึ้นโดยทั่วไป เมื่อต้องการใช้ก็สร้างขึ้นใช้แล้วก็เลิกกัน ถ้าจะนาไปใช้อีกครั้งก็ต้องดัดแปลง ปรับปรุงแก้ไข เพราะเป็นแบบทดสอบที่สร้างขึ้นใช้เฉพาะครั้ง อาจยังไม่มีการวิเคราะห์หาคุณภาพ 1.1.2 แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เป็นแบบทดสอบท่ีได้มีการ พัฒนาด้วยการวิเคราะห์ทางสถิติมาแล้วหลายครั้งหลายหน จนมีคุณภาพสมบูรณ์ทั้งด้านความตรง
19 ความเที่ยง ความยากง่าย จำแนก ความเป็นปรนัย และมีเกณฑ์ปกติ (norm) ไว้เปรียบเทียบด้วย รวมความแล้วตอ้ งมมี าตรฐานทง้ั ด้านการดาเนินการสอบและการแปลผลคะแนนทีไ่ ด้ 1.2 แบบทดสอบความถนัด (Aptitude Test) เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดความสามารถ ทางสมองของคนว่ามีความรู้ ความสามารถมากน้อยเพียงไร และมีความสามารถด้านใดเป็นพิเศษ แบบทดสอบประเภทนแ้ี บ่งออกเป็น 2 ชนดิ คือ 1.2.1 แบบทดสอบความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude Test) เป็น แบบทดสอบวัดความถนัด ที่วัดความสามารถทางวิชาการว่ามีความถนัดในวิชาอะไร ซึ่งจะแสดงถึง ความสามารถในการเรยี นตอ่ แขนงวชิ านน้ั และจะสามารถเรยี นไปได้มากนอ้ ยเพียงใด 1.2.2 แบบทดสอบความถนดั พเิ ศษ (Specific Aptitude Test) เป็นแบบทดสอบ ท่ีใช้วดั ความสามารถพิเศษของบคุ คล เช่น ความถนดั ทางดนตรี ทางการแพทย์ ทางศิลปะ เป็นตน้ ใช้ สาหรับการแนะแนว การเลือกอาชพี 1.3 แบบทดสอบบุคคล – สังคม (Personal-Social Test) เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดบุคลิกภาพ และการ ปรับตัวเข้ากบั สงั คมของบคุ คล 2. แบ่งตามรูปแบบ ของการถามการตอบ จะแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 2.1 แบบทดสอบความเรียง (Essay Test) แบบนี้จะกำหนดคำถามให้ผู้ตอบจะต้อง เรียบเรียงคาตอบเอง 2.2 แบบทดสอบตอบสั้นและเลือกตอบ (Short Answer and Multiple Choice Test) แบบนี้จะกำหนดคำถามให้ และกำหนดให้ตอบสั้น ๆ หรือกำหนดคำตอบมาให้เลือก ผู้ตอบ จะตอ้ งเลือกตอบตามนั้น แบบทดสอบประเภทนี้แบ่งออกเป็น 4 ชนิด คือ 2.2.1 แบบให้ตอบสัน้ (Short Answer Item) 2.2.2 แบบถูกผิด (True-False Item) 2.2.3 แบบจบั คู่ (Matching Item) 2.2.4 แบบเลอื กตอบ (Multiple Item) 3. แบง่ ตามลกั ษณะการตอบ แบ่งเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 3.1 แบบทดสอบปฏิบัติ (Performance Test) เป็นการทดสอบโดยให้ปฏิบัติ ลงมือ ทำจริง ๆ เชน่ การแสดงละคร ช่างฝมี ือ การพิมพด์ ดี เป็นต้น 3.2 แบบทดสอบเขยี นตอบ (Paper-pencil Test) เป็นแบบทดสอบทใ่ี ชก้ ันทว่ั ไป ซ่ึง ใชก้ ระดาษและดนิ สอ หรือปากกาเปน็ อุปกรณช์ ่วยตอบ ผตู้ อบต้องเขยี นตอบทง้ั หมด 3.3 แบบทดสอบปากเปล่า (Oral Test) เป็นการทดสอบที่ให้ผู้ตอบพูดแทนการ เขียนมักจะเปน็ การพดู คุยกัน ระหว่างผู้ถามกบั ผู้ตอบ เช่น การสอบสัมภาษณ์
20 4. แบง่ ตามเวลาท่ีกำหนดใหต้ อบ แบง่ เปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 4.1 แบบทดสอบใชค้ วามเรว็ (Speed Test) เป็นแบบทดสอบทก่ี ำหนดเวลาให้จำกัด ตอ้ งตอบภายในเวลาน้นั มกั จะมจี ำนวนข้อคำถามมาก ๆ แต่ให้เวลานอ้ ย ๆ 4.2 แบบทดสอบให้เวลามาก (Power Test) เป็นแบบทดสอบที่ไม่กำหนดเวลาให้ เวลาตอบอย่างเตม็ ที่ ผูต้ อบจะใชเ้ วลาตอบเท่าใดก็ได้ เสรจ็ แล้วเป็นเลกิ กัน 5. แบ่งตามลักษณะเกณฑท์ ่ีใชว้ ดั จะแบ่งเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 5.1 แบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ (Criterion – Referenced Test) เป็นแบบทดสอบ ที่สอบวัดตามจดุ ประสงค์ของการเรียนรู้ หรือตามเกณฑ์ภายนอกซ่ึงเปน็ เนื้อหาของวิชาการเป็นหลกั 5.2 แบบทดสอบแบบอิงกลุ่ม (Norm – Referenced Test) เป็นแบบทดสอบ ท่ีเปรยี บเทยี บผลระหว่างกล่มุ ทส่ี อบด้วยกนั สรุปจากแนวคิดเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่า จากการจำแนกประเภทของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดังกล่าว จะเห็นได้ว่าแบบทดสอบจำแนกออกเป็นหลาย ประเภทขึ้นอยูก่ ับลักษณะการใช้ ดังนัน้ ผ้สู อนจึงควรเลือกแบบทดสอบใหเ้ หมาะกับส่ิงที่ตอ้ งการจะวัด จากนกั เรียน ทง้ั น้ี ขึน้ อยกู่ บั เน้ือหาและบรบิ ทของแตล่ ะรายวชิ า แนวคิดเก่ียวกบั ความพงึ พอใจ Shelly อ้างโดย ประกายดาว (2536) ได้เสนอแนวคดิ เกยี่ วกบั ความพงึ พอใจ ว่าความพึง พอใจเป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกทางบวกและความรู้สึกทางลบ ความรู้สึก ทางบวกเป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นแล้วจะทำให้เกิดความสุข ความสุขนี้เป็นความรู้สึกที่แตกต่างจาก ความรู้สึกทางบวกอื่นๆ กล่าวคือ เป็นความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับความสุขสามารถทำให้เกิด ความร้สู ึกทางบวกเพ่มิ ข้ึนได้อกี ดังนน้ั จะเหน็ ไดว้ ่าความสขุ เป็นความรู้สกึ ท่สี ลับซับซ้อนและความสุขนี้ จะมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกในทางบวกอื่นๆ ขณะที่วิชัย (2531) กล่าวว่า แนวคิดความพึง พอใจ มีสว่ นเกย่ี วข้องกบั ความต้องการของมนษุ ย์ กลา่ วคอื ความพงึ พอใจจะเกิดขนึ้ ได้ก็ต่อเม่ือความ ต้องการของมนุษย์ได้รับการตอบสนอง ซึ่งมนุษย์ไม่ว่าอยู่ในที่ใดย่อมมีความต้องการขั้นพื้นฐานไม่ ตา่ งกนั พิทักษ์ (2538) กลา่ วว่า ความพงึ พอใจเป็นปฏิกิริยาดา้ นความรู้สึกต่อส่ิงเร้าหรือสิ่งกระตุ้น ที่แสดงผลออกมาในลักษณะของผลลัพธ์สุดท้ายของกระบวนการประเมิน โดยบ่งบอกทิศทางของผล การประเมินว่าเปน็ ไปในลักษณะทิศทางบวกหรือทศิ ทางลบหรือไม่มีปฏิกิริยาคือเฉยๆ ต่อสิ่งเร้าหรอื ส่ิงท่มี ากระตนุ้
21 สุเทพ (2541) ได้สรุปว่า สิ่งจูงใจที่ใช้เป็นเครื่องมือกระตุ้นให้บุคคลเกิดความพึงพอใจ มดี ว้ ยกัน 4 ประการ คือ สิ่งจูงใจที่เป็นวัตถุ (material inducement) ได้แก่ เงิน สิ่งของ หรือสภาวะทางกาย ท่ีให้แก่ผ้ปู ระกอบกจิ กรรมต่างๆ สภาพทางกายทพ่ี ึงปรารถนา (desirable physical condition ) คอื สงิ่ แวดลอ้ มในการ ประกอบกิจกรรมตา่ งๆ ซ่งึ เปน็ สิง่ สำคญั อยา่ งหนง่ึ อันก่อใหเ้ กดิ ความสุขทางกาย ผลประโยชน์ทางอุดมคติ (ideal benefaction) หมายถึง สิ่งต่างๆที่สนองความต้องการ ของบุคคล ผลประโยชน์ทางสังคม (association attractiveness) หมายถงึ ความสัมพนั ธ์ฉันทม์ ติ รกับ ผ้รู ว่ มกิจกรรม อันจะทำให้เกิดความผกู พนั ความพงึ พอใจและสภาพการร่วมกัน อนั เปน็ ความพึงพอใจ ของบคุ คลในดา้ นสังคมหรือความมัน่ คงในสงั คม ซงึ่ จะทำใหร้ สู้ กึ มีหลักประกันและมคี วามม่นั คงในการ ประกอบกจิ กรรม ขณะที่ ปรียากร (2535) ได้มีการสรุปว่า ปัจจัยหรือองค์ประกอบทีใ่ ช้เป็นเคร่ืองมอื บง่ ชีถ้ ึง ปญั หาท่ีเกยี่ วกบั ความพึงพอใจในการทำงานนั้นมี 3 ประการ คอื ปัจจัยด้านบุคคล (personal factors) หมายถึง คุณลักษณะส่วนตัวของบุคคลที่เกี่ยวข้อง กับงาน ได้แก่ ประสบการณ์ในการทำงาน เพศ จำนวนสมาชิกในความรับผิดชอบ อายุ เวลาในการ ทำงาน การศึกษา เงินเดือน ความสนใจ เปน็ ตน้ ปจั จยั ดา้ นงาน (factor in the Job) ได้แก่ ลักษณะของงาน ทกั ษะในการทำงาน ฐานะทาง วิชาชีพ ขนาดของหนว่ ยงาน ความหา่ งไกลของบ้านและท่ีทำงาน สภาพทางภมู ิศาสตร์ เปน็ ต้น ปัจจัยด้านการจัดการ (factors controllable by management) ได้แก่ ความมั่นคงใน งานรายรบั ผลประโยชน์ โอกาสกา้ วหนา้ อำนาจตามตำแหน่งหนา้ ที่ สภาพการทำงาน เพือ่ นรว่ มงาน ความรบั ผดิ การสอ่ื สารกบั ผูบ้ งั คับบัญชา ความศรทั ธาในตวั ผู้บริหาร การนเิ ทศงาน เปน็ ต้น สรุปจากแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจพบว่า ความรู้สึกที่ดีหรือทัศนคติที่ดีของบุคคล ซึ่งมักเกิดจากการได้รับการตอบสนองตามที่ตนต้องการ ก็จะเกิดความรู้สึกที่ดีต่อสิ่งนัน้ ตรงกันข้าม หากความต้องการของตนไม่ไดร้ บั การตอบสนองความไม่พงึ พอใจกจ็ ะเกดิ ขึ้นแก่ผเู้ รยี น งานวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง นิภาพร ปรุงนา ( 2559 ) ได้ศึกษาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการเป็นการ จัดการเรียนรู้ให้นักเรยี นได้ฝึกปฏิบตั ิจริง โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคญั ที่ใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ ทำงานของนักเรยี น ซึ่งช่วยให้นักเรียนรู้จกั วางแผน ดังนัน้ การวิจัยครั้งนีจ้ ึงมีความม่งุ หมายเพอื่ พฒั นา การเรียนรู้ เรือ่ งการผลติ และการใช้ปยุ๋ อินทรยี ์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ
22 และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 และนักศึกษานอกศูนย์ตำบล หนองบัวที่มาเรียนใน โรงเรียนหนองขาม ( ค่ายเสรีย์อุปถัมภ์ ) ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80 เพื่อหา ดัชนี ประสทิ ธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เรอื่ งการผลติ และการใชป้ ุ๋ยจุลินทรยี ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กรงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรยี นชว่ งช้ันท่ี 2 เพือ่ เปรยี บเทียบผลผลิตของพชื ผักสวนครัว ระหว่างการใช้ปยุ๋ จลุ นิ ทรีย์ที่นกั เรียนผลติ ขนึ้ กับปุ๋ยจุลนิ ทรียท์ ี่มีขายตามท้องตลาด และเพื่อศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 และนักศึกษานอกระบบศนู ย์ตำบลหนองบวั ท่มี ี ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการผลิตและการใช้ปุ๋ยจุลินทรีย์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 / 2 จำนวน 39 คน และนักศึกษานอกระบบศูนย์ ตำบล หนองบัว จำนวน 15 คน ที่มาเรียนโรงเรยี นบา้ นหนองขาม ( คา่ ยเสรยี อ์ ปุ ถมั ภ์ ) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2548 ด้วยความสมัครใจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชนิด คือ แผนการจัดการ เรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการผลิตและการใช้ปุ๋ยจุลินทรีย์ จำนวน 14 แผน ซึ่งมีคุณภาพอยู่ในระดับที่ดีมาก แบบประเมินผลผลิตของพืชผักสวนครัว แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อมีค่าอำนาจ จำแนกตัง้ แต่ 0.25 – 0.75 มคี ่าความเชอื่ ม่นั เท่ากบั 0.73 และแบบวดั ความพึงพอใจ ของนกั เรียน จำนวน 1 ฉบับ มี 20 ข้อ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ การทดสอบสมมตุ ิฐานใช้ t – test ชญาภา ลือวรรณ์ (2559) ได้ศึกษาเรื่อง การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนโดยใช้การ แสดงบทบาทสมมติ เรอ่ื ง การเสนอขายและการสาธติ ในรายวิชาการขาย 2 รหสั วิชา 2200 – 1005 ของนักศกึ ษาสาขาวชิ าพณิชยกรรมระดับช้นั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันปีท่ี 1 หอ้ ง 2 วทิ ยาลัเทคโนโล ยีพายพั และบริหารธรุ กิจ โดยมวี ัตถุประสงค์เพอื่ ศึกษาผลการใช้การสอนโดยใชก้ ารแสดงบทบาสมมติ เรอ่ื ง การเสนอขายและการสาธิต ในรายวชิ าการขาย 2 ของนักศกึ ษาสาขาวิชาพณิชยกรรมระดับช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 วิทยาลัยเทคโนโลยพี ายัพและบริหารธุรกจิ และเพื่อเปรียบ เทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการใช้การแสดงบทบาทสมมติ ของนักศึกษาสาขาวิชา พณิชยกรรมระดับชั้นประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นปีท่ี 1 ห้อง 2 วิทยาลัยเทคโนโลยพี ายพั และบริหาร ธรุ กจิ จานวน 18 คน เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการทาวิจัย คอื แบบทดสอบเรอื่ ง การเสนอขายและการสาธิต วชิ าการขาย 2 และการแสดงบทบาทสมมติ การเก็บรวมรวมขอ้ มลู ได้แก่ แบบวัดผลแบบทดสอบเรื่อง การเสนอขายและการสาธิต การเกบ็ รวบรวมข้อมูลน้นั ผศู้ ึกษาค้นคว้าได้ดาเนนิ การทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) กบั ผู้เรยี นโดยใช้แบบทดสอบ และการทดสอบหลงั เรียน (Post-test) กบั ผเู้ รียนโดยใช้แบบ วัดผลสัมฤทธิ์ผู้วิจัยได้ศึกษาวิธีการวิเคราะหข์ ้อมูลแบบต่างโดยใช้สถิตพิ ื้นฐานดังนี้การหาคา่ คะแนน เฉลี่ย การหาค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที่ใช้ในการตรวจสอบเครื่องมือค่าดัชนีความสอด คล้อง (IOC) ผลการวิจัยพบว่าคะแนนแบบทดสอบก่อนการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
23 มีคะแนนก่อนเรียนเฉลี่ยอยู่ที่ 62.77 คะแนน และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 2.25 คะแนนแบบ ทดสอบหลงั การสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ มคี ะแนนหลงั เรยี นเฉลี่ยอยทู่ ่ี 78.33 คะแนน และ ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานอยู่ที่ 2.16 ผลต่างของคะแนนก่อนและหลงั ทาแบบทดสอบ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 15.56 และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 1.13 เม่อื พิจารณาพบว่า คะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าคะแนน เฉลี่ยก่อนเรียน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ เรื่อง การเสนอขายและการสาธติ ของนักศึกษาสาขาวชิ าพณชิ ยกรรมระดับชัน้ ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธรุ กิจพบว่า นักศึกษามีการพัฒนาทักษะและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การเสนอขายและการสาธิต ได้มากขึ้นหลังใช้การแสดงบทบาทสมมติ จากการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ขิ องคะแนนจากแบบทดสอบเรอื่ ง การเสนอขายและการสาธิตจะเห็น ได้ว่า คะแนนเฉล่ียของแบบทดสอบหลังการใชก้ ารแสดงบทบาทสมมติ มากกว่าคะแนนเฉลีย่ ก่อนใช้ การแสดงบทบาทสมมติ แสดงใหเ้ หน็ ว่าการใช้การแสดงบทบาทสมมติ เพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นเรื่อง การเสนอขายและการสาธติ นัน้ ส่งผลให้นักศึกษามีความรูแ้ ละเขา้ ใจเรื่อง การเสนอและการสาธิตมาก