Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม 7 การจัดการศึกษาสำหรับบุคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น

เล่ม 7 การจัดการศึกษาสำหรับบุคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น

Published by boonsong kanankang, 2019-10-02 09:40:32

Description: การจัดการศึกษาสำหรับบุคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น

Search

Read the Text Version

คำชีแ้ จง ชุดเอกสารศุกษาดุวยตนเอง วุชาความรูพื้นฐานดานการจัดการศกษาสาหรับคนพการหรือ ผูเรียนที่มีความตองการจาเป็นพเศษุเรื่อง การจัุดการศุกษาสาหรัุบบคคลที่มีความบกพรุองทางการเหุน เลุมนี้ ไดรุ วบรวมเนือ้ หาจากเอกสาร บทความของนัุกการศกุ ษาทเ่ี กย่ี วขุองุกัุบการจุัดการศุกษาสาหรัุบบุคคล ที่มีุความบกพรุองทางการเหุน ซ่งมีุเนื้อหาสาระที่ครูุและบุคลากรท่ีสนใจควรทราบ ไดุแก ความรูุท่ัวไป เก่ียวกัุบบุคคลที่มีุความบกพรุองทางการเหุน ประวัุตุความเปุนมาุของการจัดการศกษา การชวยเหลือ ระยะแรกเร่มและเตรียมความพรอม การอานและการเขียนอักษรเบรลล์ การสรางความคนเคยกับ สภาพแวดลอมและการเคลื่อนไหว ทัุกษะการดารงชีุวุตของบุคคลท่ีมีความบกพรุองทางการเหุนและส่ือ นวัุตกรรม เทคโนโลยี ส่งอานวยความสะดวก สาหรัุบบุคคลที่มีคุ วามุบกพรุองทางการเหุน เพืุ่อใหุครูุและ ผูุสนใจนาความรูุไปประยุกต์ุใชุในการจัุดการเรุียนการสอนุรวมถงุ การพัุฒนาศัุกยภาพของผูุเรีุยน ใหุมีปุ ระสุทธุภาพสูุงข้น พรุอมทงั้ นาแนวทางความรุูแนะนาแกผุ ูุปกครองุตอไป คณะทางาน

สารบัญ หน้า คานา คาชแ้ี จง แนวทางการใช้ชุดเอกสารศกึ ษาดว้ ยตนเอง หน่วยที่ 1 ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกับบุคคลท่ีมคี วามบกพร่องทางการเหน็ ………………………………….……..… 1 ความหมายและประเภทบุคคลทีม่ คี วามบกพร่องทางการเห็น……………….…………………….… 1 ลักษณะของบคุ คลที่มีความบกพร่องทางการเหน็ ...................................... ………………….… 3 สาเหตุของความบกพร่องทางการเห็น................................................................... ………… 3 การป้องกันความบกพร่องทางการเห็น……………………………………………………………………….. 4 ประวัตกิ ารจัดการศึกษาสาหรับบคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น…………………………….. 5 หนว่ ยที่ 2 หลักการ เทคนิค วิธีการช่วยเหลือ และการจดั การศึกษาสาหรับบคุ คลทม่ี ี ความบกพรอ่ งทางการเห็น.................................................................................................. 6 การช่วยเหลอื ระยะแรกเรม่ิ และการเตรยี มความพรอ้ ม………………………………………………… 6 การอ่าน และการเขยี นอักษรเบรลล์………………………………………………………………………..… 7 การสรา้ งความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคล่ือนไหว………………………………………... 18 ทักษะการดารงชีวติ ของบคุ คลที่มีความบกพร่องทางการเห็น……………………………………….. 28 นวัตกรรมและเทคโนโลยี ส่งิ อานวยความสะดวก สอื่ บริการ และความช่วยเหลอื อ่ืนใด ทางการศกึ ษาสาหรบั นกั เรยี นทม่ี คี วามบกพร่องทางการเหน็ ............................................. 44 การผลติ สอ่ื อักษรเบรลล์..................................................................................................... 48 การผลิตส่อื ภาพนูน............................................................................................................ 50 กรณีศึกษา ……………………………………………………………………………………….……………………………………..……… 52 สรุปสาระสาคัญ..................................................................................................................................... 53 แหล่งข้อมูลเพ่ิมเติมท่ตี อ้ งศกึ ษา บรรณานกุ รม แบบทดสอบท้ายบท แบบเขยี นสะทอ้ นคิด ภาคผนวก

แนวทางการใชช้ ดุ เอกสารศกึ ษาดว้ ยตนเอง ท่านทีศ่ ึกษาเอกสารควรปฏิบตั ดิ งั ตอ่ ไปนี้ 1. ศกึ ษาขอบข่ายของเน้ือหา สาระสาคญั และจดุ ประสงค์ 2. ศึกษาขอบข่ายของเนื้อหาและทาความเข้าใจเนื้อหาอย่างละเอยี ด 3. ศึกษาแหลง่ ความรู้เพิ่มเติม 4. โปรดระลกึ ไว้เสมอวา่ การศึกษาจากเอกสารด้วยตนเองเป็นเพยี งสว่ นหนึง่ ของการพัฒนาความรู้ ดา้ นการศึกษาพเิ ศษเท่านั้น ควรศกึ ษาคน้ คว้าและหาประสบการณ์ตรงจากแหลง่ ความรู้อื่น ๆ เพิม่ เติม

หนว่ ยท่ี 1 ความรทู้ วั่ ไปเกีย่ วกับบุคคลทมี่ ีความบกพร่องทางการเห็น ความหมายและประเภทของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น หรือท่ีเรียกโดยทั่วไปว่าคนตาบอด มีการจาแนก/การให้ ความหมายความบกพร่องทางการเห็นมี 2 แนวทาง คือ แนวทางทางการศึกษาและแนวทางทางการ แพทย์ ทางการศึกษา ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการเรื่องกาหนดประเภทและหลกั เกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 3 และมาตรา 4 แหง่ พระราชบญั ญัตกิ ารจัดการศึกษาสาหรับ คนพิการ 2551 ข้อ 3 ได้กาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาเพื่อจัดประเภทบุคคลท่ีมีความบกพร่อง ทางการเหน็ ดงั ต่อไปนี้ บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็นได้แก่บุคคลท่ีสูญเสียการเห็นตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนถึง ตาบอดสนทิ ซ่ึงแบง่ เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. คนตาบอด หมายถงึ บุคคลทส่ี ญู เสียการเหน็ มากจนต้องใชส้ ่ือสัมผัสและส่ือเสียง หากตรวจวัด ความชัดของสายตาข้างดีเม่ือแก้ไขแล้วอยู่ในระดับ 6 ส่วน 60 เมตร (6/60) หรือ 20 ส่วน 200 ฟุต (20/200) จนถงึ ไม่สามารถรับรู้เร่ืองแสง 2. คนสายตาเลือนราง หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็นแต่ยังสามารถอ่านอักษรตัวพิมพ์ขยาย ใหญ่ด้วยอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการหรือเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก หากวัดความชัดเจนของ สายตาข้างดเี มื่อแก้ไขแล้ว อย่ใู นระดบั 6 สว่ น 18 เมตร (6/18) หรือ 20 สว่ น 70 ฟตุ (20/70) สาหรับคณะอนุกรรมการคัดเลือกและจาแนกความพิการเพ่ือการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้ความหมายของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นไว้ว่า หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็นตั้งแต่ ระดับเลก็ นอ้ ยจนถงึ ตาบอดสนิท อาจแบง่ ได้ 2 ประเภท คือ 1. คนตาบอด หมายถึง คนที่สูญเสียการเห็นมากจนต้องสอนให้อ่านอักษรเบรลล์ หรือใช้วิธีการ ฟงั เทปหรือหนงั สอื แถบเสยี ง หากตรวจวัดความชัดเจนของสายตาข้างดี เมื่อแก้ไขแล้วอยู่ในระดับ 6 ส่วน 60 เมตร (6/60) หรือ 20 ส่วน 200 ฟุต ลงมาจนถึงบอดสนิท (สัดส่วน 6/60 เมตร หมายถึง คนที่มีความ บกพร่องทางการเห็นสามารถมองเห็นวัตถุได้ในระยะห่าง 6 เมตร ในขณะที่คนสายตาปกติสามารถ มองเห็นวัตถุชิ้นเดียวกันได้ในระยะห่าง 60 เมตร หรือ คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นสามารถมองเห็น วตั ถไุ ดใ้ นระยะหา่ ง 20 ฟุต ในขณะที่คนสายตาปกติสามารถมองเห็นวัตถุช้ินเดียวกันได้ในระยะห่างที่ 200 ฟตุ ) หรอื ลานสายตาแคบกว่า 20 องศา (หมายถงึ สามารถมองเห็นไดก้ วา้ งนอ้ ยกวา่ 20 องศา) 2. คนสายตาเลือนราง หมายถึง คนท่ีสูญเสียการเห็น แต่ยังสามารถอ่านอักษรตัวพิมพ์ท่ีขยาย ใหญ่ได้ หรือต้องใช้แว่นขยายอ่าน หากตรวจวัดความชัดของสายตาข้างดี เม่ือแก้ไขแล้วอยู่ในระดับ ระหว่าง 6 ส่วน 18 เมตร (6/18) หรือ 20 ส่วน 70 ฟุต (20/70) ถึง 6 ส่วน 60 เมตร (6/60) หรือ 20 ส่วน 200 ฟุต (20/200) หรือมีลานสายตาแคบกวา่ 30 องศา

2 ทางการแพทย์ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ได้แบ่งประเภทความบกพร่อง ทางการเห็น ดงั นี้ ระดับของความบกพร่องทางการเหน็ ระดบั ความชัดของสายตาทีด่ ที ส่ี ดุ เมื่อใช้แว่นสายตา สายตาเลอื นราง (Low Vision) <6/18 เมตรหรือ 20/70 ฟุต - 6/60 เมตร (20/200) ฟตุ ระดบั ท่ี 1 <6/60 เมตรหรือ 20/200 ฟุต - 3/60 เมตร (20/400) ฟุต ระดบั ที่ 2 <3/60 เมตรหรือ 20/400 ฟุต - 1/60เมตร (20/1,200)ฟตุ ตาบอด (Blind) <1/60 เมตร หรือ 20/1200 ฟุต –PL (เห็นแสงเล็กนอ้ ย) ระดบั ที่ 3 NPL (ไมเ่ ห็นแม้แต่แสงสว่าง) ระดบั ท่ี 4 ระดบั ที่ 5 สาหรับการจาแนกประเภทความบกพร่องทางการเห็นตามการวินิจฉัยของสมาคมจักษุแพทย์ แหง่ ประเทศไทย แสดงได้ตารางตอ่ ไปนี้ ระดับ พจิ ารณาทส่ี ายตา ลักษณะความพิการ พิจารณาทีล่ านสายตา 1 6/18 เมตร ลงไป จนถึง 6/60เมตร สายตาเลือนรางหรือ แคบกวา่ 30 องศา จนถึง 10 องศา 2 <6/60 ลงไปจนถงึ 3/60 3 <3/60 ลงไปจนถงึ 1/60 สายตาพิการ 4 <3/60 ลงไปถงึ เห็นเพยี งแสงสว่าง 5 มองไมเ่ ห็นแมแ้ ต่แสงสว่าง ตาบอดขัน้ หน่ึง แคบกว่า 10 องศา จนถึง 5 องศา ตาบอดขั้นสอง แคบกวา่ 5 องศาลงมา ตาบอดข้นั สาม หมายเหตุ ระดับ 6/18 หมายถึง บุคคลที่มีสายตาเลือนรางสามารถมองเห็นวัตถุช้ินหน่ึงได้ใน ระยะ 6 เมตร ในขณะที่บุคคลทั่วไปสามารถมองเห็นวัตถุชิ้นเดียวกันนี้ได้ในระยะ 18 เมตร และระยะ 20/70 หมายถึง บุคคลสายตาเลือนรางสามารถมองเห็นวัตถุช้ินหน่ึงได้ในระยะ 20 ฟุต ในขณะที่บุคคล ทว่ั ไปสามารถมองเห็นวัตถชุ ิ้นเดยี วกนั นไ้ี ด้ในระยะ 70 ฟตุ จากท่ีกล่าวจะเห็นว่าการจาแนกประเภทของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นในแนวทาง การศึกษาจะแบ่งบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็นเป็น 2 ประเภท แต่ในทางการแพทย์จะจาแนก ประเภทบคุ คลทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ ที่ละเอียดเปน็ 5 ประเภท

3 ลักษณะของบคุ คลที่มีความบกพร่องทางการเห็น บคุ คลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ จะมีลกั ษณะและพฤตกิ รรมทอี่ าจสังเกตได้ ดังน้ี 1. ขอบตาแดง นา้ ตาคลอ มนี ้าตาไหลเสมอ 2. มีตมุ่ หรอื ผ่นื บนหนังตาและขอบตา 3. มีการระมัดระวงั ในการเดินมากผดิ ปกติ เดินหรอื วิง่ ไม่สม่าเสมอหรอื สะดดุ โดยไมม่ สี าเหตุ 4. ตาเอยี ง ตาเข หรือตาเหล่ 5. หนังตาปล้นิ หรือขอบตาบวมแดง 6. ตาอกั เสบหรือเปน็ ฝกี ุ้งยงิ บ่อยๆ 7. กลอกกลง้ิ ลูกตาไปมาบ่อยๆ 8. ตาดา ตาขาว ผิดปกติ เชน่ มีจุดขาวหรือเน้ืองอก 9. ขยต้ี าหรอื กะพริบตาถ่ีผิดสังเกต 10. ชอบหรี่ตาหรอื ปูองแสงไมใ่ หเ้ ข้าตา 11. เม่ือมองวัตถหุ รือส่ิงของ ตอ้ งเข้าไปดูใกลๆ้ หรอื นามาชิดใบหน้า 12. หยบิ วางของผดิ ที่อยู่เสมอ 13. เวลาอ่านหนังสือมักจะมีพฤติกรรมก้มหนา้ หรอื เงยหน้า ตลอดเวลา 14. ใบหน้าบูดเบี้ยวเวลาอา่ นหนงั สอื 15. เวลาอา่ นหนงั สอื มักจะกม้ ลงมาใกลก้ ระดาษมากจนผดิ ปกติ 16. เมอ่ื อา่ นหนังสอื ทมี่ ลี ักษณะคลา้ ยกัน เช่น อ และ ฮ บ และ ข มกั จะอ่านผิด 17. เวลาอา่ นหนงั สือมักจะอา่ นข้ามบรรทัด หรืออา่ นซ้าบรรทัดเดิม 18. เวลาเขียนหนงั สือมักจะเว้นบรรทัดไม่ถูกต้อง 19. หรต่ี าหรอื เอนศรี ษะเอยี งเข้าหาหนงั สือ 20. ปดิ ตาหรอื หลบั ตาข้างหนึ่ง เมอ่ื อา่ นหนังสอื หรือดูสง่ิ อนื่ ๆ สาเหตขุ องความบกพร่องทางการเห็น ความบกพร่องทางการเห็น อาจเกิดจากสาเหตุต่างๆ หลายประการ ไดแ้ ก่ 1. การถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากบิดา หรือมารดาท่ีมีโรคตาบางอย่างหรือความผิดปกติของ โครโมโซม ซึ่งบางครั้งหาสาเหตุไม่ได้ เช่น จอประสาทตาผิดปกติแต่กาเนิด มีความผิดปกติของเซลล์รับ ภาพสีในประสาทตาแต่กาเนิด มะเร็งของจอตา สายตาส้ัน สายตายาว หรือสายตาเอียง ตาเหล่ ตาเข หนังตาตก ตาเลก็ ผดิ ปกติ ตอ้ กระจก และต้อหินแตก่ าเนิด เป็นต้น 2. การได้รบั อุบตั เิ หตทุ กี่ ระทบกระเทอื นต่อดวงตาหรือประสาทในการมองเห็นโดยตรง เชน่ ส่งิ แปลกปลอมจาพวกสารเคมี หรอื สารโลหะละลายที่ร้อนเข้าตา สิ่งแปลกปลอม เช่น เหล็ก โลหะอ่นื ๆ หรือไม้ กระเดน็ เข้าลูกตา ซง่ึ อาจเข้าไปฝังอยู่ ภายในลูกตา หรอื ทปี่ ระสาทตาชน้ั ใน กรด ด่าง เข้าตา จะทาอันตรายอย่างมากต่อลูกตาและตามักจะบอดจากการอักเสบหรือเยอ่ื ตา เปน็ แผลทะลุ หรือจากตอ้ หินแทรก แสงจากการหลอมแกว้ เขา้ ตา ทาใหเ้ ลนส์ตาเสอ่ื มและกลายเปน็ ตอ้ กระจก

4 อบุ ัติเหตุอ่ืนๆ เช่น รถชนกัน อาจทาให้ของมคี มบาดเข้าตา ทาให้ขอบตา เยื่อบุตา ตาดาหรอื ตา ขาวฉีกขาด ลูกตาแตก เปน็ ต้น 3. การตดิ เชอ้ื หรอื มโี รคทางตาบางชนดิ ซึง่ อาจเกดิ ข้นึ ตั้งแตร่ ะยะทม่ี ารดาตั้งครรภ์ จนคลอด ออกมาและมีการตดิ เชอ้ื ภายนอก ได้แก่ ริดสดี วงตา เกดิ จาการติดตอ่ กันโดยใช้เครอื่ งนงุ่ หม่ ผา้ เชด็ ตัวรว่ มกนั มอี าการตาแดง เคืองตา นา้ ตามาก รสู้ ึกคลา้ ยมีเม็ดทรายอยู่ในตา สามารถรักษาได้โดยการหยอดตา กนิ ยา ถ้าปล่อยไว้ไม่ รกั ษา แต่เนิน่ ๆ อาจทาให้ตาบอดได้ ตอ้ หิน เกิดจากทางระบายนา้ ในลกู ตาอุดตัน ทาให้เกิดความดนั ในลกู ตาสงู ทาลายจอตาและ เสน้ ประสาท จะมีอาการปวดตา ตาคอ่ ยๆ มวั ลง ตาแดงอยู่เสมอ เคืองตา น้าตามาก เมือ่ หลบั ตาแล้วเอา น้วิ กดท่ลี ูกตาจะแข็งกวา่ ปกติ ถา้ เป็นมากต้องใชว้ ธิ ผี า่ ตัด ถ้าไมร่ ักษาหรอื รักษาชา้ อาจทาให้ตาบอดได้ ตอ้ กระจก มีอาการทส่ี ังเกตได้ คอื ตามัว แพ้แสงแดด แดดย่ิงจดั ตายิ่งมัว กลางตาดามลี ักษณะ ขนุ่ ขาว แต่จะไม่มอี าการเจบ็ ปวดหรือตาแดง การรกั ษาทาไดโ้ ดยการผ่าตัดลอกต้อออกโดย จกั ษแุ พทย์ โรคหนองในตา เกิดจากการติดเช้ือหนองใน จากชอ่ งคลอดของมารดาในขณะคลอดหรอื ใช้ ผา้ เช็ดตัว ผา้ ขาวม้าของบดิ าที่เปน็ หนองในเช็ดหนา้ เด็ก มีอาการตาบวมแดง ลมื ตาไม่ขึ้น มหี นองไหลจากตา ตอ้ งรีบพบแพทย์ เพ่ือรบั การรักษาโดยด่วน หากชา้ เกินไปอาจตาบอดได้ 4. สาเหตจุ ากโรคอื่นๆ โรคขาดสารอาหาร (วิตามนิ เอ) เกดิ จากการขาดสารอาหารทีม่ วี ิตามินเอ ทาให้มีอาการแพ้แสง ระคายเคอื งตา เหน็ ไม่ชัดในทมี่ ืดหรือสลัว ตาดาขนุ่ ฝาู ไมม่ ันใส ต้องรบี พบแพทย์เพื่อ ทาการรกั ษา มิเชน่ นน้ั ตาอาจบอดได้ การป้องกันความบกพรอ่ งทางการเหน็ ความบกพรอ่ งทางการเห็นบางอยา่ งสามารถปูองกนั ได้ โดยมีวธิ ี ดังนี้ 1. ใหว้ คั ซนี ปอู งกันโรคหัดเยอรมันในสตรแี ละเด็ก 2. มารดาที่ตั้งครรภ์ควรฝากครรภ์และระวังรักษาสุขภาพ โดยเฉพาะ 3 เดือนแรกควรหลีกเล่ียง การติดเชอ้ื 3. ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับเร่ืองการรับประทานอาหารท่ีถูกส่วน โดยเฉพาะอาหารที่มี วติ ามนิ เอมาก เชน่ ผักสีเขียว แครอท มะละกอสกุ ฟักทอง มะเขอื เทศสุก เน้ือสตั ว์ ตบั และไข่ 4. ปอู งกันอุบัติเหตุ เก็บของแหลมมีคมใหพ้ น้ จากมอื เดก็ 5. อบรมด้านการปูองกันอุบัติเหตุแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และผู้ที่เก่ียวข้องกับเคร่ืองจักรให้ ทราบถงึ อนั ตรายจากการใช้เคร่อื งจกั ร และวิธปี ูองกนั อุบตั ิเหตทุ อี่ าจเกดิ ขึน้ กับตา 6. ดูแลสุขภาพและอนามัย เช่น ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร รักษาความสะอาดของ ส่งิ แวดล้อม นา้ ดม่ื นา้ ใช้ 7. ใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชนในการดูแลรักษาตาเบ้ืองต้น ร้จู กั ระวงั รกั ษาและถนอมดวงตา 8. เมือ่ มอี าการผดิ ปกติทางตา ควรพบแพทยเ์ พอ่ื รบั การตรวจรกั ษา ไม่ควรซื้อยาหยอดตามาใชเ้ อง

5 ประวัตกิ ารจดั การศกึ ษาสาหรบั บคุ คลทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเห็น การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็นในระยะเริ่มต้นนั้นยังไม่มีรูปแบบที่ ชัดเจน ไม่มีหนังสือสาหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นโดยเฉพาะ การเรียนการสอนจึงต้องใช้ การฟังและการจดจาเป็นสาคัญ จนกระท่ังในช่วงปี ค.ศ. 1809-1852 ได้มีชาวฝร่ังเศสช่ือ หลุยส์ เบรลล์ ซึ่ง เป็นคนตาบอด เนอ่ื งจากอุบัติเหตุ ได้คิดประดิษฐ์อักษรตัวนูนสาหรับคนตาบอดข้ึน โดยวิธีการใช้นิ้วสัมผัส จึงทาให้มีอักษรท่ีใช้สาหรับการอ่านและเขียนในการจัดการเรียนการสอนสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่อง ทางการเหน็ อกั ษรตวั นูนดงั กล่าวจงึ เรียกวา่ “อกั ษรเบรลล์” (Braille) ตามนามสกุลของผ้ปู ระดิษฐ์ อักษรเบรลล์ มี 6 จุด ใน 1 ช่อง โดยแต่ละจุดมีตาแหน่งต้ังแต่ 1 – 6 อักษรแต่ละตัวเกิดจาก การประสมจดุ ในแต่ละตาแหนง่ ซึ่งสามารถสลับตาแหนง่ ท้ัง6ไดถ้ งึ 64 แบบ และใช้อักษรเบรลล์นี้แทนอักษร ในภาษาต่างๆ ตัวเลข สญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ ตลอดจน โนต้ ดนตรี การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็นในประเทศไทยนั้น เกิดขึ้นครั้งแรก เม่อื พ.ศ. 2482 โดย มิสเจนิวิฟ คอลฟิลด์ สตรีตาบอดชาวอเมริกัน ได้ริเร่ิมจัดต้ังโรงเรียนสอนคนตาบอด แห่งแรกในประเทศไทย คือ โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ ขึ้น ต่อมาได้จัดตั้งมูลนิธิช่วยคนตาบอด แห่งประเทศไทย เพื่อให้การสนับสนุนด้านงบประมาณดาเนินการช่วยเหลือบุคคลท่ีมีความบกพร่อง ทางการเห็น ในปี พ.ศ. 2486 รฐั บาลไทยได้จัดสรรงบประมาณเป็นทุนอุดหนุนการศึกษาของบุคคลท่ีมีความ บกพร่องทางการเห็นเป็นคร้ังแรก และได้ส่งครูการศึกษาพิเศษซ่ึงเป็นข้าราชการในสังกัดกองการศึกษา พิเศษไปช่วยสอนในโรงเรียนสอนคนตาบอด ในปี พ.ศ. 2502 มีการจัดตั้งมูลนิธิช่วยและให้การศึกษา คนตาบอดภาคเหนอื และตอ่ มาในปี พ.ศ. 2503 มกี ารจัดต้งั โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรม ราชนิ ปู ถมั ภ์ จงั หวดั เชยี งใหม่ ต่อมาเม่ือปี พ.ศ. 2505 มูลนิธิอเมริกันเพ่ือคนตาบอดโพ้นทะเล (The American Foundation for the Oversea Blinds) ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลท่ีมีความ บกพร่องทางการเห็น ให้มีการเรียนร่วมในโรงเรียนท่ัวไป ซ่ึงนับเป็นการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมคร้ัง แรก รวมถงึ มกี ารจัดอบรมครูเพอื่ ปฏิบัตหิ นา้ ทีค่ รกู ารศึกษาพิเศษเดินสอนในโรงเรยี นทจ่ี ัดการเรยี นร่วม ในระหว่างปี พ.ศ. 2525-2534 น้ัน สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ได้จัด การศกึ ษาสาหรบั บุคคลทีม่ ีความบกพร่องทางการเห็น ในรูปแบบการเรียนร่วมกับนักเรียนท่ัวไปในจังหวัด ต่างๆ เพื่อสนองนโยบายแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติระยะท่ี 5-6 มีการขยายการดาเนินการออกไป เรอ่ื ยๆ จนกระท่ังถึงปี พ.ศ. 2538 จึงมีการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นเรียน ร่วมครบทุกจังหวัดท่ัวประเทศ โดยได้รับการสนับสนุนบุคลากรครูจากกองการศึกษาพิเศษ และในบาง จังหวัด เช่น จังหวัดขอนแก่น ได้รับการสนับสนุนด้านส่ือ อุปกรณ์ การจัดอบรมครูและด้านกา ร ประสานงานเรียนร่วมในพื้นท่ี จากมูลนิธิธรรมิกชนเพื่อคนตาบอด รวมถึงได้รับการสนับสนุนด้านหนังสือ เรียนจากมลู นิธิชว่ ยคนตาบอดแหง่ ประเทศไทย เปน็ ตน้

หนว่ ยท่ี 2 หลักการ เทคนคิ วธิ ีการชว่ ยเหลือและการจัดการศึกษา สาหรบั บคุ คลที่มคี วามบกพร่องทางการเห็น การชว่ ยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ และการเตรียมความพร้อมสาหรบั เดก็ ทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเห็น แนวทางการช่วยเหลือและเตรียมความพร้อมสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็นน้ัน สิ่งสาคัญที่ควรคานึงถึงมากท่ีสุดคือ การสูญเสียความสามารถในการมองเห็นของเด็ก ซึ่งย่อมหมายถึง การสูญเสียประสาทสัมผัสที่จาเป็นต่อพัฒนาการพื้นฐานของมนุษย์ ดังน้ันจึงจาเป็นต้องให้เด็กได้รู้จักการ ใช้ประสาทสัมผัสส่วนอ่ืนๆ มาทดแทนให้มากท่ีสุด รวมถึงต้องฝึกให้เด็กรู้จักการช่วยเหลือตนเอง ซงึ่ การช่วยเหลอื และการเตรยี มความพรอ้ มสาหรับเด็กที่มคี วามบกพร่องทางการเห็น สามารถทาได้ดังนี้ 1. สง่ เสริมใหเ้ ด็กใช้ส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย เพ่ือช่วยให้ประสาทสัมผัสพัฒนาได้ดีข้ึน โดยใช้ลาดับ ข้ันพัฒนาการเดียวกันกับเด็กทั่วไป แต่เน่ืองจากการสูญเสียความสามารถในการมองเห็น ส่งผลให้ พฒั นาการด้านการเคล่ือนไหวล่าช้ากว่าปกติ เนื่องจากขาดประสาทสัมผัสด้านการมองเห็นเป็นตัวกระตุ้น ซึ่งต่างจากเด็กท่ัวไปที่สามารถมองเห็นส่ิงต่างๆ รอบตัว ทาให้เกิดความรู้สึกสนใจอยากหยิบจับ จึงพยายามทีจ่ ะคลานหรอื เดินไปหยบิ ส่งิ ของเหลา่ น้นั ดังน้ันจึงมีแนวทางในการสง่ เสรมิ พัฒนาการ ดงั นี้ 1.1 ขณะทีอ่ ุ้มเด็กควรอมุ้ ใหช้ ดิ ตวั เดินไปมาเพอ่ื ให้เด็กรสู้ กึ ถงึ การเคลอ่ื นไหว 1.2 ชว่ ยพยุงใหเ้ ด็กลุกนง่ั เมือ่ อายุได้ 6 เดือน 1.3 ให้เดก็ เลยี นแบบการเคล่ือนไหวโดยใช้การสัมผสั และเสียง เชน่ รอ้ งเพลงให้เด็กฟัง จะทาให้เด็กมีการเคลอ่ื นไหว 1.4 พยงุ เดก็ ให้เกาะเพอื่ หัดยืน 1.5 เม่ือเด็กอายุ 8 เดือน หัดให้ลุกขึ้นยนื จับโหนส่งิ ใกลเ้ คียง 1.6 สอนใหเ้ ด็กเดนิ โดยการจงู มือ 1.7 โดยธรรมชาติของเด็กทม่ี ีความบกพร่องทางการเห็นมักจะชอบอยู่น่ิงๆ ไมเ่ คลอ่ื นไหว ดังน้นั จึงจาเปน็ ตอ้ งมีการกระต้นุ โดยการจูงให้เดนิ 1.8 ของที่เคล่ือนทีไ่ ด้ กล้ิงได้ จะช่วยให้เดก็ สนใจ ชว่ ยสร้างเสริมประสบการณ์ในการ เคลอ่ื นไหวและการออกกาลงั กลา้ มเนือ้ แตต่ อ้ งไดร้ ับการแนะนาในการเลน่ เช่น การเลน่ ฟุตบอล จะต้อง ฝกึ ให้รวู้ ิธีท่ีจะกลิ้ง โยน รบั และลกู บอลจะต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอใหเ้ ด็กสามารถรับได้ง่าย 2. พยายามพูดถึงสิ่งต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นรอบๆ ตัวเด็ก พูดถึงความรู้สึก อารมณ์ สถานการณ์ เหตุการณ์ สิ่งต่างๆ ท่ีเราเห็นหรือรู้สึก ใช้คาพูดอธิบายประกอบให้เด็กเข้าใจไปด้วย ในขณะท่ีเล่นหรือทา กจิ กรรมต่างๆ เนอื่ งจากมองไม่เห็น อาจจะทาให้พัฒนาการทางด้านภาษาของเด็กช้าไปด้วย ดังน้ันจึงต้อง ให้เด็กมีโอกาสได้ใช้ประสาทสัมผัสส่วนอ่ืนๆ ช่วยในการเรียนรู้ส่ิงแวดล้อมรอบตัวให้มากข้ึน การพูดและ การให้คาแนะนาอธิบายและการให้เด็กสัมผัส จะเป็นการช่วยทดแทนการมองเห็นของเด็กได้มาก ซ่ึงการ พูดและการให้คาแนะนาจะต้องชัดเจน เข้าใจง่าย เพราะหากปราศจากการพูด/อธิบายให้ฟังแล้ว เด็กท่ีมี ความบกพร่องทางการเหน็ จะเสมือนกับถกู ตัดขาดจากโลกภายนอก 3. ส่งเสริมให้เด็กใช้ประสาทสัมผัสส่วนต่างๆ ให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ เนื่องจากเด็กที่มีความ บกพร่องทางการเห็นสามารถเรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสที่เหลืออยู่ เช่น การสัมผัส การดมกลิ่น การฟัง ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการฝึกการใช้ประสาทสัมผัสท่ีเหลืออยู่ให้มากท่ีสุด เช่น เม่ือส่งลูกแอปเปิลให้เด็ก

7 เปิดโอกาสใหเ้ ด็กไดส้ ารวจโดยการใช้มอื สัมผสั ลบู เขย่าเพอ่ื ฟังว่าด้านในของแอปเปิลมีการส่ันคลอน (เม็ด ในกลวง) หรอื ไม่ ไดด้ มกล่ิน ไดช้ ิมรส กอ่ นท่ีจะเรียนรเู้ ร่ืองของแอปเปิล เป็นต้น 4. ส่งเสริมให้เด็กเข้าใจส่ิงต่างๆ ด้วยการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีเสียงและมีผิวสัมผัสท่ีน่าจับต้อง เช่น ลูกบอลผ้าที่มีลูกกระพรวนอยู่ข้างใน จะช่วยให้เด็กรู้ทิศทางว่าลูกบอลอยู่ตาแหน่งใด รวมถึง เคร่ืองเล่นท่ี กลิ้งไดห้ รอื ยกได้ เคล่ือนทไี่ ด้ มผี ิวสมั ผัสตา่ งๆ กัน เปน็ ต้น 5. พยายามใหเ้ ดก็ ใชก้ ารเหน็ ท่ีเหลืออยู่ให้มากท่ีสุด เด็กที่มีการเห็นเหลืออยู่บ้างควรจะใช้อุปกรณ์ ชว่ ยการเหน็ เช่น เด็กท่ีสามารถมองเห็นสีสดๆ ควรสอนให้เขารู้จักสีเหล่านี้ โดยการใช้ผ้าสีต่างๆ หรือ ใช้หนงั สืออกั ษรขยายสาหรบั เดก็ ทีส่ ามารถมองเห็นสิ่งท่มี ีขนาดใหญ่มากได้ เป็นตน้ การอา่ นและเขียนอกั ษรเบรลล์ ความรูท้ ั่วไปเกี่ยวกับอกั ษรเบรลล์ อักษรเบรลล์ คอื อักษรนูนท่ใี ช้สาหรับการอา่ นและการเขียนสาหรับคนท่ีมีความบกพร่องทางการ เห็น ซึ่งมีลักษณะเป็นจุดนูน 6 จุด ดังรูป = จัดเรียงกันเป็นรูปสี่เหล่ียมผืนผ้าตามแนวตั้ง คนที่มีความ บกพร่องทางการเห็นสามารถอ่านได้ด้วยการใช้ปลายน้ิวมือสัมผัสจุดนูนน้ัน และเขียนโดยการใช้อุปกรณ์ การเขยี นท่เี รียกวา่ สเลท (Slate) และสไตลัส (Stylus) ให้เป็นจุดนูนตามตาแหน่งจุดอักษรท่ีกาหนด โดย เขยี นจากขวาไปซ้าย อักษรเบรลล์ที่คนตาบอดทั่วโลกใช้อ่านเขียนกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันน้ัน คิดค้นและพัฒนา ระบบขน้ึ โดย หลยุ ส์ เบรลล์ คนตาบอดชาวฝรง่ั เศส หลุยส์ เบรลล์ เกิดเม่อื วันท่ี 4 มกราคม ค.ศ. 1809 ใน ครอบครัวช่างทาอานม้า เม่ืออายุ 3 ขวบได้รับอุบัติเหตุจากเครื่องมือมีคมที่ใช้ทาอานม้า ซ่ึงส่งผลให้ตา บอดสนิทในเวลาต่อมา เม่ือถึงวัยท่ีต้องเข้าโรงเรียน เขาได้รับอนุญาตให้เข้าเรียนร่วมในชั้นเรียนกับ นกั เรยี นคนอ่นื ๆ ในโรงเรียนใกลบ้ า้ น หลุยส์ เบรลล์ เรียนรู้สิ่งต่างๆได้อย่างรวดเร็วด้วยการฟัง ในท่ีสุดเขา ก็กลายเปน็ นักเรียนท่ีเก่งท่สี ดุ ในชนั้ เรยี น เมื่อหลุยส์ เบรลล์ อายุครบ 10 ขวบ เขาได้รับทุนไปเรียนในโรงเรียนสอนคนตาบอดที่กรุงปารีส การเรียนการสอนใช้การฟังเป็นหลัก มีหนังสือให้อ่านบ้าง แต่เป็นหนังสือท่ีจัดทาขึ้นด้วยระบบอักษรนูน ซ่ึงคิดค้นและพัฒนาระบบข้ึนโดยวาเลนไทน์ เฮย์ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอดแห่งนั้น การเรียนใน โรงเรียนสอนคนตาบอด หลุยส์ เบรลล์ มคี วามเป็นเลิศด้านดนตรี เขาสามารถเล่นเปียโนและออร์แกนได้ดี เย่ยี ม รวมท้งั ไดเ้ รยี นรู้ภาพตวั อักษรผา่ นการอา่ นจากระบบอักษรนูนจนชานาญ หลังจากนั้น 2 ปี กัปตัน ชาร์ลส บาร์บีเยร์ เดอ ลา แซรร์ ทหารในกองทัพฝรั่งเศส ได้มาเยี่ยมที่ โรงเรียนสอนคนตาบอด เพื่อนาระบบจุดนูนที่เรียกว่า ระบบโซโนกราฟฟี ซ่ึงท่านได้คิดค้นข้ึนใช้ในการส่ง ข้อความในความมืดของทหาร มาสาธิตให้นักเรียนตาบอดได้ศึกษา หลุยส์ เบรลล์ ได้ศึกษาระบบโซโน - กราฟฟีน้ีอย่างจริงจัง เขาพบว่าการใช้ 12 จุดแทนคาของระบบโซโนกราฟฟี ทาให้อ่านช้าและไม่สามารถ ใช้กบั การอา่ นและเขียนโนต้ ดนตรีได้ เขาจงึ ดดั แปลงเปน็ ระบบ 6 จดุ ท่ีสามารถสัมผัสด้วยปลายนิ้วมือเพียง นิ้วเดียว และสามารถใช้แทนตัวอักษรที่เขาต้องการ น่ันก็คืออักษรเบรลล์ที่คนตาบอดใช้กันท่ัวโลกใน ปจั จุบัน ในปี ค.ศ. 1829 หลุยส์ เบรลล์ ได้จัดทาหนังสือที่คนตาบอดสามารถอ่านได้ ด้วยระบบอักษร เบรลล์ที่เขาคิดค้นและพัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบด้วย รูปศัพท์ภาษาฝรั่งเศส โน้ตดนตรี หลังจากนั้นอักษร เบรลลไ์ ดร้ บั การเผยแพร่ไปทวั่ โลก แตล่ ะประเทศไดด้ ดั แปลงใช้กบั ภาษาของตน