ขึน้ อกี ทัง้ ยงั ส่งเสริมให้นกั ศกึ ษามคี วามกล้าแสดงออก และรจู้ ักแก้ปญั หาในเหตกุ ารณ์เฉพาะหนา้ บญุ เกอื้ สารพนั ธ์ ( 2558 ) ได้ศกึ ษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทกั ษะกระบวนการ เปน็ การจดั การเรยี นรดู้ ้วยการใหผ้ ู้เรยี นลงมอื ทำงานด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นการฝกึ ปฏิบตั จิ ริงมีวิธีการ ทำงานอย่างเป็นระบบสม่ำเสมอ สามารถทำงานได้บรรลุตามเป้าหมายโดยใช้ทักษะปฏิบัติ ทักษะ การแก้ปัญหาและกระบวนการกลุ่ม การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาแผนการ เรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และศึกษาความพึง พอใจของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ทีม่ ตี ่อการเรยี นดว้ ยแผนการเรยี นรทู้ ่เี น้นทักษะกระบวนการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 3 ท่มี ีตอ่ การเรียนดว้ ยแผนการเรียนรู้ท่ีเนน้ ทักษะกระบวนการ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 / 3 โรงเรียนอนุบาลเพ็ญประชานุกูล ตำบลเพ็ญ อำเภอเพ็ญ จงั หวดั อุดรธานี สงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาอุดรธานี เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2547 จำนวน 35 คน ซงึ่ ไดม้ าโดยการเลือกแบบเจาะจง เครือ่ งมือท่ใี ช้ คือ แผนการเรียนร้ทู ่ีเน้นทักษะ กระบวนการจำนวน 10 แผน ที่ผู้เชี่ยวชาญประเมินความเหมาะสมแล้วอยู่ในระดับเหมาะสมมาก ที่สุด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 30 ข้อ ซึ่งมีค่าอำนาจจำแนกตัง้ แต่ 0.20 ถึง 0.83 และมีความเชือ่ มัน่ ของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 0.79 และแบบประเมินความพงึ พอใจ โดยใช้สถติ ิ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไสว คะนึงเหตุ. (2558) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ เอกสารประกอบการสอน ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ตามเกณฑ์ 80/80 และเปรยี บเทียบความก้าวหน้า ในการใชเ้ อกสารประกอบการสอนของนักเรียนกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพของ ชุดการ
24 เรียนรู้ด้วยตนเองอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด และนักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียน คือ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรยี นอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลงานการวิจัยทเี่ กี่ยวข้องกับ เอกสารประกอบการสอน พบว่า นกั เรยี นทีเ่ รยี นโดยใชเ้ อกสารประกอบการเรียนมีความก้าวหน้าใน การเรียนรู้โดยมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี นอย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ริ ะดับ .01 และ นักเรยี นมเี จตคติท่ีดีต่อการเรียนการสอน เขา้ ใจทกั ษะ กระบวนการปฏบิ ตั งิ าน และปฏิบัติตน ในระบบกลมุ่ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ จัดได้วา่ เอกสารประกอบการสอนมีคณุ คา่ และประโยชน์อยา่ งยิ่ง ในการที่จะนำมาใชป้ ระกอบในการจัดกระบวนการเรียนการสอน เพอื่ พัฒนาผเู้ รียน ภาสกร เยน็ ใจ (2559) ได้ศึกษาเรือ่ ง การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิก่อนและหลังการใช้แบบ ฝึกทักษะ วิชาอิเล็กทรอนิกส์กาลัง เรื่อง อุปกรณ์พาวเวอร์ ไดโอด ของนักศึกษาระดับช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ห้อง EL501 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจโดย มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง อุปกรณ์เพาเวอร์ไดโอด ของนักศึกษา ห้อง EL501 วทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ายพั และบรหิ ารธรุ กิจ และ.เพื่อเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เรื่อง อุปกรณ์เพาเวอร์ไดโอด ก่อนและหลังใช้แบบฝึกทักษะ ของนักศึกษา ห้อง EL501 วิทยาลัย เทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ จานวน 15 คน เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการทาวิจัย คอื แบบทดสอบก่อน เรยี นและหลงั เรยี นเรือ่ ง อุปกรณเ์ พาเวอรไ์ ดโอด วชิ าอิเล็กทรอนกิ สก์ าลังการเก็บรวมรวมข้อมูลได้แก่ แบบวัดผลแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนเรื่อง อุปกรณ์เพาเวอร์ไดโอด การเก็บรวบรวมข้อมูล นั้นผู้ศึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) กับผู้เรยี นโดยใช้แบบทดสอบ และการ ทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) กับผเู้ รยี นโดยใช้แบบวดั ผลสมั ฤทธิ์ผู้วจิ ยั ได้ศกึ ษาวธิ ีการวเิ คราะห์ข้อมูล แบบต่างโดยใช้สถิตพิ น้ื ฐานดังน้ีการหาค่าคะแนนเฉล่ีย การหาค่าความเบย่ี งเบนมาตรฐานและสถิติที่ ใชใ้ นการตรวจสอบเครอ่ื งมอื คา่ ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ผลการวจิ ยั พบวา่ คะแนนแบบทดสอบก่อน การสอนโดยใชก้ ารจัดการเรยี นโดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ มีคะแนนก่อนเรียนเฉลยี่ อยู่ท่ี 12.2 คะแนน และ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานอยู่ท่ี 3.21 คะแนนแบบทดสอบหลงั การสอนโดยใชแ้ บบฝึกทักษะ มีคะแนนหลัง เรียนเฉลยี่ อยูท่ ่ี 15.6 คะแนน และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานอยู่ที่ 2.41 เม่อื พิจารณาพบวา่ คะแนนเฉลี่ย หลงั เรียนสูงกว่าคะแนนเฉลย่ี ก่อนเรยี น การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าอิเลก็ ทรอนิกส์กา ลัง เรื่อง อุปกรณ์เพาเวอร์ไดโอด โดยใช้แบบฝึกทักษะกับการสอนตามปกติ ของนักศึกษาสาขาวิชา อิเล็กทรอนิกส์ระดบั ช้นั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันสูงช้ันปีท่ี 2 ห้อง EL501 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพ และบริหารธุรกิจ พบว่า นักศึกษามีการพัฒนาทักษะและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง อุปกรณ์ เพาเวอร์ไดโอดได้มากข้นึ หลงั ใชก้ ารจัดการเรียนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ จากการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ของคะแนน จากแบบทดสอบเร่ือง อุปกรณ์เพาเวอร์ไดโอดจะเห็นไดว้ า่ คะแนนเฉล่ียของแบบทดสอบ หลงั การใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ มากกวา่ คะแนนเฉลยี่ ก่อนใชแ้ บบฝกึ ทักษะ แสดงให้เห็นว่าการใชก้ ารจัดการ เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนอุปกรณ์เพาเวอร์ไดโอดนั้น ส่งผลให้นักศึกษา