8 วิวัฒนาการอักษรเบรลล์ในประเทศไทย มิสเจเนวิฟ คอลฟิลด์ สตรีตาบอดชาวอเมริกันผู้จุด ประกายและบุกเบิกการศึกษาให้คนตาบอดในประเทศไทย เกิดเม่ือวันท่ี 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2431 ณ เมืองซัฟฟอรด์ มลรัฐเวอรจ์ เิ นีย สหรัฐอเมรกิ า เมื่ออายไุ ด้ 2 เดือน พ่ีเล้ียงทาน้ายาเคมีหกรดใบหน้า ทา ให้สูญเสียสายตาท้ังสองข้าง ต่อมาท่านได้เข้ารับการศึกษาท่ีโรงเรียนสอนคนตาบอด Over Brook School for the Blind มลรัฐ Pennsylvania และจบการศึกษาระดับปริญญาโท จากมหาวิทยาลัย โคลัมเบีย สหรฐั อเมริกา มิสเจเนวฟิ คอลฟิลด์ มีความมุ่งมั่นและตั้งใจที่จะมาเปิดโรงเรียนสอนคนตาบอดในประเทศญี่ปุน แต่เม่ือเดินทางมาถึงประเทศญ่ีปุน ได้พบว่าท่ีนั้นมีโรงเรียนสอนคนตาบอดอยู่แล้ว ท่านจึงเปิดโรงเรียน เล็กๆ เพื่อสอนภาษาอังกฤษให้แก่คนต่างชาติที่มาอาศัยอยู่ในประเทศญ่ีปุน จนในท่ีสุดท่านได้พบกับ นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว ซึ่งขณะนั้นดารงตาแหน่งเป็นรองผู้อานวยการโรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา ขณะเดินทางไปศึกษาดูงานในเวลาน้ัน มิสเจเนวิฟ คอลฟิลด์ ทราบว่าประเทศไทยยังไม่มีโรงเรียนสอนคน ตาบอด จงึ มาก่อต้ังโรงเรยี นสอนคนตาบอดในประเทศไทย ตามคาเชิญของนายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว ในปี พุทธศักราช 2482 นับว่าเป็นโรงเรยี นคนพกิ ารแหง่ แรกในประเทศไทย ปจั จบุ ันคือโรงเรียนสอนคนตาบอด กรุงเทพ มิสเจเนวิฟ คอลฟิลด์ และคณะเพื่อนคนไทย ได้ร่วมกันคิดอักษรเบรลล์ภาษาไทยข้ึน โดยเทียบ เสยี งพยัญชนะ สระบางตวั จากอกั ษรเบรลล์ภาษาอังกฤษและภาษาญ่ปี ุน นอกจากน้ันท่านได้คิดพยัญชนะ และสระอกั ษรเบรลล์เพิ่มเติมจนครบทุกตัวอกั ษรในภาษาไทย โครงสร้างตาแหน่งจุดอกั ษรเบรลล์ = อักษรเบรลลป์ ระกอบด้วยจุดนนู 6 จุด เรียงตัวกนั ดังรปู จาก 6 จุดนี้สามารถเปลย่ี นเป็นรูปต่างๆ ไดท้ ั้งหมด 64 รูป ซง่ึ ถูกนาไปใช้แทนสัญลักษณ์ในภาษาต่างๆ ท่ัว โลก เช่น q ( & p vฯลฯ แต่ละจดุ อ่านตามตาแหนง่ ตัวเลขเรียงลาดับ จากนอ้ ยไปมากดังนี้ จดุ บนซ้าย คือ จดุ 1 a จุดบนขวา คือ จุด 4 @ จดุ กลางซ้ายคอื จุด 2 1 จุดกลางขวา คือ จดุ 5 \" จุดลา่ งซา้ ย คอื จุด 3 ' จดุ ล่างขวา คือ จุด 6 , การเขียนตาแหน่งจดุ อักษรเบรลล์ เขียนจากทางขวาไปทางซา้ ย ตาแหนง่ จุดจึงสลับกนั ดังน้ี

9 คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นในประเทศไทยใช้อักษรเบรลล์อ่านและเขียนได้ท้ั ง ภาษาตา่ งประเทศ รหัสคณิตศาสตร์ และภาษาไทย ในคู่มือเล่มน้ีจะกล่าวถึงการใช้อักษรเบรลล์มาตรฐาน ภาษาองั กฤษ ระดับ 1 และระดับ 2 เบ้ืองตน้ รหสั คณติ ศาสตร์ และภาษาไทย ระดับ 1 อักษรเบรลลภ์ าษาอังกฤษระดับ 1 อักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษระดับ 1หมายถึง การอ่านและเขียนอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษใน ระดบั พ้นื ฐานโดยไม่มีตัวย่อดังนี้ 1.1 อกั ษรเบรลลภ์ าษาองั กฤษตวั พิมพเ์ ลก็ Abcde f g hi j Abcde f g hi j K lmno p q rs t K lmno p q rs t Uvwx y z Uvwx y z G HI J ,g ,h ,i ,j 1.2 อกั ษรเบรลล์ภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ Q RS T ,q ,r ,s ,t ABCD E F ,a ,b ,c ,d ,e ,f หมายเหตุ K LMNOP วรรคหลัง ,k ,l ,m ,n ,o ,p วรรคหลัง UVWX Y Z ,u ,v ,w ,x ,y ,z 1.3 เครอ่ื งหมายภาษาอังกฤษเบื้องต้น เครื่องหมาย สญั ลักษณ์ คาอ่าน , 1 comma ‘ ' apostrophe

10 ; 2 semicolon วรรคหลงั : 3 colon วรรคหลัง . 4 period วรรคหลังประโยคและหวั ข้อ ไม่ใชแ้ ทนจดุ ทศนยิ ม ! 6 exclamation วรรคหลงั ? 8 question mark วรรคหลัง * 99 asterisk วรรคหนา้ และหลัง - - hyphen วรรคหน้าและหลงั – -- dash วรรคหนา้ และหลงั / _/ slash วรรคหนา้ และหลัง \\ _* back slash วรรคหน้าและหลงั “---” 8---0 quotation เปดิ และปดิ ต่างกนั วรรคกอ่ นเปิด วรรคหลังปิด ‘---’ '8---0' single quotation เปิดและปิดต่างกนั วรรคก่อนเปิด วรรคหลังปดิ (---) 7---7 Parentheses เปดิ และปดิ ตา่ งกนั วรรคกอ่ นเปดิ วรรคหลงั ปิด [---] ,7---7' bracket วรรคกอ่ นเปดิ วรรคหลงั ปิด {----} .(---.) brace วรรคก่อนเปดิ วรรคหลังปดิ $ 4# dollar sign _ _ underline @ @ At sign # # Number sign % 3p percent

11 & @& And sign | | vertical bar ~ @: Tilda ` .’ accent ++ plus < \"k Less than วรรคหน้า - หลงั > .1 Greater than วรรคหนา้ - หลัง = .k equal sign วรรคหนา้ - หลัง ≠ /.K Not equal sign วรรคหนา้ - หลงั 1.4 วิธีการเขยี นอักษรเบรลลภ์ าษาอังกฤษ 1. ใชจ้ ุด 6 นาหน้าคาที่ขึ้นต้นดว้ ยอักษรพิมพ์ใหญ่ เชน่ Bangkok ,Bangkok 2. ใชจ้ ุด 6, 6 นาหนา้ คาทเี่ ขียนด้วยอกั ษรพิมพใ์ หญท่ ัง้ คา เชน่ ESCAP ,,escap 3. ใช้จุด 6 นาหน้าอักษรพิมพ์ใหญ่ในคาที่มีทั้งอักษรพิมพ์ใหญ่และอักษรพิมพ์เล็กอยู่ใน คาเดียวกัน เชน่ - MacDONALD ,mac,,Donald - ABbyy ,a,bbyy 4. ใช้จุด 5,6 นาเพือ่ แสดงว่าตวั อกั ษรทีต่ ามมาไม่ใช่ตวั ยอ่ แตเ่ ปน็ อกั ษรตัวเดยี ว เช่น a, b, c, d a1 ;b1 ;b1 ;d 5. กรณีท่ีเป็นอักษรเด่ียวพิมพ์ใหญ่มีสัญลักษณ์ Capital จุด 6 นาอยู่แล้วจึงไม่ จาเป็นตอ้ งใช้จุด 5, 6 นา หลกั การเบื้องตน้ ในการเขยี นอกั ษรเบรลล์ภาษาอังกฤษระดับ 2 การเขียน อา่ น อกั ษรเบรลลร์ ะดบั 2 จะอยใู่ นรปู ของการยอ่ คา โดยมีหลักการเบ้ืองต้น ดังน้ี กฎข้อท่ี 1 คาท่มี กี ารย่อคาทั้งคาดว้ ยอกั ษร A – Z อกั ษรภาษาอังกฤษ คา อกั ษรเบรลล์ยอ่ b B But c d C Can D Do

12 E every e F From f G Go g H Have h J Just j K knowledge k L Like l M more m N Not n P people p Q quite q R rather r S So s T That t U Us u V Very v W Will w X It x Y You y Z As z ตวั อยา่ ง Do you like it? ,d y l X8 กฎข้อท่ี 2 คาท่ีมีการย่อได้เฉพาะคาท่ีอยู่ข้างหน้าคา ถ้าคาน้ันอยู่ส่วนอ่ืนของคาจะไม่มีการย่อ ไดแ้ ก่คาวา่ com ใช้ย่อด้วย - con ใชย้ อ่ ดว้ ย 3 ตัวอยา่ ง computer -puter กฎข้อท่ี 3 คาท่ีมีการย่อได้เฉพาะคาท่ีอยู่ข้างหน้า ข้างหลังของคา ถ้าคานั้นอยู่ส่วนอื่นของคาจะ ไม่มีการย่อไดแ้ กค่ าวา่ en ใช้ยอ่ ดว้ ย 5 in ใชย้ อ่ ด้วย 9 ตัวอยา่ ง Invent 9vent กฎข้อท่ี 4 คาทม่ี กี ารยอ่ ไดเ้ ฉพาะคาทอี่ ยขู่ ้างหลังของคา ถา้ คานน้ั อยสู่ ว่ นอ่ืนของคาจะไม่มี การยอ่ ได้แกค่ าวา่ tion ใช้ยอ่ ด้วย ;n ation ใชย้ ่อด้วย ,n stion ใชย้ อ่ ด้วย .n

13 ally ใชย้ อ่ ด้วย ,y ity ใช้ย่อดว้ ย ;y ตวั อยา่ ง station /,n exprestion expre.n usually usu,y city c;y กฎข้อที่ 5 คาวา่ to จะใช้ตัวยอ่ แต่ตอ้ งเขยี นตดิ กับคาตอ่ ไป ยกเว้น too ไมม่ กี ารย่อ ตวั อยา่ ง to me 6me กฎขอ้ ที่ 6 คาเฉพาะจดุ ที่มี 5 นา (ตอ้ งจาคาเหลา่ น้ันเอง) ตัวอยา่ ง father \"f through \"? รหัสอกั ษรเบรลล์คณติ ศาสตร์ รหัสอักษรเบรลล์คณิตศาสตร์ในคู่มือเล่มน้ีอ้างอิงจาก The nemeth Braille code for mathematics and science notation ซึ่งเป็นมาตรฐานท่ีใช้กันแพร่หลายทั่วโลก การนาเอกสารฉบับน้ี มาใช้อ้างอิงในการเขียนคู่มือ จะทาให้คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นและผู้เก่ียวข้อง ใช้รหัสทาง คณิตศาสตร์ไดอ้ ย่างถูกต้องและเป็นมาตรฐานเดียวกันท่ัวประเทศ โดยมีรายละเอยี ดดังต่อไปน้ี ตวั เลขและเคร่ืองหมายที่ใชแ้ สดงตวั เลข 1. เครื่องหมายนาเลข # 2. ตวั เลข มี 2 แบบ แบบที่ 1 ตัวเลขที่ใช้โดยท่ัวๆ ไป ประกอบด้วยกลุ่มของจุด 1 2 4 5 โดยมีเคร่ืองหมายนาเลข # อย่ขู ้างหนา้ 1 234567890 #a #b #c #d #e #f #g #h #i #j แบบท่ี 2 ตวั เลขทีใ่ ชใ้ นวิชาคณิตศาสตร์ ประกอบด้วยกลุ่มของจุด 2 3 5 6 โดยมีเครื่องหมายนา เลข # อย่ขู า้ งหนา้ 1 234567890 #1 #2 #3 #4 #5 #6 #7 #8 #9 #0 ตัวอย่างการเขียนจานวนตา่ งๆ จานวนที่มี 1 หลกั 1 234567890 #1 #2 #3 #4 #5 #6 #7 #8 #9 #0

14 จานวนทม่ี ี 2 หลัก 10 29 37 48 56 #10 #29 #37 #48 #56 จานวนที่มี 3 หลกั 100 379 462 851 907 #100 #379 #462 #851 #907 จานวนทต่ี ัวเลขมากวา่ 3 หลัก ใชเ้ ครอ่ื งหมาย จุลภาค ( , ) จดุ 6 ( , ) ค่นั ทุกสามหลกั ตัวอยา่ ง 8,169 25,473 807,943 5,194,000 #8,169 #25,473 #807,943 #5,194,000 ตัวเลขไทยทว่ั ไป ใชจ้ ุด 6 นาหนา้ เครือ่ งหมายนาเลข ๑๒๓๔๕ ,#a ,#b ,#c ,#d ,#e ๖๗๘๙๐ ,#f ,#g ,#h ,#i ,#j ตัวเลขไทย ในวชิ าคณติ ศาสตร์ ๑๒๓๔๕ ,#1 ,#2 ,#3 ,#4 ,#5 ๖๗๘๙๐ ,#6 ,#7 ,#8 ,#9 ,#0 เคร่อื งหมายแสดงการดาเนนิ การและการเปรยี บเทยี บ เครื่องหมายบวก + สัญลักษณ์ + ตวั อยา่ ง 20 + 30 #20+30 320 + 15 #320+15 เครื่องหมายลบ - สญั ลักษณ์ - ตัวอย่าง 5,150 – 1,834 #5,150-1,834 เครอ่ื งหมายคูณ  สญั ลกั ษณ์ @* ตวั อยา่ ง 14 X 9 #14@*9 ... ... สญั ลักษณ์ * ตวั อย่าง 14  9 #14*9 เคร่ืองหมายหาร  สัญลักษณ์ ./ ตวั อย่าง 75 ÷ 5 #75./5 เคร่อื งหมาย = สัญลักษณ์ .k ตวั อย่าง 100 + 29 = 129 #100+29 .k #129

15 อักษรเบรลลภ์ าษาไทยระดบั 1 อักษรเบรลล์ภาษาไทย ดัดแปลงมาจากอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษ โดยใช้อักษรที่ออกเสียง คล้ายกันเป็นหลักในการกาหนดอักษรเบรลล์ไทย นอกจากน้ี ยังได้กาหนดอักษรเบรลล์เพิ่มเติม เพ่ือให้มี อักษรเบรลลภ์ าษาไทยทงั้ พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเครื่องหมายวรรคตอนอยา่ งครบถ้วน อักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ 1 หมายถึง การเขียนข้อความตามรูปแบบของการเขียนปกติทั่วไป โดยอักษรเบรลล์ภาษาไทยกาหนดให้วางพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ อยู่ในบรรทัดเดียวกัน อักษร เบรลล์ภาษาไทยประกอบด้วยพยญั ชนะและสระ ดังนี้ พยัญชนะไทย กขฃคฅฆง จ G K 0k U -u ,u ] j ฉ ช ซฌญฎ ฏ ฐ / + ! ,+ ,y ,D ,\\ ,T ฑฒณด ต ถ ท ธ ,) -) ,N D \\ T ) 0) น บ ป ผ ฝพฟภ N V & P X ? $ ,? มย ร ล ว ศษส M Y R L W ,S -S S หฬอฮ H ,L O = พยัญชนะไทยแยกตามเสยี งและรูปเบรลล์เซลล์ ก ตฏ ม M G \\ ,\\ ร R ขฃ ถฐ ลฬ L ,L K 0k T ,T ว W คฆ ฅ ท ฑ ฒธ u ,u -u ) ,) -) 0) ง นณ N

16 ] ,N ส ศษ จ บ j V S ,S -S ฉ ป ห / & ชฌ ผ H + ,+ P ซ ฝ อ ! X ยญ พภ O Y ,y ? ,? ดฎ ฟ ฮ D ,D $ = สระในภาษาไทย จัดเรียงตามคเู่ สยี งส้ันและเสยี งยาวเพอื่ ให้สามารถจาได้ง่าย อะ อา อิ อี อึ ออื อุ อู 5 c3 a*b2 [ โอ เอาะ ออ เอะ เอ แอะ แอ โอะ i oa o fa f <a < ia เออื อวั ะ อัว Q ea e เออะ เออ เอยี ะ เอีย เออื ะ ฤๅ ฦ ฦๅ %a % (a ( Qa r1* l1 l1* อา ไอ ใอ เอา ฤ Z : :1 6 r1 วรรณยุกต์

17 วิธีการเขยี น / พมิ พ์อักษรเบรลลภ์ าษาไทย 1. การเขียน และพิมพ์ อักษรเบรลล์ภาษาไทย เรียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ตามลาดับ ดังนี้ 1.1 สระ เ-, แ-, โ-, ใ- ไ-, วางไว้หนา้ พยัญชนะ ตวั อย่าง เกบ็ แตง โม ให้ ได้ Fg'v <\\] im :1h4 :d4 1.2 สระ -ะ, ิ-, ี-, ึ- , ื-, - ุ, - ู , เ-ะ , แ-ะ, โ-ะ, วะั , -วั, -ำ, เ-อะ, เ-อ,เ - ยะ, เ - ย, เ - อะ, เ - อ, เ-า, ฤ, ฤา และสระ -ะ ท่เี ปลย่ี นรปู เป็น ไมห้ ันอากาศ (- ) วางไว้หลังพยญั ชนะ ตัวอย่าง มะลิ ชี ผ้งึ ต่นื ดุ ปู ผวั ะ ววั กา malb +2 p[4] \\59n dc &3 pea we gz 1.3 สระ -า, -อ, และ (อัว ที่ลดรูปเปน็ ว) วางไวห้ ลงั วรรณยกุ ต์ ตัวอยา่ ง บ้าน พอ่ ชว่ ย V4*n ?9o +9wy 1.4 คาท่ีใชส้ ระ เออ 1.4.1 สระ เออ ทีเ่ ปลยี่ นรปู เปน็ เ-ิ และตามด้วยตัวสะกด หรือ เ-อ ท่ีไม่มีตัวสะกด ให้ใช้ สระ เ-อ ตัวอย่าง เชงิ เปิง เจมิ เดิม เชดิ +%] &%] J%m D%m +%d เบิก เลิก เติบ เนบิ เกิน V%g L%g \\%v N%v G%n เธอ เสนอ เสมอ เก้อ เนน่ิ 0)% Sn% Sm% G%4 N%9N

18 1.4.2 สระ เ-อ ทมี่ ีรูปเป็น เ-อ ตามดว้ ยตวั สะกด เขยี นเหมอื นอกั ษรปกติ ตวั อย่าง เทอญ เทอม เคอย (กะปิ) f)o,y f)om fuoy 1.4.3 คาทอ่ี อกเสยี ง สระ เ-อ โดยมี ย เป็นตวั สะกด ให้เขียนเหมอื นอกั ษรปกติ ตัวอยา่ ง เกย เตย เมย) fgy f\\y fmy เชย เฉย เคย F+y f/y fuy ** ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก คู่มือมาตรฐาน การใช้อักษรเบรลล์ กองทุนส่งเสริมและ พฒั นาการใชอ้ กั ษรเบรลลแ์ หง่ ชาติ การสรา้ งความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว (Orientation and Mobility: O&M) การฝึกทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม (Orientation Skills) เป็นทักษะท่ีสาคัญ หมายถึงการท่ีคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นรู้ว่าตนเองอยู่ที่ใดในขณะน้ัน และกาลังจะไปไหน ไปได้ อย่างไร ในคนท่ัวไปจะใช้การเห็นรวบรวมข้อมูล แต่คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นต้องใช้ประสาท สัมผสั สว่ นท่ีเหลอื เชน่ การไดย้ นิ การดมกลิ่น การสัมผัส มาช่วยจดจาสภาพแวดล้อมน้ันๆ ส่วนคนท่ีสายตา เลือนรางจะใชก้ ารมองเหน็ ทีเ่ หลืออยู่ให้เกดิ ประโยชน์ในการสร้างความคนุ้ เคยกบั สภาพแวดล้อม หลกั การฝึกทกั ษะการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมทั่วไป (Orientation Skill) การฝึกทักษะการใช้ไม้เท้าได้อย่างถูกต้อง ช่วยให้คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นเคล่ือนที่และ เดนิ ทางไดอ้ ย่างปลอดภัย แต่ไมช่ ่วยให้เขาทราบว่า ขณะนั้นเขาอยู่ท่ีไหนและกาลังจะไปแห่งใด ด้วยเหตุนี้ จงึ จาเป็นอยา่ งย่ิงท่ีเขาจะต้องพัฒนาทักษะด้านการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม เพราะเป็นทักษะ ท่จี ะช่วยให้เขาทราบว่าเขาอยู่ ณ จุดใด มีความสัมพันธ์กับส่ิงต่างๆ รอบตัวเขาในขณะน้ันอย่างไร เมื่อคน ทั่วไปต้องการทราบว่าตนเองอยู่ท่ีไหน สามารถมองดูด้วยตาได้ แต่สาหรับคนท่ีมีความบกพร่องทางการ เหน็ จะตอ้ งใชป้ ระสาทสัมผสั ต่างๆ ช่วย ซ่ึงไดแ้ ก่ การฟัง การสมั ผัส และการดมกล่นิ คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นที่พยายามฝึกใช้ประสาทสัมผัสท่ีเหลืออยู่มากเพียงใด จะทาให้ เขาทราบวิธีท่ีจะทาความคุ้นเคยกับส่ิงรอบๆ ตัวเขาได้มากเพียงใดน้ัน และวิธีหน่ึงท่ีจะช่วยให้เขาคุ้นเคย กบั สภาพแวดล้อมใหมๆ่ กค็ อื การช่วยเหลอื ของคนทมี่ กี ารเหน็ ปกติ (ผู้นาทาง) ตามวธิ ตี อ่ ไปน้ี ผู้นาทางพาคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นเดินไปตามสถานที่ท่ีต้องการหลายๆ ครั้ง ด้วย วิธีการเดินทางกับผู้นาทางท่ีถูกต้อง ขณะเดินทางไปด้วยกัน ผู้นาทางควรบอกท่ีสังเกตต่างๆ ให้คนที่มี ความบกพรอ่ งทางการเหน็ ทราบ เพ่อื ใหเ้ ขาเกดิ ภาพหรอื แผนท่ีสมอง (Mental map) ของบริเวณน้ัน

19 ต่อจากนั้นใหค้ นท่มี ีความบกพร่องทางการเห็นหดั เดินไปเองโดยใช้ไม้เท้า แต่ผู้นาทางตามไปด้วย ขณะเดิน คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นควรบรรยายรายละเอียด และตอบคาถามเกี่ยวกับสถานที่เพื่อ เปน็ การทบทวนความจาของตนเองไปด้วย หลังจากนั้นคนที่มีความบกพร่องทางการเห็นควรเดินทางไปเองอย่างอิสระ โดยมีผู้นาทางตาม สังเกต เพ่ือใหแ้ นใ่ จว่าเขาไม่มปี ญั หาใดๆ แลว้ การฟงั (Hearing) การฟงั เสยี งมคี วามสาคัญตอ่ คนท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ มาก เน่อื งจากเป็นประสาทสัมผัสที่ จาเป็นมากทส่ี ดุ โดยใช้เสียงต่างๆ เป็นจุดสังเกตท่ีสาคัญ เช่น เสียงสัตว์เล้ียง เสียงยวดยานต่างๆ ท่ีแล่นไป มาเสยี งน้าไหล เสียงเล่นของเดก็ ๆ และเสียงสวดมนตข์ องพระตามวดั เปน็ ตน้ คนทม่ี คี วามบกพร่องทางการเห็นจะเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ด้วยการฟัง เม่ือได้ยินเสียงควรทราบ ได้ทันทีว่าเป็นเสียงอะไร จากทางทิศไหน และจะเป็นประโยชน์ต่อตนอย่างไร คนท่ีมีความบกพร่องทาง การเห็นสว่ นใหญจ่ ะใช้ประสาทการฟงั มากกว่าประสาทส่วนอืน่ ๆ ทัง้ หมด ดงั นั้นเขาควรมคี วามสามารถทีจ่ ะ รับรู้เสียงไดเ้ ร็ว (ฉันได้ยนิ เสยี ง) แยกเสยี งต่างๆ ไดว้ า่ เปน็ เสยี งของอะไร (เป็นเสียงคน สัตว์ ฯลฯ) รู้ทิศทางของเสยี ง (เสียงมาจากทางทิศไหน) การสัมผสั (Touch) การสัมผสั กบั วัตถตุ า่ งๆ มปี ระโยชนท์ ช่ี ่วยใหเ้ กดิ ความคุน้ เคยกบั สภาพแวดล้อมดยี ่ิงขนึ้ เช่น การที่ คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นแกว่งไม้เท้าไปสัมผัสกับส่ิงต่างๆ ขณะเดิน จะทาให้เขาทราบว่า ทางเดิน ขา้ งหน้ามสี ่ิงกีดขวางหรอื ไม่ เท้าเป็นอวยั วะสมั ผัสท่ีรับรู้ได้ดีเช่นกัน คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นที่อยู่ ตามชนบทยอมรับว่า เขาสามารถเดินทางได้ง่ายถ้าไม่สวมรองเท้า ท้ังนี้เพราะเขาจะทราบได้ทันทีเม่ือเดิน เฉไปบนหญ้า ไม่มีดินหรือหินบนทางที่เขากาลังเดินอยู่ ซ่ึงคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นควรมีความรู้ เกย่ี วกับสง่ิ ตอ่ ไปนี้ ลกั ษณะของพน้ื ผิว และอุณหภมู ิ (ขรุขระ / เรยี บ ออ่ น / แข็ง ร้อน / เย็น) ขอ้ แตกตา่ งของวตั ถุตา่ งๆ (ผา้ ไหม ผ้าฝาู ย ผ้าขนสตั ว์) เปรยี บเทียบขนาด นา้ หนัก และรปู รา่ งได้ (หนกั /เบา เล็ก/ใหญ่ กลม/เหลี่ยม/สามเหลี่ยม/ รูปกรวย/รูปลูกบาศก์ หน่ึงกโิ ลกรมั และครง่ึ กโิ ลกรัมเปน็ ต้น) การดมกลิน่ (Smell) ประสาทการดมกล่ินสามารถให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลอ่ื นไหวของคนทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ ไดเ้ ช่นเดยี วกัน กลิ่นไม่ได้มีประโยชน์เพียงให้คนที่ มีความบกพร่องทางการเห็นเดินไปหาเท่าน้ัน ยังเป็นประโยชน์ในการท่ีจะหลีกเล่ียงบริเวณน้ันด้วย เช่น กอง ขยะคนทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ ควรมีความสามารถ ดงั ตอ่ ไปน้ี รบั รกู้ ลนิ่ ไดเ้ รว็ สามารถแยกแยะและจากลนิ่ ของสง่ิ ตา่ งๆ บอกทม่ี าของกล่ินได้

20 การหันทิศทางและการคาดคะเนระยะทาง (Improving turns, reaction, and distance awareness) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็นจะเคลื่อนไหวได้คล่องตัวยิ่งขึ้น ถ้ามีความเข้าใจเก่ียวกับ ทศิ ทาง มีการหนั ทิศทางได้อยา่ งถกู ต้องและรวดเร็ว ตลอดจนการคาดคะเนระยะทางไดอ้ ยา่ งแมน่ ยา เม่อื ตอ้ งบอกทางใหก้ ับคนท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ ควรอธบิ ายแบบเฉพาะเจาะจง เช่น “อยู่ ด้านหนา้ ของคณุ ” ไมใ่ ช่ชม้ี อื ไปแล้วบอกว่า “อยู่ที่น่ัน” จะไม่มีประโยชน์อะไรเลยต่อคนที่มีความบกพร่อง ทางการเห็นเพราะเขามองไม่เห็นเหมือนคนทั่วไป ดังนั้นเขาจึงไม่สามารถรู้ได้ว่าผู้ที่กาลังบอกน้ันช้ีไปใน ทศิ ทางใด เครอ่ื งหมายถาวร (Landmarks) เคร่ืองหมายถาวรช่วยคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นไม่ให้หลงทาง อาจเป็นอะไรก็ได้ เช่น สิ่งของต่างๆ เสียงและกลิ่น ซึ่งอยู่ ณ ท่ีใดท่ีหน่ึงอย่างถาวร ท่ีคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นหาได้ง่าย เช่น ต้นมะม่วงท่ีขึ้นใกล้ๆ กับประตูรั้วถือเป็นเครื่องหมายถาวร เพราะมันอยู่ที่น่ันตลอดไปและหาได้ง่าย จงึ ควรชว่ ยแนะนาใหค้ นที่มีความบกพรอ่ งทางการเห็นรู้จักเครื่องหมายถาวรที่สาคัญๆ ในบริเวณท่ีเขาต้อง เดินทางอยู่เสมอ เช่น ถนนบริเวณท่ีชันขึ้นหรือลาดลง ถนนลูกรัง ก้อนหินใหญ่ ท่อน้า ประตูรั้วและรั้วเป็น ตน้ เครือ่ งหมายชว่ั คราว (Clues) เคร่ืองหมายชวั่ คราวคลา้ ยกับเครื่องหมายถาวร แต่มีอยู่เพียงชั่วคราวเท่าน้ัน เช่น เสียงเด็กๆ เล่น วอลเลย์บอลในสนาม ถือเป็นเครื่องหมายช่ัวคราว เพราะพวกเด็กๆ ไม่ได้เล่นอยู่ในสนามตลอดเวลา แต่ เครื่องหมายช่ัวคราวก็ช่วยให้คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นรู้ว่า ขณะนี้เขาไปที่ใดและเขาจะหลีกเล่ียง ส่งิ กีดขวางต่างๆ ได้อยา่ งไร และถา้ เขาหลงทาง เครอ่ื งหมายชว่ั คราวต่างๆ เหลา่ นีจ้ ะช่วยให้เขาจาทางได้

21 การเคล่อื นไหว (Mobility) การเดนิ ทางกับผนู้ า (Walking with a sighted guide) คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นและสมาชิกในครอบครัว ต้องเรียนรู้เทคนิคและวิธีการต่างๆ ท่ี จะเดินกับผู้นาทางอย่างถูกต้อง ทั้งน้ีเพ่ือช่วยให้เขาสามารถเดินทางไปกับผู้นาทางได้อย่างรวดเร็วและ ปลอดภยั ทกุ ครั้งท่ีคนที่มคี วามบกพร่องทางการเห็นจะเดนิ ทางไปกบั ผนู้ าทาง จงึ ควรใช้วธิ ีดงั ต่อไปนี้ 1. ผู้นาทางยืนข้างๆ ผู้ที่บกพร่องทางการเห็นหันหน้าไปทางเดียวกันและเพ่ือเป็นการบอกให้ ทราบว่าพร้อมที่จะนาทางแล้ว ใช้หลังมือของตนแตะหลังมือของคนที่มีความบกพร่องทางการเห็นเบาๆ ด้วยมือขวา หรือมือซ้ายก็ได้ตามความต้องการท่ีจะให้คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นเดินข้างขวาหรือ ขา้ งซ้ายของตน ด้วยวิธีนี้คนท่ีมคี วามบกพร่องทางการเหน็ จะทราบว่าผูน้ าทางของตนยืนอยู่ทีใ่ ด 2. คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นจะเล่ือนหลังมือไปตามแขนของผู้นาทางจนถึงข้อศอก แล้ว จบั เหนือข้อศอกของผู้นาทาง ให้หัวแมม่ อื อยดู่ า้ นนอก สว่ นน้ิวทเี่ หลอื อยดู่ ้านใน การจับควรให้แน่นพอเพื่อ ไม่ใหห้ ลุดขณะเดิน แต่ตอ้ งไม่แน่นจนเกินไป เพราะจะทาใหผ้ ้นู าทางราคาญ 3. คนท่ีมคี วามบกพร่องทางการเห็นควรแนบข้อศอกกับลาตัวตามปกติ เพื่อกันไม่ให้เขาเดินเฉไป ทางซ้ายหรือขวา เดินอยหู่ น้าหรือร้ังหลงั ขณะทเี่ ดินไปกับผู้นาทาง 4. คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นจะอยู่เยื้องผู้นาทางไปข้างหลังครึ่งก้าว ไหล่ตรงกัน การเดิน ในลกั ษณะนี้จะทาให้ผนู้ าทางทราบอยตู่ ลอดเวลาว่า คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นตามหลังตนในลักษณะ ใด

22 5. เทคนิคเบ้ืองต้นนี้ควรใช้อย่างถูกต้องทุกครั้ง เมื่อคนที่มีความบกพร่องทางการเห็นเดินทางไป กับผู้นาทางเพราะไม่เพียงแต่จะทาให้ปลอดภัยเท่านั้น แต่ยังทาให้คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นเดิน ตามผู้นาทางได้อย่างสะดวกขณะเดินทางไปด้วยกัน ผู้นาทางไม่จาเป็นต้องบอกคนที่มีความบกพร่อง ทางการเห็นทกุ คร้ัง เวลาจะขึ้นหรอื ลงบันได เวลาจะเล้ยี วหรือเวลาจะหยุด แต่ควรจะชวนคุยหรือพูดถึงสิ่ง ต่างๆ ที่น่าสนใจในขณะนั้น การเดินผ่านสถานที่แคบ (Narrow spaces) เม่ือผู้นาทางและคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นจะต้องเดินผ่านทางเดินแคบๆ ซ่ึงไม่สามารถ เดนิ ไปพรอ้ มกันได้ จะตอ้ งใช้วิธีพเิ ศษโดยเดินเรยี งหน่ึง คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นต้องตามหลังผู้นา ทาง โดยมีวิธปี ฏิบตั ิ ดงั นี้ - เมื่อมาถึงทางแคบ ผ้นู าทางจะต้องให้สัญญาณคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นโดยเหยียดแขน ขา้ งทค่ี นทม่ี ีความบกพร่องทางการเหน็ จับให้เต็มท่ี และไพล่ไปข้างหลัง เมื่อได้รับสัญญาณ คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นจะทราบทันทีว่ากาลังจะเดินผ่านทางแคบ เขาจะตอบสนองโดยเหยียดแขนข้างทจี่ ับผนู้ าทาง พรอ้ มกบั ถอยหลงั ท้งิ ระยะห่างผนู้ าทาง 1 ก้าว ด้วยวิธีนี้ คนทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเห็นจะเดนิ ผา่ นทางแคบตามผู้นาทางได้อยา่ งสบาย เม่ือผูน้ าทางและคนท่มี คี วามบกพร่องทางการเห็นผ่านทางแคบแล้ว เขาท้ังสองจะกลับมาเดินใน ตาแหน่งเดิม โดยแขนผู้นาทางจะกลับมาแนบไว้ข้างลาตัว ส่วนคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นจะเดิน เยอ้ื งไปขา้ งหลงั ครึ่งกา้ วตามเดิม ข้อควรจา ขณะเดินผ่านที่แคบ คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นจะต้องเดินตามหลังและห่างจากผู้นา ทางหน่งึ กา้ ว