25 มีความรู้และเข้าใจเรื่อง อุปกรณ์เพาเวอร์ไดโอดมากขึ้น อีกทั้งยังส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วย ตนเองและปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีในการทางานรว่ มกับผอู้ ่ืน สรุปจากแนวคดิ งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องพบว่า การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้รูปแบบตา่ งๆ ที่ประสบ ผลสำเร็จ ล้วนแล้วแต่เน้นผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง ทั้งนี้เพื่อเปน็ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีอสิ ระในการ เลือกเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง กำหนดประเด็นขึ้นตามความสนใจและภายใต้กรอบเนื้อหา ที่กำหนดไว้ แล้วใช้กระบวนการในการแกป้ ัญหาศึกษาค้นคว้า นำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ข้นั ตอนและเปน็ ระบบ จนสามารถสรุปความคดิ รวบยอดจากเรือ่ งที่ศึกษาได้
26 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั การวิจัยเรื่องการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบตั รวิชาชีพ สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ เพื่อพฒั นาทักษะการนำเสนอการขายสินค้า เรื่อง การนำเสนอการขาย ให้มีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ ท่ีกำหนดไว้ 80/80 และเพอื่ ศึกษาความพงึ พอใจทางการเรียนเรอ่ื ง การนำเสนอการขาย โดยใช้แบบ ฝึกทักษะของนักเรียนช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สุรินทร์มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 15 คน เป็นนักเรียนชั้น ปวช 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ ในการศกึ ษาครั้งน้ีผู้วิจยั ไดก้ ำหนดวธิ ีดำเนนิ การวิจัยดังนี้ 1. กลุ่มเป้าหมายการวิจัย 2. เครอ่ื งมือการวิจัย 2.1 เครือ่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจัย 2.2 การสร้างและพัฒนาเคร่อื งมือ 3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 4. การวิเคราะหข์ ้อมลู 41 สถิตทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล 4.2 เกณฑ์การวเิ คราะห์/เกณฑก์ ารประเมิน กลมุ่ เป้าหมายการวจิ ัย การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกศึกษานักเรียนชั้นนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขา คอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ 3/1 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสุรินทร์ จำนวน 15 คน เครอ่ื งมือการวิจัย 1. เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวิจัย การวิจยั ครัง้ นีผ้ ้วู ิจยั แบ่งเครอื่ งมือออกเป็น 3 ประเภท คอื
27 1.1 แผนการจัดการเรยี นรู้/ชดุ การสอน/แบบฝึกทกั ษะ จำนวน 3 แผ่น/ชุด ได้แก่ 1.1.1 แผนการเรยี นรูบ้ ทท่ี 1-7 เทคนคิ การนำเสนอ 1.1.2 ชดุ การสอน บทที่ 1-7 เทคนิคการนำเสนอ 1.1.3 แบบฝกึ ทักษะ ไดแ้ ก่ ใบงานจับคู่, ใบงานแบบเติมคำ 1.2 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรยี น จำนวน 1 ชดุ ๆ ละ 20 ข้อ 1.3 แบบสอบถามความพงึ พอใจ จำนวน 7 ขอ้ 2. การสร้างและพัฒนาเคร่อื งมือ (อธบิ ายกระบวนการสร้างเคร่ืองมือ โดยแบง่ ออกเป็น 3 อยา่ ง) 2.1 แผนการจัดการเรยี นรู้/ชดุ การสอน/แบบฝึกทักษะ 2.2 แบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรยี น 2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจ การเก็บรวบรวมข้อมลู มีลาดบั ขนั้ ตอนดังน้ี 1. ทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) กับนักศกึ ษากล่มุ ตวั อยา่ งด้วยแบบทดสอบทางการ เรียนเร่อื ง การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) โดยใชแ้ บบฝึกทักษะของ นกั เรยี นชั้นประกาศนยี บตั รวชิ าชพี สาขาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ 3/1 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาสุรนิ ทร์ จำนวน 20 ข้อ 2. ชแี้ จงใหผ้ เู้ รยี นทราบถงึ การจัดการเรียนการสอนโดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ 3. ผู้วิจัยดำเนนิ การทดลองกับกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการทาวิจยั ชั้นเรียน คือ นักศึกษาระดับ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ 3/1 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาสรุ นิ ทร์ จำนวน 15 คน โดย สอนตามแผนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ จำนวน 3 แผน เมื่อศึกษาจบในแต่ละ เร่อื งให้ทำแบบทดสอบทา้ ยบทเรียนแต่ละเรื่องตามลาดบั บนั ทกึ คะแนน 4. เมอื่ สิ้นสุดการทดลอง จงึ ทาการทดสอบหลงั เรียน (Post-test) โดยใชแ้ บบทดสอบวัดผล สมั ฤทธท์ิ างการเรียนชุดเดมิ ซงึ่ มกี ารสลบั ขอ้ กนั เพ่ือปอ้ งกันการจดจำคำตอบ 5. วัดความพึงพอใจของผู้เรียน ที่มีต่อการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบตั รวชิ าชีพ สาขา คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ 3/1 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสุรินทร์ 6. รวบรวมข้อมูลทั้งหมด ตรวจสอบสอบความถูกต้องของแบบสอบถาม และนำ แบบสอบถามวเิ คราะห์โดยวธิ ีการทางสถติ ิ
28 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 1. สถติ ิที่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู (แสดงในรปู แบบของสตู รสถติ )ิ 1.1 สถติ ิพน้ื ฐานทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ได้แก่ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบย่ี งเบน มาตรฐาน เป็นตน้ 1.2 สถติ ิการเปรยี บเทียบท่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ไดแ้ ก่ t-test F-test 1.3 สถิตกิ ารวเิ คราะห์ประสทิ ธภิ าพ และดัชนีประสิทธผิ ลท่ีใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู 2. เกณฑ์การวิเคราะห์/เกณฑก์ ารประเมิน 2.1 เกณฑก์ ารประเมิน/วิเคราะห์ความพงึ พอใจ เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑป์ ระเมิน มากท่สี ุด =๕ มากทส่ี ดุ ๔.๒๑ – ๕.๐๐ มาก = ๔ มาก ๓.๔๑ – ๔.๒๐ ปานกลาง =๓ ปานกลาง ๒.๖๑ – ๓.๔๐ นอ้ ย = ๒ น้อย ๑.๘๑ – ๒.๖๐ นอ้ ยท่สี ุด =๑ น้อยทส่ี ดุ ๑.๐๐ – ๑.๘๐ 2.2 เกณฑ์การกำหนดคะแนนผลสัมฤทธ์ิ จะกำหนดใหม้ คี ะแนนรวมทง้ั หมดเทา่ กบั 100% ซง่ึ ประกอบด้วยรปู แบบของการวดั ผลดังนี้ 1.3.1 ใบแบบฝกึ ทักษะ 20% 1.3.2 แบบประเมินพฤตกิ รรม 30% 1.3.3 แบบทดสอบกอ่ น-หลังการเรียน 20% 1.3.4 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 30% โดยท่กี ารกำหนดเกณฑก์ ารประเมินผลการเรียน จะแบ่งออกไดเ้ ปน็ ระดบั ต่างๆ ได้ดงั น้ี 80 - 100 ผลการประเมนิ A 75 - 79 ผลการประเมนิ B+ 70 - 74 ผลการประเมิน B 65 - 69 ผลการประเมนิ C+ 60 - 64 ผลการประเมิน C 59 - 54 ผลการประเมนิ D+
29 50 - 54 ผลการประเมนิ D 0 - 49 ผลการประเมนิ F
29 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล การวิจัยเรื่อง การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรนิ ทร์ เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างกอ่ นเรียนกับหลังเรยี นเรือ่ งการ นำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาสุรนิ ทร์ เพอ่ื พัฒนาแบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ งการนำเสนอการขาย ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ท่ีกำหนดไว้ 80/80 ศึกษาความพงึ พอใจทางการเรียนการสอนเรอ่ื งการนำเสนอการขาย โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ ของนักเรียนชน้ั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ 3/1 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสรุ ินทร์ ในการศกึ ษา ครงั้ นีผ้ ู้วิจัย ได้กำหนดนำเสนอผ้กู ารวิเคราะหข์ ้อมูลการวจิ ัยดังนี้ 1. สญั ลกั ษณท์ ่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล 2. ลำดับข้ันตอนการนำเสนอการวเิ คราะหข์ ้อมลู 3. ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล สญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล สญั ลกั ษณ์ทีผ่ ้ศู กึ ษาใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู มีดงั นี ้ X แทน ค่าเฉลี่ย S.D. แทน ค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน N แทน จำนวนนกั เรียนกลุ่มตัวอย่าง t แทน ค่าสถิติทคี่ ำนวณจาก t – test D แทน ผลต่างของคะแนนก่อนและหลงั เรียน D แทน ผลรวมของความแตกตา่ งของคะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรียนของนกั เรยี นทุกคน D² แทน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรยี นของนักเรยี นแตล่ ะคน ยกกำลงั สอง E1 แทน ค่าประสิทธภิ าพของกระบวนการ E2 แทน ค่าประสิทธิภาพของผลลพั ธ์
30 ลำดับข้ันตอนการนำเสนอการวิเคราะหข์ อ้ มูล 1. ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสุรินทร์ 2. ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การ นำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทกั ษะของนักเรียนชัน้ ประกาศนยี บตั ร วิชาชพี สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสุรินทร์ 3. ผลการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่องการนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนช้ัน ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ สาขาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ 3/1 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสุรนิ ทร์ ใหม้ ีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ ทกี่ ำหนดไว้ 80/80 4. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจทางการเรียนการสอน เรื่องการนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึก ทกั ษะของนกั เรียนช้ันประกาศนยี บัตรวิชาชพี สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสรุ นิ ทร์ ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองการนำเสนอการขาย หลกั สูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสรุ ินทร์ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ปรากฏผลดงั น้ี ตารางที่ 4.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นเร่ือง ผลการวเิ คราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เร่ืองการนำเสนอ การขาย หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะของนกั เรียนชั้นประกาศนยี บตั รวิชาชีพ สาขาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาสรุ นิ ทร์ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 เลขท่ี แบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบหลงั เรียน ความแตกตา่ ง 1. 5 8 94 2. 7 8 10 3 3. 5 6 94 4. 4 8 95 5. 6 8 10 4 6. 7 8 10 3 7. 6 8 10 4 8. 7 8 92
ตอ่ (ตารางที่ 4.1) 31 เลขท่ี แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบฝึกทกั ษะ แบบทดสอบหลังเรยี น ความ แตกต่าง 9. 8 83 10. 5 8 10 5 11. 5 8 95 12. 4 8 82 13. 6 8 95 14. 4 6 83 15. 5 4 52 รวม 3 112 133 54 เฉล่ีย 79 7.46 8.86 3.6 5.2 74.6 88.6 36 คา่ เฉล่ยี 52.6 ร้อยละ จากตารางที่ 4.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการ นำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนช้ัน ประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ 3/1 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสุรนิ ทร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พบว่า คะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรยี นโดยรวม 79 เฉลี่ย 5.2 คา่ เฉลีย่ สะสม 52.6 แบบฝกึ ทกั ษะโดยรวม 112 เฉลี่ย 7.46 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 74.6 แบบทดสอบหลังเรียนโดยรวม 133 เฉลี่ย 8.86 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 88.6 มีพฒั นาการแตกตา่ งกนั โดยรวม 54 เฉล่ีย 3.6 ค่าเฉล่ยี ร้อยละ 36 ตารางที่ 4.2 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นเร่ือง ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เรอ่ื งการนำเสนอ การขาย หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) โดยใช้แบบฝกึ ทักษะของนกั เรียนชน้ั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ 3/1 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสุรินทร์ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เลขท่ี แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝกึ ทักษะ แบบทดสอบหลังเรยี น ความแตกต่าง 1. 5 5 72 2. 7 5 10 3 3. 4 3 84 4. 3 5 63
5. 6 32 6. 4 7. 4 5 10 4 8. 5 5 10 6 ต่อ (ตารางท่ี 4.2) 5 10 6 3 10 5 เลขท่ี แบบทดสอบก่อนเรียน แตกต่าง แบบฝึกทกั ษะ แบบทดสอบหลงั เรียน ความ 9. 10. 7 5 92 11. 5 5 83 12. 5 3 10 5 13. 5 594 14. 5 483 15. 4 384 รวม 3 385 เฉลี่ย 72 64 131 59 4.8 4.2 8.7 3.9 คา่ เฉล่ีย 48 42 87 39 รอ้ ยละ จากตารางที่ 4.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการ นำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้น ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสุรินทร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 พบวา่ คะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรยี นโดยรวม 72 เฉลย่ี 4.8 ค่าเฉล่ยี ร้อยละ 48 คะแนนแบบฝกึ ทักษะโดยรวม 64 เฉลยี่ 4.2 คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ 42 คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียนโดยรวม 131 เฉลย่ี 8.7 คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ 87 มีพฒั นาการแตกตา่ งกันโดยรวม 59 เฉลย่ี 3.9 ค่าเฉลีย่ รอ้ ยละ 39