23 การขน้ึ บนั ได (Going upstairs) 1. ผู้นาทางหยุดที่เชิงบันได คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นหยุดเดินตาม และยืนหลังผู้นาทาง ครงึ่ ก้าว 2. ผู้นาทางบอกให้คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นทราบว่า เดินมาถึงเชิงบันไดแล้ว และบอก ดว้ ยว่ามรี าวบนั ไดหรือไม่ เพราะถ้าคนท่มี ีความบกพร่องทางการเห็นจับราวบันไดขณะข้ึน จะรู้สึกสบายใจ โดยเฉพาะอย่างย่ิงคนสูงอายุ 3. ขณะท่ีผู้นาทางก้าวข้ึนบันไดก้าวแรก คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นจะก้าวตามครึ่งก้าว เพอ่ื ให้ปลายเทา้ สมั ผสั กับขอบล่างของขน้ั บันได ซ่งึ จะทาใหเ้ ขาทราบช่วงของขน้ั บันได 4. คนทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ ก้าวตามขนั้ บันได โดยอยตู่ ่ากว่าผนู้ าทาง ผู้นาทางไม่ควรหยุด รอคนทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางการเห็น ควรกา้ วนาขน้ึ ไปตามปกติ 5. ขณะก้าวข้ึนบันได ทั้งสองควรโน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย เพื่อให้น้าหนักตัวตกอยู่ด้านหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่น้ิวเท้า ซึ่งเป็นเร่ืองธรรมดาที่คนทั่วๆ ไปทาได้โดยธรรมชาติอยู่แล้ว ท่ีต้องทาเช่นน้ี เพราะถ้าเกดิ ล้มจะลม้ ไปทางดา้ นหนา้ ซ่งึ มอี นั ตรายนอ้ ยกว่าหงายหลงั ตกลงมา การลงบนั ได (Going downstairs) 1. เม่ือผู้นาทางพาคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นมาถึงขอบบันไดควรหยุดก่อน คนท่ีมีความ บกพร่องทางการเหน็ จะหยดุ ตาม และอยหู่ ่างทางดา้ นหลงั ครึ่งกา้ ว 2. ผูน้ าทางบอกคนท่มี คี วามบกพร่องทางการเห็นให้ทราบว่า กาลังจะลงบันได ถ้ามีราวบันได ให้ คนท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ จบั ด้วย จะลงได้อย่างสะดวก 3. เม่ือผู้นาทางก้าวลงบันไดขั้นแรก คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นจะเลื่อนเท้าตามประมาณ คร่งึ กา้ วจนปลายเทา้ แตะขอบบันได เพอ่ื ให้ทราบตาแหน่งและระยะของข้นั บันได 4. คนท่ีมีความบกพร่องทางการเหน็ กา้ วลงบันไดตามผู้นาทางโดยอยหู่ ลงั หนึง่ ขั้น 5. ขณะก้าวลงบนั ได ทง้ั สองควรเอนตัวไปข้างหลังเล็กน้อย เพ่ือให้น้าหนักตัวตกลงด้านหลัง คือที่ ส้นเทา้ เป็นสงิ่ ท่ปี ฏบิ ตั กิ นั ทั่วๆ ไป เวลาลงบันไดเช่นเดียวกัน ทั้งนี้เพราะเวลาเสียหลักจะล้มหงายหลัง ซ่ึง เปน็ อันตรายนอ้ ยกวา่ ลม้ ด้านหน้า 6. เมื่อผู้นาทางลงถึงพื้น คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นจะทราบได้โดยสังเกตจากระดับของ ผู้นาทาง เมอ่ื เขากา้ วลงอกี หน่ึงก้าวจะถึงพนื้ เชน่ เดยี วกัน

24 การนงั่ เก้าอี้ (Sitting on the chair) การนัง่ จากทางด้านหน้าของเกา้ อี้ 1. ผ้นู าทางพาคนท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการเห็นเขา้ ทางดา้ นหน้าเกา้ อี้ 2. ผู้นาทางจับมือคนที่มีความบกพร่องทางการเห็นไปแตะท่ีขอบพนักเก้าอ้ี เพื่อให้เขาทราบที่ต้ัง เกา้ อี้ 3. เมื่อคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นปล่อยมือจากผู้นาทาง เขาจะใช้มืออีกข้างหนึ่งท่ีว่าง สารวจเก้าอ้ีว่าว่างและแข็งแรงพอที่เขาจะนั่งหรือไม่ โดยกวาดมือจากขอบด้านหลังไปด้านหน้า และจาก ขอบด้านซา้ ยไปด้านขวา ซง่ึ ทาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 4. ขณะมืออีกข้างหน่ึงยังคงจับอยู่ที่พนักเก้าอ้ี หมุนตัวกลับและถอยหลัง จนขาด้านหลังท้ังสอง ชนขอบเก้าอี้ด้านหน้า 5. คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นน่ังลง ในขณะที่มือยังจับอยู่ที่พนักเก้าอ้ี เพื่อกันไม่ให้เก้าอ้ี เคลอ่ื นท่ี ส่วนมืออกี ขา้ งหนงึ่ จบั ทขี่ อบด้านขา้ ง เพ่อื กะระยะว่าน่ังกลางท่นี ่งั หรอื ไม่ การนง่ั จากทางดา้ นหลังของเกา้ อี้ 1. ผู้นาทางพาคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นมาท่ีเก้าอี้ แล้วให้เขาจับบนขอบพนักเก้าอ้ี ดา้ นหลงั 2. เมอ่ื ปล่อยมอื จากผูน้ าทางแลว้ เขาจะใชม้ อื แตะลงทางพนักเก้าอ้ี เพ่ือสารวจว่าว่างและแข็งแรง พอทจ่ี ะนงั่ หรอื ไม่ 3. เม่อื สารวจแลว้ เขาจะเดินเบี่ยงไปทางด้านหน้า โดยไม่ปลอ่ ยมอื ทจ่ี ับพนกั พิงอยู่ 4. ต่อจากนั้นเขาจะค่อยๆ เลื่อนตัวไปจนขาด้านหลังทั้งสองข้างแตะกับส่วนของเก้าอ้ีด้านหน้า แล้วจงึ นั่ง ขณะนงั่ มือยังคงยึดพนักเกา้ อไ้ี วต้ ามเดิมกันเคล่ือนท่ี ส่วนมืออีกข้างหน่ึงจับท่ีขอบเก้าอ้ีด้านข้าง เพอ่ื ให้แนใ่ จว่าน่ังกลางทีน่ งั่ พอดเี ช่นเดยี วกัน

25 การนง่ั เก้าอ้ีท่โี ตะ๊ (Sitting at a table) การนง่ั เกา้ อท้ี โ่ี ตะ๊ ใชเ้ ทคนคิ เดยี วกบั การน่งั เก้าอ้ีทางด้านหนา้ แต่ปฏบิ ัติเพม่ิ เตมิ ดังน้ี 1. คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นจะต้องเลื่อนเก้าอี้ออกจากโต๊ะก่อน เพ่ือให้สามารถยืน ด้านหนา้ เกา้ อีก้ อ่ นนัง่ ได้ 2. เมื่อน่ังแล้วต้องสารวจว่า นั่งตรงโต๊ะหรือไม่ โดยใช้มือทั้งสองแตะท่ีขอบโต๊ะ แล้วเลื่อนไปมา เบาๆ ทางซ้ายและขวา การเดินตามลาพังโดยไม่ใช้ไม้เท้าหรือผู้นาทาง (Walking alone without a cane or sighted guide) เมื่อคนที่มีความบกพร่องทางการเห็นอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีคุ้นเคย เขาจะไม่ใช้ไม้เท้าหรือผู้นา ทางแต่จะใช้เทคนิคต่างๆ เพื่อหลีกเล่ียงไม่ให้เดินชนสิ่งของ ซ่ึงอาจทาให้ตนได้รับบาดเจ็บได้ โดยอาจใช้ วธิ ีการ ดงั น้ี การเดินเลาะแนว (Trailing) การเดินเลาะแนว คอื การใชห้ ลังมอื เลาะไปตามผนัง ขอบโต๊ะหรือสิ่งต่างๆ ท่ีมีลักษณะคล้ายผนัง วิธนี จ้ี ะชว่ ยใหค้ นทีม่ ีความบกพร่องทางการเห็น เดนิ ได้ตรงและรับรู้ในสิ่งท่สี ัมผัส เป็นวิธีท่ีสะดวก นักเรียน ชอบใช้เม่ือเขาตอ้ งการเดินทางจากห้องหนึ่งไปยงั อีกหอ้ งหน่ึง ภาพการเลาะแนว

26 การใชม้ อื และปลายแขนป้องกนั ส่วนบน ( Upper hand and forearm) เทคนิคน้ีใช้ปูองกันบริเวณหน้าอกและศีรษะ ไม่ให้ชนกิ่งไม้ท่ีอยู่ต่าๆ ฝาตู้ที่เปิดท้ิงไว้และสิ่งต่างๆ ทีอ่ ยูใ่ นลักษณะเดยี วกนั เทคนคิ นี้สามารถใชไ้ ด้เพียงอยา่ งเดยี ว หรือจะใช้ร่วมกับเทคนิคการปูองกันตนเอง วธิ ีอ่นื ๆ ดว้ ยกไ็ ด้ 1. ยกมอื ซา้ ยหรือมือขวาขึน้ ระดับไหล่ 2. ใหข้ ้อศอกกางออกประมาณ 120 องศา 3. หันฝุามอื ออกและงอไปทางด้านหนา้ เล็กน้อย ภาพการใช้มือและปลายแขนปูองกันตนเอง การใชม้ อื และปลายแขนปอ้ งกนั ส่วนลา่ ง (Lower hand and forearm) วิธีนี้ใช้ปูองกันส่วนล่างระดับเอว บางคนใช้วิธีนี้เพ่ือหาเก้าอ้ีและโต๊ะ หรือเคร่ืองเฟอร์นิเจอร์อื่นๆ มีวิธกี ารดังนี้ 1. เหยียดแขนซา้ ยหรือขวาไปข้างหนา้ ก่ึงกลางลาตัว 2. หันฝาุ มือเข้าหาตวั ปลายนิว้ ห้อยลง 3. ใหแ้ ขนอยู่หา่ งลาตัวไปข้างหน้าประมาณ 10 – 20 เซนตเิ มตร การหาของตก (Locating lost objects) คนท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการเห็นจะใช้ 2 วิธีร่วมกัน เมื่อต้องการหาสิ่งของท่ีตนทาตก โดยเขาจะ ยืนตรงจุดท่ีของตก ฟังเสียงว่าของนั้นกลิ้งหรือกระเด็นไปทางไหน แล้วหันไปทางจุดน้ันเพื่อให้ทราบ ตาแหน่งของตก ต่อจากนั้นเดินไปหยุดตรงจุดที่คิดว่าใกล้ของตกมากท่ีสุด แล้วน่ังคุกเข่าพร้อมกับใช้วิธี ปูองกันส่วนบนเพ่ือกันศีรษะ หรืออาจจะใช้วิธีน่ังคุกเข่าลงตรงๆ ตลอดเวลา ไม่โน้มตัวไปข้างหน้า เมื่อนั่ง อยใู่ นลักษณะดงั กล่าวแลว้ จึงพรอ้ มทจี่ ะหาของตอ่ ไป โดยวธิ ีหาทางดา้ นหน้าใหท้ ัว่ เริ่มจากบริเวณเข่าก่อน ใช้มือลูบเป็นวงกลมแคบๆ แล้วค่อยขยายกว้างข้ึนจนพบของตก ถ้าหากหาทางด้านหน้าไม่พบให้หาทาง ด้านซา้ ยและขวากอ่ น จึงย้ายไปทางดา้ นหลังตอ่ ไป ภาพการหาของตก การหาทศิ ทาง (Direction finding) เมื่อคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นทราบว่า ของส่ิงหนึ่งอยู่ในทิศทางของอีกส่ิงหนึ่ง เช่น อยู่ ทางด้านหน้า ด้านหลัง หรืออยู่ในแนวเดียวกัน เมื่อต้องการจะไปยังสิ่งน้ัน เขาสามารถไปได้โดยใช้วิธีหา

27 ทิศทาง เช่น เมอื่ เขาต้องการจะเดินไปท่ีเตียงนอน ซึ่งเขาทราบว่าอยู่ตรงกับโต๊ะที่อยู่ทางด้านหนึ่งของห้อง เขาจะใช้โต๊ะเปน็ แนวในการเดินไปท่ีเตียงได้โดยง่าย 1. ยืนหนา้ วัตถทุ ่ีตรงกับสิ่งที่ตอ้ งการไปหา โดยให้ด้านหลงั ของขาทง้ั สองแตะกับวัตถุ 2. เดนิ ตรงไปข้างหนา้ และจะไปถงึ สิ่งนั้นตามต้องการ การเดินทางตามลาพงั โดยใชไ้ มเ้ ท้า (Walking by oneself with a long cane) คนที่มีความบกพร่องทางการเห็น รู้จักการเดินทางด้วยตนเองโดยใช้ไม้เท้า หรือไม้ที่มีลักษณะ คล้ายไม้เท้ามาเป็นร้อยๆ ปีแล้ว และเม่ือไม่นานมาน้ีมีผู้คิดค้นเทคนิคใหม่ๆ ในการเดินทาง โดยใช้ไม้เท้า เพื่อให้สะดวกและมีความปลอดภัยมากย่ิงขึ้น เม่ือคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นเรียนเทคนิคต่างๆ ใน การใชไ้ มเ้ ท้าอย่างถูกตอ้ ง เขาจะเดินทางโดยใช้ไม้เทา้ ไดอ้ ยา่ งสะดวกและปลอดภัย 1. ไมเ้ ท้าทจ่ี ะให้คนทม่ี คี วามบกพร่องทางการเห็นใช้จะต้องตรง แข็งแรง ไม่หนักและไม่ใหญ่มาก เกินไป ควรสูงจากพื้นดนิ ระดบั กลางระหว่างไหล่และเอวของคนที่มคี วามบกพร่องทางการเหน็ 2. คนที่มีความบกพร่องทางการเห็น ควรจับไม้เท้า ให้ปลายไม้เท้าอยู่ข้างหน้าห่างจากจุดที่ยืน ประมาณ 1 เมตร 3. การจับไม้เท้าด้วยมือข้างใดแล้วแต่ความถนัด เวลาจับให้น้ิวหัวแม่มืออยู่ด้านบน น้ิวชี้ทาบไป ข้างๆ ตามความยาวของไมเ้ ทา้ สว่ นอีก 3 นิว้ ทเี่ หลอื งอจับด้านล่าง การจับไม้เท้าควรจับหลวมๆ นิ้วช้ีทาบ ไปตามความยาวของไม้เท้า จะช่วยบอกให้คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นทราบตลอดเวลาว่า ขณะนั้น ปลายไมเ้ ทา้ อย่ทู ใ่ี ด 4. ขอ้ ศอกข้างทีถ่ อื ไมเ้ ท้าควรงอเล็กน้อยและอยู่ใกล้ลาตัว ส่วนมืออยู่ด้านหน้ากลางลาตัว เพราะ จะช่วยให้คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นเดินได้เป็นแนวตรงย่ิงขึ้น ถ้าถือไม้เท้าไว้ข้างๆ ลาตัวจะทาให้ เดินไมต่ รงและสา่ ยไปมา 5. การแกว่งไม้เท้าไปข้างหน้า จะทาให้ปลายไม้เท้าอยู่ห่างจากพื้นเพียงเล็กน้อย จึงไม่เป็น อันตรายตอ่ ผอู้ ่ืน เหมอื นกับการถือไม้เท้าใหป้ ลายสงู จากพน้ื 6. การแกว่งไม้เท้าไปมา เคล่ือนไหวเฉพาะข้อมือเท่านั้น แขนจะอยู่น่ิงและควรแกว่งให้ปลายไม้ เท้าแตะพ้ืนข้างหน้า ห่างจากลาตัวไปทางด้านซ้ายและด้านขวาเท่ากัน ถ้าแกว่งมากไปด้านใดด้านหนึ่ง แสดงว่าผิดวิธี 7. ควรแกว่งให้ปลายไม้เท้าแตะพ้ืนและกว้างกว่าลาตัวเล็กน้อย เพื่อให้ปลายไม้เท้าสารวจพื้น ก่อนท่ีเท้าจะก้าวไป เป็นการปูองกันการตกท่อ หรือเตะส่ิงกีดขวางท่ีอยู่ตามทางเดิน ส่วนตัวไม้เท้าจะ ปอู งกนั ขาและบรเิ วณสะเอว 8. ปลายไม้เท้าควรแตะพ้ืนเบาๆ เท่านั้น เพื่อกันไม่ให้ติดพ้ืนเวลาเดิน ไม่ควรแกว่งปลายไม้เท้า กระทบพ้ืนแรงๆ เพราะคนที่มคี วามบกพร่องทางการเหน็ อาจไมส่ ังเกตเวลามีทอ่ หรอื หลุมอยขู่ ้างหน้า 9. ขณะท่แี กว่งไม้เทา้ ไปทางขวา ต้องกา้ วเท้าซา้ ยไปขา้ งหน้า และเมอื่ แกว่งไมเ้ ท้าไปทางซ้าย ต้อง ก้าวเท้าขวาไปขา้ งหน้า สลับกนั ไปตลอด การเดนิ ลกั ษณะนป้ี ลายไมเ้ ทา้ จะสารวจพ้ืนกอ่ นเท้าเสมอ 10. เม่ือไม้เท้ากระทบวัตถุต่างชนิดกัน เสียงจะไม่เหมือนกัน ซึ่งจะทาให้คนที่มีความบกพร่อง ทางการเหน็ ทราบไดว้ า่ เปน็ อะไร

28 ทักษะการดารงชวี ิตของบคุ คลทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการเห็น กิจวตั รประจาวัน (Activities of Daily living) กิจวัตรประจาวัน คือ การปฏิบตั ิทเ่ี ราทาเปน็ ประจาทกุ ๆ วัน เช่น การแต่งตัว การอาบน้า การใช้ ห้องนา้ การซักเส้อื ผา้ การไปซือ้ ของ การปรงุ อาหาร การรับประทานอาหาร และการทาความสะอาดบ้าน เป็นต้น คนตาดเี รียนรู้วธิ ที ากจิ วัตรประจาวันตา่ ง ๆ เหลา่ น้ี โดยการสังเกตผ้อู ื่นทลี ะเล็กละน้อย เช่น การปู ทีน่ อน การกวาดพ้ืน และการโกนหนวด เด็กเรียนร้โู ดยสังเกตจากการกระทาของพอ่ แม่ สาหรับคนที่มีความบกพร่องทางการเห็น กิจวัตรประจาวันบางอย่าง เขาเรียนรู้ได้ยากมาก เน่ืองจากเขามองไม่เห็นเวลาผู้อ่ืนทา เขาอาจได้ยินแต่เสียงและทราบว่า มีคนกาลังปูท่ีนอนอยู่ แต่ไม่เห็น ว่ามีวิธีปูอย่างไร หรืออาจได้ยินเสียงปรุงอาหารบนเตาและได้กลิ่น แต่สิ่งเหล่านี้ไม่สามารถสอนวิธีเตรียม และวิธีปรุงอาหารให้กับเขา เพราะเขาไม่มีโอกาสเรียนรู้โดยการดูจากการปฏิบัติ จึงต้องเรียนรู้โดยการ สอนและสาธิตใหด้ ูโดยตรง แต่กจิ วตั รประจาวันบางอย่างจะตอ้ งใชเ้ ทคนิคพเิ ศษ เพ่อื ชว่ ยให้คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น ปฏบิ ตั ไิ ดง้ ่ายยงิ่ ข้ึน คอื การใช้ประสาทสัมผัสด้านต่างๆ ช่วย ได้แก่ การสัมผัส การฟัง การชิมรส และการ ดมกล่ิน เช่น การรินน้าใส่แก้ว คนท่ีมีการเห็นปกติจะหยุดรินน้าเม่ือน้าใกล้ถึงขอบแก้ว แต่คนที่มีความ บกพร่องทางการเห็นจะต้องใช้การสัมผัสหรือฟังเสียงจึงจะทราบได้ หรือเม่ือคนท่ีมีการเห็นปกติต้องการ จะใส่เสื้อสีเหลืองก็เพียงเปิดตู้เส้ือผ้าและหยิบออกมาใส่ แต่คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นจะต้องใช้วิธี ในการหา เชน่ ทาเครอ่ื งหมายตดิ ไว้ทเ่ี ส้ือเพ่ือให้ทราบว่า เปน็ เส้ือสีเหลอื ง หรือสขี าว เป็นตน้ จาเป็นอยา่ งยิง่ ทค่ี นที่มีความบกพร่องทางการเห็นจะต้องปฏิบัติกิจวัตรประจาวันต่างๆ ให้ได้มาก ท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยผู้อ่ืน เพราะถ้าไม่สามารถทาได้ด้วยตนเองแล้ว ต้องรอให้ ผอู้ ื่นมาชว่ ย ซง่ึ นอกจากจะไมส่ ะดวกสาหรับตนเองแล้ว ยงั อาจจะสรา้ งความราคาญใหก้ บั ผู้อ่นื ดว้ ย เมื่อเห็นคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นสามารถทากิจวัตรประจาวันได้ด้วยตนเองแล้ว ควร แนะนาให้สมาชิกในบ้าน และเพื่อนๆ เปิดโอกาสให้เขาทา ซึ่งจะทาให้เขารู้สึกมีความม่ันใจมากข้ึน เช่น เมื่อลูกชายล้างผักเปน็ แล้ว แม่ควรจะให้เขาเขา้ ช่วย เพราะถ้าห้ามจะทาให้เขาเสียกาลังใจ และจะไม่สนใจ อีกตอ่ ไป การทากิจวตั รประจาวันของตนเอง (Self – care skills) การอาบน้า (Bathing) มวี ิธีการและข้นั ตอนเหมอื นคนที่มกี ารเห็นปกตทิ กุ อย่าง ก่อนอาบน้าสารวจหอ้ งนา้ ให้ทั่วก่อน เพ่ือให้ทราบท่ีแขวนผ้าเช็ดตัวและเส้ือผ้า ท่ีวางสบู่และท่ียืน อาบน้า ตลอดจนแหล่งน้าท่ีจะอาบว่ามาจากไหน ซ่ึงอาจจะเป็นน้าก๊อก น้าบ่อ น้าป๊ัม หรือน้าจากแม่น้า ลาธาร เป็นตน้ ควรสอนให้อาบน้าได้ด้วยตนเอง ไม่เพียงแค่ทาได้เฉพาะมอื และหน้าเท่าน้นั

29 การแปรงฟัน (Brushing teeth) ควรจะสอนให้เด็กแปรงฟันต้ังแต่เล็ก ๆ เพ่ือทาให้ฟันแข็งแรง และสรา้ งนสิ ยั การรกั ษาฟันให้กับเด็ก บางคนอาจจะมีปัญหาในการบีบยาสีฟันใส่แปรง เช่น ใส่มากเกินไป หรือใส่ไมถ่ กู จงึ ควรใช้วธิ ตี อ่ ไปน้ี 1. จบั ปลายแปรงหงายขึ้นใหอ้ ยู่ระหวา่ งนิ้วหวั แมม่ ือ และน้ิวชี้ ด้ามช้ีออก 2. มืออกี ขา้ งหนึ่งถอื หลอดยาสีฟนั ทีเ่ ปดิ เรยี บร้อยแล้ว ให้ปลายหลอดจรดที่ปลายขนแปรงด้านใด ดา้ นหน่ึง 3. ค่อย ๆ บีบยาสีฟัน แล้วเล่ือนหลอดจนยาเต็มแปรง นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้จะช่วยกันไม่ให้ยาสี ฟันออกนอกแปรง และทราบปรมิ าณยาสีฟนั หรอื อาจจะทาได้อีกวธิ หี น่งึ โดยบีบยาสีฟันบนนิว้ แล้วใสป่ าก การดูแลความสะอาดผม (Hair care) การดูแลความสะอาดผมเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับทุก ๆ คน โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่มีความบกพร่องทางการเห็น เขาควรทราบว่า จะสระผมกี่วันต่อครั้ง ส่วนวิธีการ สระ มีข้ึนตอนเช่นเดียวกับคนท่ีมีการเห็นปกติ ยาสระผม (ครีมนวดผมถ้าใช้ด้วย) จะใช้ได้ตามปริมาณที่ ต้องการ เทใส่อุ้งมือก่อน ไม่เทใส่ผมโดยตรง หลังจากหวีผมแล้วคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น จะ สามารถทราบได้ว่าเรยี บร้อยหรอื ไม่ โดยเอามือลบู ดอู กี คร้งั หน่งึ การใช้เครื่องสาอาง (Using cosmetics) เครื่องสาอางมีหลายชนิด เช่น แปูง ลิปสติก น้าหอม ที่ทาแก้ม ที่ทาเปลือกตา และครีมทาผิว เป็นต้น เพื่อน ๆ ท่ีมีการเห็นปกติ ควรจะแนะนาให้คนท่ีมีความ บกพร่องทางการเห็น เลือกใช้เคร่ืองสาอางต่าง ๆ เหล่านี้ให้เหมาะสมกับลักษณะและผิวของตน โดยสอน วธิ ีใชอ้ ย่างถูกตอ้ งตามขั้นตอนให้ดว้ ย การสัมผัสจะช่วยให้คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น ใช้เครื่องสาอางได้อย่างถูกต้องและ เรยี บรอ้ ย และการทาเลบ็ ควรจะถามคนทม่ี ีการเห็นปกตวิ ่าทาไดเ้ รยี บร้อยและเสมอกนั หรือไม่

30 การโกนหนวด (Shaving) ไม่ว่าจะใช้อะไรก็ตาม เช่น มีดโกนหนวด ใบมีดมีด้ามจับ และแหนบ ถอนหนวด คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นควรใช้อย่างช้า ๆ และระมัดระวังเพื่อกันมีดบาด ขณะโกน สามารถใช้มือลูบตรวจดูว่าโกนได้หมดและเรียบร้อยหรือไม่ เวลาโกนควรใช้วิธีการและขั้นตอนเหมือนกัน ทกุ คร้ัง คือ เร่ิมจากดา้ นใดด้านหน่ึงก่อนแล้วโกนไปเรอื่ ย ๆ จนเสร็จ ขั้นตอนการโกนหนวด มดี งั น้ี โกนบริเวณใต้คางก่อนใหท้ ว่ั โกนทางด้านซา้ ย โกนทางดา้ นขวา โกนบรเิ วณคาง เริ่มจากด้านซา้ ยไปจนถงึ ตรงกลางคาง แล้วเร่ิมจากด้านขวาไปจนถึงรอย เดิมเพ่ือใหง้ ่ายยิ่งข้ึน ขณะโกนหนวดควรใช้มืออีกข้างหนึ่งถูบริเวณท่ีโกนตามไปด้วย ในลักษณะที่คล้าย ๆ กับโกนหนวด เม่ือโกนเสร็จแล้ว ควรลูบดูอีกคร้ังหน่ึง เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีบริเวณใดหลงอยู่ ส่วนการแต่ง หนวดควรขอร้องให้คนทมี่ ีการเหน็ ปกติช่วยจะดกี วา่ ทาเอง การใช้ห้องน้า (Using the latrine) คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นและสมาชิกทุกคนในบ้าน มีวิธีใช้ และรกั ษาความสะอาดเชน่ เดียวกัน เพราะการรักษาความสะอาดห้องน้าเป็นสิ่งจาเป็นมากสาหรับ ทกุ คน เนอื่ งจากมีความสาคัญต่อสุขภาพของสมาชิกในครอบครัวและต่อชุมชนส่วนรวม ไม่ควรใช้สถานท่ี ถา่ ยของเสยี ตามใจชอบ ซงึ่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความสกปรกและเปน็ แหล่งเพาะเชือ้ โรคได้

31 ก่อนอื่นคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นควรทราบลักษณะที่ต้ังของห้องน้าก่อน ต่อจากน้ันจึง เปน็ ชนดิ ของสว้ ม และวธิ ใี ช้ ดงั นนั้ ควรสอนนกั เรียนตามขน้ั ตอน ตอ่ ไปนี้ เดินไปหอ้ งนา้ ได้ดว้ ยตนเอง ทราบตาแหนง่ และลกั ษณะการใช้อยา่ งถกู ตอ้ ง ทราบทีต่ ัง้ ของนา้ ท่ใี ช้ทาความสะอาดเมอ่ื ถา่ ยเสร็จ ทราบทต่ี งั้ ของน้าหรอื กระดาษชาระ วางส่งิ ต่าง ๆ ไว้ที่เดมิ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง การดแู ลเสื้อผ้า (Clothing) การซักเสือ้ ผ้า (Washing) มี 3 วธิ ี ทคี่ นทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเห็นจะทราบว่า เส้ือผ้าสมควร ซักได้แลว้ คอื ใสซ่ ้าๆ หลายครงั้ เริม่ มกี ลนิ่ และถามเพอื่ นทม่ี ีการเห็นปกตวิ า่ สมควรซกั ไดห้ รือยงั การเตรียมอุปกรณ์ก่อนซัก ก่อนลงมือซักผ้าคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น จะต้องเตรียม อปุ กรณ์ทกุ อย่างให้พร้อม (สบู่ ผงซักฟอก ผ้าที่จะซัก แปรง และภาชนะ เป็นต้น) แล้วจึงนาไปตรงท่ีจะได้ ซักผ้า ซ่ึงตนเองจะต้องทราบว่า น้าท่ีจะใช้ท่ีซักและที่ตากอยู่ท่ีใด เม่ือทุกอย่างพร้อมแล้ว จึงเตรียมตัวซัก โดยปฏิบตั ดิ งั นี้ วางถงั ทใ่ี ส่ผา้ ไวท้ างซ้ายมือ วางภาชนะบรรจุน้าทีจ่ ะซกั ผ้าไวด้ า้ นหน้า และวางภาชนะท่จี ะใสผ่ า้ ท่ีซกั แลว้ ไวท้ างขวามือ ก่อนซกั ควรนับจานวนผา้ ก่อนเพ่อื สะดวกในการตรวจสอบว่า ผา้ หายหรอื ติดคา้ งอยู่บ้างหรือไม่ วิธซี ัก (Washing) ควรเทสบู่ หรอื ผงซักฟอกใส่มือก่อน เพื่อให้ได้ปริมาณตามท่ีต้องการ ถ้าใส่ลง ในถังน้าโดยตรงจะไมส่ ามารถทราบปรมิ าณได้ การซัก ควรซักทั้งตัว ไม่ซักเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งท่ีคิดว่าสกปรกเท่าน้ัน และควรขย้ีบริเวณคอ เสื้อ ใต้รักแร้ ชายกางเกงและตรงหัวเข่ากางเกงขายาวให้มาก เพราะส่วนนี้เป็นบริเวณที่สกปรกมากกว่า สว่ นอนื่ การซักน้า (Rinsing) ผ้าท้ังหมดที่ซักแล้วจะต้องซักในน้าสะอาดจนแน่ใจว่าหมดฟองสบู่หรือ ผงซักฟอกแลว้ ถ้าซกั ในนา้ ไหลควรจะซกั ครง้ั ละตัว แล้วใส่ในภาชนะที่สะอาด เพราะถ้าซักครั้งละหลาย ๆ ตวั อาจจะหลุดมอื ตกนา้ และเป็นการยากสาหรบั คนที่มคี วามบกพร่องทางการเหน็ จะหาได้ การบิดผ้า (Wringing) เม่ือซักน้าเปล่าจนสะอาดแล้ว จับบิดทีละตัว จากเสียงบิดผ้าและการจับ ผ้า ทาให้คนทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ ทราบได้วา่ ผ้าหมาดแล้ว

32 การตากผา้ (Drying) เมื่อบิดผ้าเสร็จแล้ว จึงนาผ้าไปตาก ไม่ว่าจะไปตากท่ีสนามหญ้า บนพุ่มไม้ หรือราวตากผ้าก็ตาม จะต้องแน่ใจว่าสะอาด ไม่มีฝุนหรือส่ิงสกปรกติดอยู่ ถ้าราวเป็นเชือกหรือลวด ควร เชด็ ให้สะอาดกอ่ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งลวดซึง่ เป็นสนิมได้ง่าย ถา้ ไม่เชด็ ใหส้ ะอาดจะทาให้ผ้าเปื้อนสนิม ทาง ที่ดีจึงไม่ควรใช้ลวดที่ไม่ได้ทาสีทาราวตากผ้า เม่ือตากผ้าแล้ว จะต้องเก็บอุปกรณ์การซักผ้าทุกอย่างเข้าที่ เพ่ือความสะดวกในการหยิบใช้ครั้งต่อๆ ไป และเมื่อเก็บผ้าที่ตากแห้งและควรนับอีกคร้ัง เพ่ือให้แน่ใจว่า เส้อื ผ้าครบ ไมม่ ตี วั ใดหายไป การพับผ้า (Folding) ใช้วธิ เี ดยี วกนั ท้ังคนท่ีมีการเห็นปกติและคนที่มีความบกพร่องทางการเห็น ปญั หาอยทู่ วี่ า่ จะสอนเขาให้พับได้อย่างไร คนตาดีเห็นคนอื่นพับสามารถพับตามแบบได้ ส่วนคนที่มีความ บกพร่องทางการเห็นพับตามที่บอกและทราบจากการเคล่ือนไหวในการพับเท่าน้ัน ไม่ได้เห็นวิธีทา จึง เรียนรไู้ ด้ยากกวาคนตาดี ดงั นน้ั ถา้ สอนคนทีม่ ีความบกพร่องทางการเห็นให้พับผ้า จะต้องพูดให้เข้าใจง่าย ช้าๆ และชัดเจนให้เขาฟัง และจับมือคนสอนไปด้วย หรือมิฉะน้ัน คนสอนอาจจะจับมือเขาพับก็ได้ การ สอนควรจะสอนให้พับทลี ะข้ัน แล้วคอ่ ย ๆ เพิม่ จนเสรจ็ และฝึกให้เขาสามารถพับได้ด้วยตนเอง การเก็บเสื้อผ้าเข้าตู้ (Storing clothing) ไม่ว่าจะเก็บเข้าตู้หรือวางไว้บนช้ัน จะเก็บหรือวาง แบบใดขึ้นอยู่กับความนิยมของแต่ละบุคคล ซึ่งไม่เหมือนกัน เช่น บางคนชอบแขวนกางเกงและเสื้อกับไม้ แขวนเสื้อ แต่บางคนก็ไม่นิยม อย่างไรก็ตาม คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นก็มีวิธีพิเศษในการเก็บ เส้อื ผา้ ของตน แต่สิ่งสาคัญคือ คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นจะต้องเก็บและจัดเส้ือผ้าให้เหมือนกันทุก คร้งั เพื่อสะดวกเมอื่ ต้องการใช้ จึงควรยึดวิธีการ ดงั ตอ่ ไปนี้ แยกชนิดเส้ือผ้าที่เหมือนกันเก็บไว้ด้วยกัน (เสื้ออยู่พวกหน่ึง ถุงเท้าพวกหนึ่ง และผ้าถุงไว้อีก พวกหนงึ่ เป็นตน้ ) แยกเก็บตามความจาเป็นในการใช้ (ใสท่ กุ วันเก็บไวด้ า้ นนอก ท่ีไม่ค่อยได้ใส่เอาไว้ด้านใน หรือ เอาไว้บนชนั้ สงู สุด) แขวนไวเ้ ป็นชดุ ๆ (กระโปรงกับเสื้อ เส้ือเช้ิตกบั กางเกงขายาว เปน็ ต้น) จดั เกบ็ โดยวิธแี ยกสี (เสอ้ื ขาวทั้งหมดไว้ทเี่ ดียวกนั ผ้าถุงสีนา้ ตาลไวด้ ว้ ยกัน เปน็ ตน้ )