33 ตารางที่ 4.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเรื่อง ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน เรื่องการนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนช้ันประกาศนียบตั รวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ แผนการ จดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 เลขท่ี แบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบฝกึ ทักษะ แบบทดสอบหลงั เรียน ความแตกตา่ ง 1. 7 7 9 2 2. 5 9 9 4 3. 5 8 7 2 4. 6 9 10 4 5. 5 9 10 5 6. 5 8 10 5 7. 6 9 10 4 ต่อ (ตารางท่ี 4.3) เลขท่ี แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบฝกึ ทักษะ แบบทดสอบหลงั เรียน ความ แตกต่าง 8. 8 92 9. 7 9 82 10. 6 9 86 11. 2 9 84 12. 4 9 10 5 13. 5 8 95 14. 4 9 93 15. 6 8 72 รวม 5 128 133 55 เฉลีย่ 78 8.5 8.8 3.6 5.2 ค่าเฉล่ยี 52 85 88 36 ร้อยละ
34 จากตารางที่ 4.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการ นำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้น ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ 3/1 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสรุ นิ ทร์ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 พบวา่ คะแนนแบบทดสอบก่อนเรยี นโดยรวม 78 เฉล่ีย 5.2 คา่ เฉลยี่ ร้อยละ 52 คะแนนแบบฝึกทกั ษะโดยรวม 128 เฉลีย่ 8.5 คา่ เฉลยี่ รอ้ ยละ 85 คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนโดยรวม 133 เฉลี่ย 8.8 ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละ 88 มพี ฒั นาการแตกตา่ งกันโดยรวม 55 เฉล่ยี 3.6 ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละ 36 ตารางที่ 4.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรือ่ ง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเรื่อง ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่องการนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบตั รวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ แผนการ จดั การเรยี นร้ทู ่ี 4 เลขที่ แบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบหลังเรยี น ความแตกตา่ ง 1. 3 8 10 7 2. 5 8 10 5 3. 3 9 8 5 4. 6 8 9 3 5. 6 9 9 3 6. 3 9 10 7 ต่อ (ตารางที่ 4.4) เลขท่ี แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบหลังเรียน ความ แตกต่าง 7. 8 10 6 8. 4 9 95 9. 9 85 10. 4 8 10 5 11. 3 8 83 12. 5 9 94 13. 5 9 84 14. 5 6 95 15. 4 9 84 รวม 4 126 135 71 4 64
35 เฉลีย่ 4.2 8.4 9.0 4.7 คา่ เฉลย่ี 42 84 90 47 รอ้ ยละ จากตารางที่ 4.4 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเรื่อง การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัย อาชีวศึกษาสุรินทร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 พบว่า คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนโดยรวม 64 เฉลี่ย 4.2 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 42 คะแนนแบบฝึกทักษะโดยรวม 126 เฉลี่ย 8.4 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 84 คะแนนแบบทดสอบ หลังเรียนโดยรวม 135 เฉล่ีย 9.0 ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ 90 มพี ัฒนาการแตกตา่ งกันโดยรวม 71 เฉล่ยี 4.7 คา่ เฉล่ีย ร้อยละ 47 ตารางท่ี 4.5 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นเร่อื ง ผลการวิเคราะหผ์ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการนำเสนอ การขาย หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) โดยใชแ้ บบฝึกทักษะของนักเรียนชัน้ ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ สาขาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสรุ ินทร์ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 - 4 โดยรวม แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ แบบทดสอบ แบบฝึกทกั ษะ แบบทดสอบ ความ แตกต่าง ก่อนเรียน หลงั เรยี น 54 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 79 112 133 59 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 72 64 131 55 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 78 128 133 71 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 4 64 126 135 239 รวม 293 430 532 เฉลยี่ 107.5 133 59.75 73.25 คา่ เฉล่ียรอ้ ยละ 48.83 71.66 88.66 39.83 จากตารางที่ 4.5 ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นเรื่อง การนำเสนอการขาย หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัย อาชีวศึกษาสุรินทร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-4 โดยรวม (เฉลี่ย) พบว่า คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียน โดยรวม 293 เฉลี่ย 73.25 ค่าเฉล่ียรอ้ ยละ 48.83 คะแนนแบบฝึกทกั ษะโดยรวม 430 เฉลี่ย 107.5 ค่าเฉล่ีย
36 ร้อยละ 71.66 คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนโดยรวม 532 เฉลี่ย 133 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 88.66 มีพัฒนา การแตกตา่ งกนั โดยรวม 239 เฉล่ีย 59.75 ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ 39.83 ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่องการนำเสนอ การขาย หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะของนักเรยี นช้ันประกาศนยี บตั รวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสุรินทร์ ผู้วิจัยได้นำคะแนนทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น มาวิเคราะห์เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้โดยใช้แบบฝึกทักษะของ นักเรยี นชน้ั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ 3/1 วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาสรุ นิ ทร์ ผลการวิเคราะห์ ขอ้ มูลปรากฏผลดังนี้ ตารางที่ 4.6 ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่องการนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้น ประกาศนยี บตั รวิชาชพี สาขาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสรุ นิ ทร์ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลงั เรียน t-test เฉลีย่ สว่ น เฉล่ยี สว่ นเบย่ี งเบน แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 เบีย่ งเบน มาตรฐาน แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ มาตรฐาน 2 5.27 1.22 8.87 1.30 12.44 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4.80 1.21 8.73 1.28 11.90 3 5.20 1.26 8.87 1.06 10.16 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4.27 1.03 9.00 0.85 14.32 4 19.54 4.72 35.47 4.49 48.82 รวม 4.88 1.18 8.86 1.12 12.20 เฉลี่ย จากตารางที่ 4.6 ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่องการนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนช้ัน