33 การจัดเสื้อผา้ ใส่ (Identifying Clothes) คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นมีวิธีค้นหาเส้ือผ้าใส่ หลายวธิ ี คอื ดเู นื้อผ้า ดแู บบการตัดเยบ็ ทาเครอ่ื งหมายพิเศษติดไว้ การทาเครื่องหมายตดิ จะตอ้ งไม่ทาไว้ขา้ งนอกเพราะจะแลดูไม่เรียบร้อย แต่ก็ควรอยู่ตรงที่คนท่ีมี ความบกพร่องทางการเห็นสามารถหาได้ง่าย เช่น อาจจะติดไว้ที่ปกเส้ือด้านใน หรือบริเวณเอวด้านใน อาจจะติดด้วยอักษรเบรลล์หรือเข็มกลัดก็ได้ (เข็มกลัดตัวเดียวแทนกางเกงขายาวสีน้าตาล สองตัวแทนสี ฟูา เป็นต้น) หรืออาจจะติดกระดุมเล็กๆ ไว้ (หนึ่งเม็ดแทนสีฟูา สองเม็ดแทนสีแดง เป็นต้น) ซึ่งผู้เป็น เจ้าของจะตอ้ งจาเคร่ืองหมายเหลา่ นีไ้ ด้ การขัดรองเท้า (Polishing shoes) คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นจะต้องรู้สีของรองเท้า และเลอื กนา้ ยาขดั ใหถ้ ูกต้อง วธิ ขี ัดทาตามข้นั ตอนต่อไปน้ี 1. เช็ดหรอื แปรงฝุนออกก่อน 2. ถูน้ายาและขัดโดยเร่ิมจากปลายรองเท้าก่อน แล้วถูด้านซ้ายตั้งแต่ปลายเท้าไปจนถึง กลางหลังสันเท้าและเริ่มใหม่โดยถูและขัดด้านขวา ต้ังแต่ปลายเท้าจนถึงกลางหลังสันเท้าเช่นเดียวกัน ตอ่ จากนน้ั จงึ ถูและขดั ดา้ นบน 3. ทาเหมือนกันทงั้ 2 ข้างจนเสร็จ การเย็บผ้า (Sewing) คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นสามารถเรียนการเย็บผ้าอย่างง่ายๆ ได้ เช่น ติดกระดุมและปะผ้า แต่มีปัญหามากในการร้อยด้าย ซึ่งแก้ไขโดยใช้เข็มมีรูโตๆ และลวดเส้นๆ ยาว ประมาณ 8-10 เซนตเิ มตร ช่วย ดังน้ี 1. พับคร่ึงเส้นลวดให้ปลายเสมอกัน 2. เอาปลายลวดสอดเขา้ รเู ข็มประมาณครง่ึ หน่งึ 3. แยกเสน้ ลวดเสน้ ทเี หลือออกเลก็ นอ้ ยพอทีจ่ ะสอดเส้นด้ายได้ 4. เอาปลายเสน้ ดา้ ยท่จี ะร้อยสอดเขา้ ชอ่ งลวดใหล้ กึ ประมาณ 4 เซนตเิ มตร 5. บีบเสน้ ลวดใหต้ ดิ กนั ตามเดมิ 6. ดึงปลายลวดออกจากรูเขม็ กลบั ทางเดมิ ปลายเสน้ ดา้ นจะผ่านรูเข็มออกมาดว้ ย 7. ดงึ เส้นลวดออกกจ็ ะรอ้ ยเส้นด้ายไดต้ ามตอ้ งการ

34 การดูธนบัตรและเหรียญ (Money Identification) ลักษณะเงินท่ีใช้กันในปัจจุบัน มี 2 ชนิด คือ เหรยี ญ และธนบตั ร เหรียญ (Coins) เหรียญชนิดต่าง ๆ ของทุกประเทศจะทราบค่าได้โดยดูจาก ขนาดน้าหนักและ ขอบ (ความหนา) เพราะจะไม่เท่าและไม่เหมือนกัน จึงเป็นประโยชน์สาหรับคนที่มีความบกพร่องทางการ เห็นจะทราบได้ ประเทศไทยของเราปัจจุบันมีเหรียญอยู่ 6 ชนิด คือ ยี่สิบห้าสตางค์ ห้าสิบสตางค์ หน่ึงบาท สองบาท ห้าบาท และสิบบาท ธนบัตร (Paper bills) คนที่มีความบกพร่องทางการเห็น ดูธนบัตรได้ยากกว่าเหรียญ โดยเฉพาะ อยา่ งย่ิง ถ้าธนบตั รนั้นมขี นาดเท่ากนั และรูปร่างเหมอื นกนั วิธที ่ีดที ี่สดุ คือ ถามคนตาดี ธนบัตรของประเทศไทย มี 6 ชนิด คือ ราคาสิบบาท (ไม่มีใช้ในท้องตลาดแล้ว) ย่ีสิบบาท ห้าสบิ บาท หนง่ึ ร้อยบาท หา้ ร้อยบาท และหนึง่ พันบาท ธนบตั รสิบบาท มสี ีนา้ ตาล ขนาดกว้างประมาณ6.8เซนติเมตรยาวประมาณ13.2เซนติเมตร ธนบัตรย่สี บิ บาท สีเขยี ว ขนาดกวา้ งและยาวกวา่ ธนบตั รสบิ บาทเลก็ น้อย ธนบตั รหา้ สบิ บาท สีฟาู เทา ขนาดยาวกวา่ ธนบัตรยีส่ ิบบาทเลก็ นอ้ ย ธนบัตรหนึ่งร้อยบาท สีแดง ขนาดยาวกวา่ ธนบัตรห้าสบิ บาทเลก็ น้อย ธนบัตรหา้ ร้อยบาท สีม่วง ขนาดยาวกว่าธนบตั รหนง่ึ รอ้ ยเล็กน้อย ธนบตั รหนง่ึ พนั บาท สนี า้ ตาล ขนาดยาวกว่าธนบตั รหา้ รอ้ ยบาทเล็กน้อย จะเห็นได้ว่า ธนบัตรฉบับละสิบบาทกับธนบัตรฉบับละยี่สิบบาท ฉบับละยี่สิบบาทกับฉบับละห้าสิบบาท และฉบับละหนึ่งร้อยบาทกับฉบับละห้าร้อยบาท มีขนาดใกล้เคียงกันมาก คนที่มีความบกพร่องทางการ เห็น รูไ้ ดล้ าบาก แม้ว่าบางคนพยายามจาโดยวดั ความกวา้ งหรอื ความยาวกับน้ิวของตนเอง แต่ก็ไม่แน่นอน จึงควรถามคนตาดี หลังจากทราบแล้วว่า เป็นธนบัตรฉบับละเท่าไร คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น ควรหาวิธีจาของตนเอง และวิธีหน่ึงท่ีนิยมทาคือการพับธนบัตรเพ่ือแยกชนิด ซึ่งแต่ละคนอาจจะใช้วิธีไม่ เหมือนกัน เช่น ฉบับสิบบาท ปลอ่ ยไวโ้ ดยไม่พบั ฉบบั ย่สี ิบบาท พบั ครง่ึ ตามยาว ฉบบั หา้ สิบบาท พบั ครงึ่ ตามกวา้ ง ฉบับหนง่ึ ร้อยบาท พับคร่งึ ตามยาว 4 ทบ ฉบับหา้ รอ้ ยบาท พับครึง่ ตามกว้าง 4 ทบ เป็นต้น บางคนอาจใช้วิธีพับมุมธนบัตรด้วย จึงไม่มีการกาหนดได้แน่นอน แต่ไม่ว่าจะใช้วิธีใดก็ตามควรจะใช้วิธี เดียวกันตลอดไป นอกจากวิธีพับและวิธีวัดกับน้ิวแล้ว คนที่มีความบกพร่องทางการเห็นบางคนจะใช้วิธีแยกชนิด เก็บเป็นที่ เช่น ชนดิ สบิ บาทเก็บไวท้ ี่กระเปา๋ เส้ือ ชนิดย่ีสิบบาทเกบ็ ไว้กระเป๋ากางเกงข้างซ้าย ชนิดหน่ึงร้อย บาทเก็บไว้กระเป๋ากางเกงด้านขวา และชนิดห้าร้อยเก็บไว้ท่ีกระเป๋าหลัง เป็นต้น ถ้ามีกระเป๋าสตางค์ก็ใช้ วิธีเกบ็ แยกชัน้ กนั ของกระเป๋า หรอื หาสง่ิ ใดสิ่งหน่ึงแบง่ ชนิดไว้ เป็นต้น โดยวิธีการดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่า คนที่มีความบกพร่องทางการเห็น ไม่มีปัญหามากนักใน การใชเ้ งิน แต่จะมปี ัญหาเวลาได้รับเงิน ถ้าไม่แน่ใจควรถามคนตาดี หรืออาจใช้วิธีวัดขนาดกับธนบัตรที่อยู่ แลว้ ซ่งึ อาจจะใชเ้ วลามากกว่าวธิ ีอื่น แตม่ คี วามถูกต้องมากท่ีสุด

35 คนท่ีมีสายตาเลือนรางบางคนอาจสามารถอ่านตัวเลข หรือดูจากสีของธนบัตรได้ เพราะสีของ ธนบตั รแตล่ ะชนิดแตกต่างกนั อยา่ งชดั เจน คือ ฉบับราคาสบิ บาทสีนา้ ตาล ยสี่ บิ บาทสีเขียว ห้าสิบบาทสีฟูา เทา ร้อยบาทสแี ดง และฉบับห้ารอ้ ยบาทสีมว่ ง ทุกวิธีท่ีกล่าวมา ไม่ว่าจะใช้วิธีใดก็ตาม คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น สามารถทาได้เร็วมาก ทั้งนี้เพราะการใช้เงินเป็นส่ิงจาเป็นอย่างหนึ่งในชีวิตประจาวัน เมื่อปฏิบัติอยู่เสมอจะเกิดความชานาญใน ทส่ี ุด การทาความสะอาดบ้าน (House cleaning) ทุกคนต้องการมีบ้านและสนามท่ีสะอาด เพราะเป็นส่ิงจาเป็นต่อสุขอนามัย จึงต้องหมั่นดูแลทา ความสะอาดเป็นประจาทุกวัน ไม่ว่าจะเป็นพ้ืน เครื่องเรือน ที่นอน ต้นไม้ การกาจัดขยะและสิ่งสกปรก ตลอดจนกรงหรือคอกสัตว์ เพราะส่ิงต่าง ๆ ดังกล่าวมาน้ี ถ้าไม่หม่ันทาความสะอาด จะทาให้บ้านและ บรเิ วณบา้ นรกรงุ รงั สกปรก เป็นสาเหตุทาให้เกิดความเจบ็ ปวุ ยได้ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น จะต้องทราบส่วนต่าง ๆ ของบ้าน และ บริเวณรอบ ๆ บ้าน ทราบที่ตั้ง ขนาดและลักษณะของห้องทุกห้อง ตาแหน่งประตู หน้าต่าง เคร่ืองเรือน กระถางต้นไม้ และต้นไม้ที่จะต้องรดน้า ตลอดจนแหล่งน้าท่ีจะใช้ ท้ังน้ี เพื่อให้คนที่มีความบกพร่อง ทางการเห็น เดินไปตามทตี่ า่ ง ๆ ดงั กล่าวไดอ้ ยา่ งสะดวกดว้ ยตนเองตามตอ้ งการ ทง้ั น้ีคนทมี่ ีความบกพร่องทางการเห็น และสมาชกิ ทกุ คนภายในบา้ น ต้องปิดประตูทุกคร้ังเมื่อเข้าหรือออก เพราะถ้าเปิดประตูทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อคนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น ถ้าต้องถอดรองเท้าก่อนเข้า บ้าน จะต้องมีที่วางรองเท้าให้เป็นท่ี เช่น ในประตูด้านขวาหรือตรงไหนก็ได้ที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อความ สะดวกของคนทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ เมื่อเวลาตอ้ งการจะเกบ็ หรอื ใช้รองเท้า

36 คนที่มีความบกพร่องทางการเห็น และสมาชิกทุกคนในบ้าน จะต้องเก็บของใช้ต่าง ๆ ไว้ที่เดิมเสมอ เพ่ือ คนท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ หยบิ ใช้ไดถ้ กู เมอ่ื ต้องการ การปทู นี่ อน (Making beds) ปลอกหมอนและผ้าปูท่ีนอนควรเปล่ียนสัปดาห์ละครั้ง หมอนและ ท่นี อนกค็ วรนาออกผึ่งแดดสปั ดาห์ละครง้ั เช่นเดียวกนั โดยเฉพาะอย่างย่ิงในฤดูฝน เพราะหมอนและท่ีนอน ชน้ื และเหม็นอบั ไดง้ า่ ย และถ้าใชเ้ สอ่ื ปนู อนตอ้ งหม่นั นาออกผึง่ แดดเสมอ ๆ การเชด็ ฝ่นุ (Dusting) ควรเช็ดจากซา้ ยไปขวาก่อน และเช็ดซ้าอกี ครั้งจากบนลงล่าง

37 การกวาดพน้ื (Sweeping the floor) เราต้องกวาดพ้ืนทุกวนั จงึ ควรปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. เวลากวาดพื้นคนที่มีความบกพร่องทางการเห็นควรถอดรองเท้า เพราะจะทราบได้ว่า สะอาดหรือไม่ จากการสมั ผสั เท้า 2. ควรกวาดจากด้านในหอ้ งไปทางประตู 3. อาศัยผนงั ห้อง และเฟอรน์ เิ จอรแ์ บง่ พ้นื กวาดทีละส่วน 4. เวลากวาดควรจะปิดประตเู พอ่ื กันละอองปลวิ กระจายเม่อื ถกู ลมพัด 5. เวลากวาดควรกวาดไปทางเดียวให้ทั่วห้องครั้งหนึ่งก่อน แล้วจึงกวาดขวางอีกคร้ังหนึ่ง เพอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ กวาดไดส้ ะอาดท่วั ห้อง การถูบ้าน (Mopping the floor) หลังจากกวาดเรียบร้อยแล้ว จึงถูพื้น สาหรับคนที่มีความ บกพร่องทางการเห็นควรใช้ผ้าข้ีร้ิวจะสะดวกกว่าใช้ไม้ถูพ้ืน เพราะไม่เกะกะ น้าท่ีใช้ซักผ้าขี้ริ้วจะต้อง สะอาด ถ้าใช้ผงซักฟอกด้วย ควรจะเทใส่มือก่อน เพื่อให้ได้ตามปริมาณท่ีต้องการ ขณะถูพ้ืนควรน่ังคุกเข่า และใช้เฟอรน์ ิเจอรเ์ ปน็ เครอื่ งหมายในการแบ่งพื้นถู และควรถูซ้าในลักษณะขวางกับครั้งแรก เพื่อให้แน่ใจ วา่ สะอาดทัว่ หอ้ งเช่นเดยี วกบั การกวาด การดูแลรักษาบริเวณบ้าน (Cleaning the yard) เราควรทาความสะอาดบริเวณบ้านทุกวัน เช่นเดียวกัน และยึดหลักและข้ันตอนในการทาเหมือนกันทุกครั้ง เพราะจะทาได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว และทสี่ าคัญคอื จะสามารถทาได้ทัว่ บริเวณ

38 งานครัว (Kitchen Activities) ก่อนอื่นคนที่มีความบกพร่องทางการเห็น ควรจะต้องรู้จัก บริเวณห้องครัวเป็นอย่างดี และทราบว่าเครื่องครัวแต่ละอย่างอยู่ตรงไหน มีวิธีใช้อย่างไร จะรักษาความ สะอาดและเกบ็ เขา้ ที่เดิมได้อย่างไร เพ่อื ความสะดวกในการหยิบใช้ครั้งต่อไป ซ่ึงควรเป็นหน้าที่ของสมาชิก ในครอบครัวทต่ี อ้ งคอยแนะนาและสอนให้ การรินน้าเย็น (Pouring cold liquid) จะต้องถือแก้วรองไว้ใต้ภาชนะท่ีรินน้า ให้กรวยรินอยู่ เหนือปากแกว้ เวลารินน้าควรเอานิ้วชีข้ องมอื ข้างทถ่ี อื แกว้ แหยล่ งในแกว้ เล็กน้อย แล้วรินน้าช้า ๆ เม่ือรู้สึก ว่านา้ สมั ผสั ปลายนว้ิ แล้วจงึ หยุด การรินน้าร้อน (Pouring hot liquid) ควรถือแก้วโดยให้น้ิวชี้แตะขอบแก้วด้านบน แล้วรินน้า อยา่ งชา้ ๆ เมอื่ รู้สกึ ว่าน้ารอ้ นใกล้น้วิ ขึน้ มาจึงหยดุ เพราะน้าใกล้จะเตม็ แกว้ แลว้ ท่ีทราบได้เพราะ นวิ้ เร่ิมร้อน เพราะไอนา้ ร้อนใกล้ขึ้นมา แกว้ เริ่มร้อนขึน้ (อุณหภมู เิ ปล่ียน) แกว้ เรม่ิ หนักข้ึน (น้าหนักเปลี่ยน) เสยี งรนิ น้าเปลย่ี นไป (เสยี งเปล่ยี น) การใชม้ ดี (Using knife) เวลาใชม้ ดี ตอ้ งหันทางคมมดี ออกจากตวั เสมอ การหั่นผัก (Slicing vegetables) การปั่นผลไมห้ รือผักควรสอนให้คนทีม่ ีความบกพร่องทางการ เห็นค่อย ๆ หั่นจากด้านข้างหรือหัวท้ายจะง่ายกว่า และไม่ล่ืนจากเขียงหรือที่รองหั่น หรืออาจจะวางบน ไม้รองห่ัน ซึ่งตอกตะปูให้โผลม่ าแทงผกั หรอื ผลไม้ไวก้ ไ็ ด้

39 อาหารชนิดตา่ ง ๆ สามารถทราบไดจ้ าก ขนาด รูปร่าง พืน้ ผิว และกลน่ิ เขียงรองห่ันท่ีทาสีจะช่วยคนสายตาเลือนรางได้มาก ถ้าทาสีดาและสีขาวอย่างละครึ่ง เวลาหั่นของที่มีสี ออกขาว ๆ ให้หัน่ ทางสดี า และถ้าหนั ของท่มี ีสอี อกเขม้ ๆ ใหห้ นั ทางสีขาว คนสายตาเลือนรางจะเห็นได้ชัด ขนึ้ การตวงและการกะประมาณเคร่ืองครัว (Measuring and other kitchen hints) ภาชนะ บรรจุของขนาดต่าง ๆ สามารถใช้เป็นภาชนะตวงเคร่ืองปรุงท่ีจะใช้ประกอบอาหารได้ เช่น ขวด กะลา กระบอกไม้ไผ่ ไม้ และกระป๋อง เป็นตน้ เปูาหมายสูงสุดของการฝึกในโปรแกรมต่างๆ คือการเตรียมให้บุคคลน้ันมีวิถีชีวิตท่ีเป็นอิสระ พ่ึงพาตนเองได้มากที่สุด เช่นเดียวกันการฝึกบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็นก็ไม่แตกต่างกัน เมื่อเรา พูดถึงคาว่า “การพึ่งพาตนเอง” ในบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น จะหมายถึงการท่ีบุคคลนั้น ประสบผลสาเร็จในการพ่ึงพาตนเองในระดับท่ีดีที่สุดเท่าท่ีเป็นไปได้ตามความพิการของเขา ในบางคน อาจจะหมายถึง เขาสามารถทางานได้เพียงบางส่วน หรือเขาอาจจาเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือเพ่ือทา กิจกรรมนั้นให้สมบูรณ์ ส่วนในคนอื่น ๆ อาจจะหมายถึงเพียงแค่มีการช่วยเหลือท่ีเหมาะสม (เช่น ล่าม ภาษามอื อปุ กรณช์ ว่ ยเหลอื ) พวกเขากส็ ามารถมสี ่วนร่วมไดอ้ ย่างเตม็ ที่ ทกั ษะการดารงชวี ติ ทเี่ ป็นอิสระ คอื กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่มี คี วามจาเป็นในการดารงชีวิตประจาวัน เรา ทุกคนตา่ งก็ตอ้ งเรียนรูก้ ารดแู ล หรือเอาใจใส่ในความจาเปน็ พื้นฐานของเราเองทุกคน ไม่ว่าเราจะอยู่ท่ีไหน หรือเราจะทาอะไรในอนาคต