37 ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสรุ นิ ทร์ พบวา่ คะแนนแบบทดสอบ ก่อนเรียนโดยรวม 19.54 เฉลี่ย 4.88 คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี นโดยรวม 35.47 เฉลี่ย 8.86 ค่า t-test 12.20 แสดงว่านวัตกรรมที่สร้างขึ้นทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพ่ิมขึน้ โดยคะแนนก่อนและหลังเรียนต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ 0.01 ตอนที่ 3 ผลการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่องการนำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนช้ัน ประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ 3/1 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสรุ ินทร์ ให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ ที่กำหนดไว้ 80/80 ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ E2 / E2 ท่ีเกิดจากการจัดการเรียนรู้ด้วย เอกสารประกอบการสอน จากคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนระหว่างเรียนด้วยเอกสาร ประกอบการสอน ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ปรากฏผลดังน้ี ตารางท่ี 4.7 ผลการหาประสิทธภิ าพของแผนการจดั การเรียนรู้ผลการพัฒนาแบบฝกึ ทกั ษะ เร่ืองการ นำเสนอการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสรุ นิ ทร์ ให้มีประสทิ ธิภาพตามเกณฑท์ ก่ี ำหนดไว้ 80/80 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ แบบฝึกทักษะ (E1) แบบทดสอบหลงั เรียน (E2) แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 1 93 88 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 85 87 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 85 88 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 84 90 รวม 347 353 เฉลีย่ 186.75 88.25 คา่ เฉล่ียรอ้ ยละ 124.5 58.83 จากตารางท่ี 4.7 ผลการหาประสทิ ธิภาพของแผนการจดั การเรยี นรู้ผลการพัฒนาแบบฝกึ ทักษะ เร่ือง การนำเสนอการขาย โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะของนกั เรยี นชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 พบว่า คะแนนแบบฝึกทักษะ โดยรวม 347 เฉลี่ย 186.75 ค่าเฉลี่ยสะสม 124.5 คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนโดยรวม 353 เฉลี่ย 88.25 ค่าเฉลยี่ สะสม 58.83
38 ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจทางการเรยี นการสอน เร่ืองการนำเสนอการขาย โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ ผู้วิจัยได้ วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัย อาชีวศึกษาสุรินทร์ โดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน แล้วนำไปเทียบเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ผลการ วเิ คราะห์ข้อมลู ปรากฏผลดงั น้ี ตารางที่ 4.8 ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจทางการเรียนการสอน เรอื่ งการนำเสนอการขาย โดยใช้ แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สรุ ินทร์ ท่ี หวั ข้อ ระดับความพงึ พอใจ การแปลผล เฉลยี่ สว่ นเบีย่ งเบน 1. เอกสารประกอบการสอนมเี นอื้ หานา่ สนใจดีมาก มากทสี่ ดุ 2. เอกสารประกอบการสอนแกป้ ญั หาการขาดแคลน มาตรฐาน มากท่สี ุด 3.75 0.00 หนงั สอื เรยี น 3.35 0.74 3. เอกสารประกอบการสอนใบงานปฏิบัตเิ สรจ็ ในช่ัวโมง 4. เอกสารประกอบการสอนสรุปเนอื้ หาในการเรยี นได้ 3.2 0.96 มาก 3.2 0.80 มาก เขา้ ใจง่าย 5. เวลาท่กี ำหนดในแผนการจดั การเรยี นรไู้ ด้เหมาะสม 3.15 0.86 มาก 6. ภาพของเอกสารประกอบการสอนมีความชดั เจนสอ่ื สาร 3.2 0.80 มาก ได้ตรงความหมาย 3.3 0.74 มาก 7. เอกสารประกอบการสอนมใี บความรลู้ ะเอยี ดเพยี งพอแก่ 3.4 0.64 มาก การสบื คน้ ข้อมลู 3.5 0.49 มากที่สุด 8. นกั เรียนชอบเอกสารประกอบการสอน 3.35 0.74 มาก 9. เอกสารประกอบการสอนมคี วามจำเปน็ กับนักเรียน 10. ใหจ้ ดั ทำเอกสารประกอบการสอนวิชาอืน่ เพ่ิมเติม 33.4 6.77 มาก 3.34 0.67 มาก รวม เฉลยี่ จากตารางที่ 4.8 ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจทางการเรยี นการสอน เรอ่ื งการนำเสนอการขาย โดย ใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สุรนิ ทร์ พบวา่ โดยรวมเฉลยี่ 33.4 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 6.77 อยใู่ นระดบั มาก เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายข้อ สามารถเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ลำดับที่ 1 คือ เอกสารประกอบการสอนมีเนื้อหาน่าสนใจดมี าก
39 ลำดับที่ 2 คือ เอกสารประกอบการสอนมีความจำเป็นกับนักเรียน ลำดับที่ 3 คือ นักเรียนชอบเอกสาร ประกอบการสอน ลำดับที่ 4 คือ เอกสารประกอบการสอนแก้ปัญหาการขาดแคลนหนังสือเรียน และ ใหจ้ ดั ทำเอกสารประกอบการสอนวิชาอนื่ เพ่ิมเติม ลำดับที่ 5 คือ เอกสารประกอบการสอนมีใบความรู้ละเอียด เพียงพอแก่การสืบค้นข้อมูล ลำดับที่ 6 คือ เอกสารประกอบการสอนใบงานปฏิบัติเสร็จในชั่วโมง เอกสาร ประกอบการสอนสรุปเนื้อหาในการเรียนได้เข้าใจง่าย และ ภาพของเอกสารประกอบการสอนมีความชัดเจน สอ่ื สารได้ตรงความหมาย ลำดบั ที่ 7 คือ เวลาท่กี ำหนดในแผนการจัดการเรยี นรู้ได้เหมาะสม ตามลำดบั
40 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ การวจิ ัยการศกึ ษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นเรอื่ ง การนำเสนอการขาย หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัย อาชีวศึกษาสุรินทร์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการนำเสนอการขาย หลักสูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพวิ เตอร์ ธุรกิจ 3/1 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาสุรินทร์ เพือ่ เปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรยี นและหลังเรียน การ นำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ เพื่อพัฒนาเอกสาร ประกอบการสอน การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 เพื่อศึกษาความพึงพอใจทางการเรยี นการสอน การนำเสนอการ ขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยสามารถสรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะดังน้ี สรุปผลการวจิ ยั ผลการเรียนโดยใช้ เอกสารประกอบการสอน การนำเสนอการขาย หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัย อาชีวศึกษาสุรินทร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 - 4 โดยรวม (เฉลี่ย) พบว่า คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียน โดยรวม 293 เฉลี่ย 73.25 คะแนน ค่าเฉลี่ยร้อยละ 48.83 แบบฝึกทักษะโดยรวม 430 เฉลี่ย 107.5 คะแนน ค่าเฉลี่ยร้อยละ 71.66 แบบทดสอบหลังเรียนโดยรวม 532 เฉลี่ย 133 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 88.66 คะแนนมี พัฒนาการแตกต่างกันโดยรวม 239 เฉลี่ย 59.75 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 39.83 ผลการเปรียบเทียบผลการเรียน ระหวา่ งก่อนเรียนกบั หลงั เรียนโดยใช้ แบบทดสอบเรื่องการนำเสนอการขาย หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัย อาชีวศึกษาสุรินทร์ พบว่า คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนโดยรวม 19.54 เฉลี่ย 4.88 คะแนนแบบทดสอบ หลังเรียนโดยรวม 35.47 เฉลี่ย 8.86 ค่า t-test = 12.20 แสดงว่านวัตกรรมที่สร้างขึ้นทำให้ผู้เรยี นเกิดการ เรียนร้เู พ่มิ ขนึ้ โดยคะแนนก่อนและหลงั เรียนต่างกนั อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ 0.01
41 ประสิทธิภาพของ เอกสารประกอบการสอน การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัย อาชีวศึกษาสุรินทร์ พบว่า คะแนนแบบฝึกทักษะโดยรวม 347 เฉลี่ย 186.75 ค่าเฉลี่ยร้อยละ124.5 คะแนน แบบทดสอบหลงั เรยี นโดยรวม 353 เฉล่ยี 88.25 ค่าเฉลย่ี ร้อยละ 58.83 อภิปรายผล จากการวิจัยการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เอกสารประกอบการสอน การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของนกั เรียนชัน้ ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การศึกษาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนเรือ่ ง การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะของ นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ครั้งนี้ผู้วิจัย สามารถอภิปรายผลได้ดังน้ี การศึกษาผลการเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน เรื่องการนำเสนอการขาย หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ ของนกั เรียนชนั้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ พบว่า โดยรวมแล้วนักเรียนมีคะแนนสอบหลังเรียน สูงกว่าคะแนนสอบก่อนเรียน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.1 ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ และเมื่อ ศึกษาคะแนนความก้าวหน้าเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนก่อนและหลังเรียน โดยใช้ แบบทดสอบชุดเดียวกัน ( 30 ข้อ ) มีคะแนนที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.1 แสดงให้เห็นว่า หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการสอน การนำเสนอการขาย หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ นักเรียนมีการพัฒนาที่สูงข้ึน ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจาก ก่อนเรียนในแต่ละเรื่อง นักเรียนยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจและประสบการณ์ทั้งในเนื้อหาและทักษะ กระบวนการแต่เม่อื นกั เรยี นไดผ้ ่านกระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามแผนการจดั การเรียนรู้ นักเรียนได้ ผ่านการปฏิบัติจริง ได้ศึกษาหาความรู้จากเอกสารประกอบ การสอน ทำให้นักเรียนได้เพิ่มพูนความรู้ มคี วามเขา้ ใจแนวปฏิบตั ิ งานเกษตรเป็นอยา่ งดี จึงส่งผลให้นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงข้ึน แสดงให้ เห็นว่านกั เรียนใช้เอกสารประกอบการสอน (งานเกษตร) แล้วมีความรูแ้ ละมีทักษะเพิม่ ขึน้ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดวา่ เอกสารประกอบการสอน เป็นสื่อทีแ่ กป้ ัญหาในการเรียนการสอน ได้เป็นอย่างดีจะเห็นได้ชดั จากผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นว่ามีความแตกต่างกนั ( t – test )มีนยั สำคัญทางสถิติท่ี 0.01 แสดงว่านักเรยี นได้มีความรู้จาก การศึกษาค้นคว้าและเทคนิคการปฏิบัติกิจกรรมที่ครูสอนงานเกษตร โดยใช้เอกสารประกอบ การสอน นักเรียนสามารถนำวิธีการต่างๆไปใช้สร้างองค์ความรู้วิชาอื่น ๆ ได้เช่นเดียวกัน เป็นผลทำให้ผลสัมฤทธ์ิ
42 ทางการเรียนสูงขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัยของ นัฐพณ ศุภสุข (2557 ) ได้ทำการศึกษาการพัฒนาเอกสาร ประกอบการสอน การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนกั เรยี นชั้นประกาศนียบตั รวชิ าชพี สาขาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 3/1 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสุรินทร์ ผลการศึกษา ค้นคว้า พบว่า เอกสารประกอบการสอน การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) โดย ใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษา สรุ นิ ทร์ คา่ เฉลยี่ หลงั เรียนสูงกว่ากอ่ นเรียนอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ .01 และ ไสว คะนึงเหตุ (2558) ได้ศกึ ษาเก่ียวกบั การพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้เอกสารประกอบการสอน ช้นั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) การใช้เอกสารประกอบการสอนของนักเรียนก่อนเรยี นและหลังเรียนที่มีประสทิ ธิภาพของ ชุดการเรียนรู้ ด้วยตนเองอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียน คือ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่ากอ่ น เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการสอน เข้าใจทักษะ กระบวนการปฏบิ ตั งิ าน และปฏิบัตติ นในระบบกลุ่มอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้โดย การหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่า เอกสารประกอบการสอน การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรยี นชนั้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ ที่ได้จัดทำขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่ กำหนดไว้ นักเรียน สามารถทำแบบฝึกหัด และแบบทดสอบหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย 186.75/88.25 ค่าเฉลี่ย ร้อยละ 124.5/58.83 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80 / 80 และเมื่อนักเรียนที่เรียนโดยใช้เอกสาร ประกอบการสอน การนำเสนอการขาย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3/1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ นักเรียน สามารถทำแบบทดสอบหลงั เรยี นไดค้ ะแนนสูงกว่า การทำแบบทดสอบก่อนเรียน เม่อื ใชเ้ อกสารประกอบการ สอนครบ นักเรียนมีความพึงพอใจทางการเรียนการสอนส่วนใหญ่มีความเห็นว่า เอกสารประกอบการสอน เหมาะสมกับการเรียนการสอนในระดับดี เฉลี่ย 3.34 เพราะมีความจำเป็นสำหรับนักเรียน ความรู้ที่ได้จาก เอกสารประกอบการสอนสามารถนำไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้และสามารถนำไปใช้เป็นเครือ่ งมือช่วยสอนได้ เปน็ อย่างดี ทำใหน้ ักเรยี นประสบความสำเร็จในการเรียน มคี วามร้มู ที กั ษะพื้นฐานด้านเกษตร สามารถนำไป ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลคน้ ควา้ ประกอบวิชาอื่นได้ เป็นเอกสารประกอบ การสอน ทมี่ เี นอ้ื หาสาระเหมาะสมกบั ความสนใจและความสามารถของนักเรียน
Search