40 การจดั การเรียนการสอนนักเรยี นท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเห็น การจดั การเรยี นการสอนนกั เรยี นทม่ี คี วามบกพร่องทางการเห็น อาจแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ นกั เรียนทีม่ สี ายตาเลือนราง และนักเรยี นที่ตาบอด ดงั น้ี 1. การจดั การเรยี นการสอนสาหรบั นักเรียนท่ีมสี ายตาเลือนราง 1.1 ครูควรคานงึ ถงึ ส่งิ สาคัญตอ่ ไปนี้ 1.1.1 ควรคน้ หาว่าเขาสามารถเหน็ หรอื ไมเ่ ห็นอะไร 1.1.2 ควรยอมรับความจากดั ในการมองเห็นของนกั เรียน 1.1.3 ไม่ควรทาในสงิ่ ท่ีไมป่ ลอดภยั 1.2 ครูควรทราบว่านักเรียนที่สายตาเลือนรางไม่ใช่คนหูหนวก การพูดควรพูดปกติไม่ต้อง ตะโกน 1.3 ให้นักเรียนนงั่ ในที่มแี สงสว่างเพยี งพอในการอ่านหนงั สือ โดยให้แสงเข้าทางด้านข้าง 1.4 ควรสอนเร่อื งสี หรอื รูปทรง เพื่อนักเรยี นจะได้จาว่าเขาวางส่งิ ของไว้ที่ใด โดยการสังเกต สีหรือรูปทรง 1.5 ควรมีการบอกนักเรยี นเม่อื มีการจัดหรอื เคล่ือนทว่ี ัตถุสิง่ ของไปในที่ใหม่ 1.6 ควรเขียนหมายเลขดว้ ยสเี ข้มๆ หรอื ตัวโตๆ เพื่อทนี่ กั เรยี นจะเห็นได้งา่ ย 1.7 ผนงั หอ้ งเรยี น สีท่ตี ัดกันจะช่วยให้นักเรียนเห็นได้ง่ายข้ึน หรือตามขอบประตู ขั้นบันได ที่ล็อคประตู หรือสวิตซ์และปลั๊กไฟ ควรมีการติดแถบสีสว่างสดใสหรือทาสีให้ตัดกับสี ผนังหรอื ประตูหรือมสี ตี า่ งกัน 1.8 กระดานสีขาวมีประโยชน์ในการเขียนข้อความที่ส้ันๆ โดยเขียนด้วยหมึกดา และ หลกี เลย่ี งการเขียนหนงั สือบนกระดาษสี หรอื กระดาษที่มรี ปู ภาพ 1.9 เขยี นหนังสือตัวโตๆ ดว้ ยหมึกดาบนกระดาษสีขาว ซึ่งเป็นการเพ่ิมท้ังขนาดและการตัด กันของสใี นการเขียน 1.10 ในการอ่านหนังสือบางคร้งั นกั เรยี นอาจมีปัญหาในการไล่บรรทดั และตัวหนังสือจึงควร แนะนานักเรยี น ดงั น้ี 1.10.1 ใช้น้วิ มอื ไลต่ ามบรรทดั เวลาอา่ น 1.10.2 วางแผ่นกระดาษสีเข้มไวไ้ ตบ้ รรทัดท่กี าลงั อ่าน และใหเ้ ลื่อนลงไปทีละบรรทัด 1.10.3 เจาะชอ่ งว่างทแ่ี ผ่นกระดาษ เวลาจะอ่านให้วางช่องตรงกับบรรทัดที่กาลังอ่าน และปิดข้อความท่ีอยู่นอกกรอบ นอกจากน้ียังช่วยลดความจ้าของ หน้ากระดาษ และชว่ ยใหต้ ัวอกั ษรตดิ กันดขี น้ึ 1.11 ในการเดินทางควรฝกึ ให้นกั เรียนจาผู้อืน่ โดยไมต่ ้องมองรายละเอียดบนใบหน้า แต่ให้ จดจาโครงรา่ งของขนาดรูปร่าง วิธเี ดิน และเสียง 1.12 เมอ่ื เดนิ ไปกับผู้ใด นักเรียนควรจาสี หรือรูปแบบเสื้อผ้าของผู้นั้น ก็จะช่วยให้สามารถ เดินตามบุคคลนนั้ ไปในที่มีผู้คนแออดั ได้ 1.13 การข้ามถนน หากจะมีผู้อ่ืนข้ามด้วยควรข้ามพร้อมกับผู้อื่น และเพ่ือให้ปลอดภัย ยง่ิ ขนึ้ ควรเดนิ อยตู่ รงกลาง 1.14 ควรให้นักเรียนใช้ไม้เท้าขาว จะช่วยให้ปลอดภัยย่ิงข้ึน และมีความยาวจากพื้นถึง หน้าอกของผใู้ ช้ ไม่ควรสน้ั เกนิ ไป ทาให้ต้องก้มหลังและจะเสยี การทรงตวั

41 1.15 เวลาเดินกลางแจ้ง ควรสวมแว่นกันแดด หรือสวมหมวกจะช่วยลดความจ้าของแสง ไมใ่ ห้เขา้ ตามากเกนิ ไป 2. การจัดการเรียนการสอนนักเรียนตาบอด การเรียนการสอนสาหรับนักเรียนตาบอด จะมี ความแตกตา่ งจากการสอนนกั เรยี นทม่ี ีสายตาเลือนราง เพราะนักเรียนตาบอด ไม่สามารถใช้สายตาในการ เรียนการสอนได้เลย แต่ต้องใช้ประสาทสัมผัสในส่วนอ่ืนแทน ได้แก่ ประสาทสัมผัสทางหู ประสาทสัมผัส การดมกลิ่น ชมิ รส และประสาทสัมผัสทางกาย สาหรบั หลักสูตรการเรียนสามารถใช้หลักสูตรของนักเรียน ทัว่ ไปได้ เพยี งแตต่ อ้ งปรับวิธีการ ขนั้ ตอนและวสั ดอุ ปุ กรณ์ที่จาเปน็ เพือ่ ให้สอดคล้องกับความสามารถและ ความต้องการของนักเรียนแต่ละบุคคล และเพ่ิมทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนตาบอด เข้า ไปในหลักสูตร ซึ่งวิธีการและทักษะที่จาเป็นสาหรับนักเรียนตาบอด ได้แก่ การเขียน อ่านอักษรเบรลล์ ประสบการณ์เบอื้ งต้นในการดารงชีวิต ทักษะการเคลื่อนไหว การใช้ส่ืออุปกรณ์ต่างๆ ท่ีมีความแตกต่างไป จากนักเรยี นทวั่ ไป ตลอดจนดดั แปลงเน้อื หาหรือวธิ ีการสอนให้เหมาะสมกับนกั เรยี นตาบอด เชน่ 2.1 การเขยี น-อา่ นอักษรเบรลล์ 2.2 การสอนประสบการณ์เบ้อื งต้นในการดารงชวี ติ เช่น 2.2.1 การจัดกจิ กรรมและประสบการณใ์ นการเรียนรสู้ ว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย 2.2.2 การจดั กจิ กรรมและประสบการณแ์ ละการฝกึ ทกั ษะการฟงั และการแยกเสยี ง 2.2.3 การจดั กจิ กรรมและประสบการณ์เรอ่ื งกลน่ิ และรส 2.2.4 การจดั กจิ กรรมและประสบการณ์และฝกึ ทักษะเรือ่ งการสมั ผสั ทางกาย 2.2.5 การจดั กิจกรรมและประสบการณ์และการฝึกทกั ษะเรอ่ื งการคาดคะเน 2.2.6 การจดั กจิ กรรมและประสบการณเ์ ร่อื งสุขนสิ ัย 2.2.7 การจดั กจิ กรรมและประสบการณ์ เพื่อฝึกความสามารถขั้นพื้นฐานต่างๆ ในการ ช่วยเหลือตนเอง และผู้อ่ืน เช่น การสวมเส้ือผ้าและการติดกระดุม การสวม ถุงเท้า รองเทา้ การผูกเชอื กรองเท้า การใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟูา และการใชเ้ งินเปน็ ตน้ 2.2.8 การจัดกิจกรรมและประสบการณเ์ ร่ืองเส้ือผ้าเคร่อื งนุ่งห่ม 2.2.9 การจัดกิจกรรมและประสบการณ์เกี่ยวกับเร่ืองการรักษาผิวพรรณและการเสริม สวย 2.2.10 การจัดกิจกรรมและประสบการณ์ด้านงานบ้านงานครัว 2.2.11 การจัดประสบการณแ์ ละฝกึ ทักษะเรอ่ื งการเล้ยี งเดก็ ทารก 2.2.12การจัดกจิ กรรมและประสบการณเ์ ร่อื งมารยาทในสังคม 2.3 ทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหวของคนท่ีมีความ บกพร่องทางการเหน็ (Orientation and Mobility : O&M) 2.4 การใช้ส่ือหรืออุปกรณ์ต่างๆ สาหรับนักเรียนที่ตาบอด จะต้องมีการปรับปรุง หรือ ประยกุ ต์ให้นักเรยี นสามารถสมั ผสั ดว้ ยมือ และใช้การฟังเป็นหลัก นักเรียนตาบอด สามารถใช้หลักสูตรเช่นเดียวกับนักเรียนทั่วไปได้ เพียงแต่ต้องมีการปรับปรุง วธิ ีการสอน การใช้ส่ือการเรียนรู้ ตลอดจนวิธีการวัด ประเมินผลให้สอดคล้องกับสภาพความบกพร่องของ นักเรียน เพ่อื ใหส้ ามารถบรรลจุ ุดประสงค์ของการเรยี นรู้ได้ จงึ จาเป็นต้องมีการจัดทาแผนการจัดการศึกษา เฉพาะบุคคล และมีการจัดทาสื่อการเรียนรู้ รวมถึงวิธีการวัด ประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ ความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น การปรับวิธีการวัด ประเมินผล ในวิชาศิลปะ วิชาพลศึกษา

42 การปรับส่ือการเรียนรู้วิชาพลศึกษา เช่น การดัดแปลงลูกปิงปอง ลูกฟุตบอลให้มีเสียง หรือปรับปรุง เทคนคิ การสอนใหเ้ หมาะสม การจดั ทาแผนท่ภี าพนนู ในวชิ าภูมิศาสตร์ การจัดทาส่ือวิชาคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ เป็นต้น ดังนั้นจะเห็นได้ว่า นักเรียนตาบอด สามารถเรียนรู้ได้เช่นเดียวกันกับเด็กทั่วไป เพียงแต่มีการปรับวิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้และการวัดประเมินผลให้สอดคล้องกับนักเรียน ซึ่ง การจดั การเรยี นร้สู าหรับนักเรียนตาบอด ตามทัศนะของนักการศึกษา โลเวนเฟล (Lowenfeld) น้ัน ได้ให้ ความสาคัญในเรื่องของการคานึงถึงเอกัตบุคคล โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับสภาพความต้องการและ ปญั หาของนักเรียนตาบอด สอนในเรือ่ งรปู ธรรมในชวี ติ ประจาวนั จากการไดย้ ิน การสัมผัส ไปเช่ือมโยงกับ ประสบการณ์ใหม่ เพ่ือช่วยให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ๆ เพ่ิมข้ึน โดยครูผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรยี นรูใ้ ห้กบั นกั เรยี นที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเห็นในห้องเรยี นได้ ดังน้ี 1. การเรียนการสอนในหอ้ งเรียนนั้น ครผู ูส้ อนควรอธิบายส่ือท่ีเป็นรูปภาพ หรือข้อความต่างๆ ให้ ละเอียด ชดั เจนมากทส่ี ุด ควรให้โอกาสนกั เรยี นได้จินตนาการตาม และควรถามนักเรียนเป็นระยะว่าเรียน ทันหรอื ไม่ ตอ้ งการใหอ้ ธิบายสว่ นใดเพมิ่ เตมิ 2. เอกสารสาหรบั นักเรียนท่มี ีสายตาเลือนราง ควรเป็นตัวอักษรที่ขยายใหญ่ อาจใช้เคร่ืองช่วยใน การมองเห็น เช่น เคร่ืองขยายตัวอักษรผ่านจอโทรทัศน์หรือจอคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์ท่ีนักเรียนท่ีมี สายตาเลือนรางใช้ จะมีโปรแกรมขยายหน้าจอ ซ่ึงจะทาให้ตัวอักษรบนหน้าจอมีขนาดใหญ่ขึ้นตามความ ตอ้ งการของผูใ้ ช้) 3. การเขียนกระดานหรือแสดงรูปภาพในการเรียนการสอนนักเรียนที่มีสายตาเลือนรางน้ัน ครผู ูส้ อนควรใช้สที ี่ตัดกัน เช่น หากกระดานเป็นสีขาวปากกาท่ีใช้ควรเป็นสีดาหรือน้าเงิน หากเป็นรูปภาพ ควรแสดงให้เหน็ เส้นตดั ต่างๆ อย่างชดั เจน 4. ในการสอบ ครูผู้สอนสามารถเลือกใช้วิธีการสอบได้หลายวิธี เช่น ฟังหรืออ่านคาถามจาก คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมอ่านหน้าจอ อักษรเบรลล์หรือให้อาสาสมัครช่วยอ่านข้อสอบ การตอบ คาถามจากข้อสอบสามารถใช้วิธีการตอบโดยพิมพ์คาตอบบนคอมพิวเตอร์ เขียนตอบเป็นอักษรเบรลล์ อัดเสียงลงเทป หรือตอบปากเปล่าแล้วให้อาสาสมัครเขียนคาตอบตามคาพูดนั้น สิ่งสาคัญในการสอบทุก ครั้งคือ ครูผสู้ อนควรเพิ่มเวลาในการทาขอ้ สอบให้นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นได้มีเวลามากกว่า นักเรียนทั่วไปประมาณ 1 เท่าหรอื พจิ ารณาตามความเหมาะสมกบั ข้อจากดั ของนกั เรยี น 5. การพูดคุยทักทาย ควรบอกช่ือผู้พูดก่อน เช่น “สวัสดีสรพงษ์ ผมครูสมศักดิ์นะ” เม่ือคุยหรือ ทักทายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก่อนจะไปท่ีอ่ืนควรบอกลานักเรียนทุกคร้ัง และสามารถพูดคุยโดยใช้น้าเสียง ปกติ และควรสื่อสารกบั นักเรียนโดยตรงไมค่ วรถามผา่ นบุคคลอ่นื 6. ควรจัดให้มีการสอนเสริม โดยครูผู้สอนควรจัดตารางนอกเวลานอกเหนือจากเวลาเรียนใน ห้องเรยี น เพือ่ สอนเนอ้ื หาทน่ี กั เรยี นตามไมท่ นั หรือตอ้ งอาศัยส่ือเฉพาะ เช่น คอมพวิ เตอร์ประกอบการเรยี น 7. ควรมองนกั เรียนท่ีมคี วามบกพร่องทางการเหน็ ให้เหมอื นกับคนท่ัวไป ไม่ควรแสดงความสงสาร และไม่ควรกล่าวคาชมเชยเม่ือเขาสามารถทาสิ่งต่างๆ ท่ีคนท่ัวไปสามารถทาได้ง่ายๆ เช่น เดินข้ึน-ลง บันได เป็นต้น 8. สาหรบั นกั เรียนทมี่ ีสายตาเลอื นราง ครูผู้สอนควรจดั กิจกรรมในสถานท่ีท่ีมีแสงสว่างเพียงพอ มี การกระจายของแสงท่ัวถงึ หลกี เล่ยี งแสงสะทอ้ นและพนื้ ผวิ ท่มี ีลวดลาย

43 9. ควรจัดให้มีระบบเพ่ือนช่วยเพ่ือน (Buddy System) ในด้านการช่วยอ่านหนังสือ บันทึกเสียง เนื้อหาการเรียน หรือช่วยตรวจสอบข้อมูลท่ีนักเรียนพิมพ์ และช่วยอานวยความสะดวกเพื่อนที่มีความ บกพรอ่ งทางการเหน็ ในเรือ่ งทัว่ ไป นอกจากน้ีเทคนิควิธีการสอนโดยทั่วไปอาจทาให้เด็กยังไม่เข้าใจ ครูจึงต้องใช้เวลาในการอธิบาย มากขน้ึ หรือต้องใหเ้ วลาเด็กได้ทากจิ กรรมมากขึ้น โดยอาจมเี ทคนคิ การสอนดงั น้ี 1. อธบิ ายด้วยคาพูดทชี่ ัดเจน หรือเป็นขน้ั ตอน 2. ในวชิ าทีเ่ ป็นภาคปฏบิ ตั เิ มือ่ เดก็ ยงั ไมเ่ กดิ ความเขา้ ใจ ครูควรจะทาเป็นตวั อย่างทีละข้ันตอนและ ให้เด็กได้สัมผัสมือของครู หรือสัมผัสในส่วนท่ีครูทาหรือปฏิบัติอย่างช้าๆ ให้เด็กได้มีโอกาสสัมผัสสื่อ หรือ อุปกรณ์ท่ีครูนามาอธิบาย หรือนามาแสดงจนเด็กเกิดความเข้าใจ และสามารถใช้ได้เองในการสารวจวัตถุ สง่ิ ของบางอย่างท่ีใหญ่ครคู วรจะใหเ้ ด็กวางมือของเด็กบนมือของครู และสารวจไปด้วยกัน ไม่ควรจะจับมือ เดก็ ไปสารวจ เพราะจะทาให้เกิดความรูส้ กึ ท่ีไมเ่ ป็นอิสระ 3. ใชข้ องจริงหรอื สถานการณ์จริงให้มากทีส่ ดุ เชน่ ผลไม้ อาหาร ของใช้ต่างๆ หรือต้นไม้ต้นเล็กๆ เป็นต้น ทั้งน้ีเพ่ือให้เด็กได้เกิดความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงน้ันๆ ท้ังทางด้านกล่ิน รสหรือการสัมผัส นอกจากนห้ี ากใช้สถานการณ์จรงิ เช่น ในการสอนการแต่งกาย การรับประทานอาหารหรือการไปทัศนศึกษา นอกสถานที่ เพ่ือให้เด็กได้ยินเสียงสัตว์ หรือไปตลาดเพื่อให้เด็กรับรู้สิ่งท่ีเกิดข้ึนรอบๆ ตัวเขา ทั้งทางการได้ กลนิ่ อาหาร ได้สัมผัสสิ่งของทวี่ างขาย หรอื ได้มีโอกาสไดใ้ ชเ้ งนิ ในการใช้จา่ ย เป็นต้น ส่ิงต่างๆ เหล่าน้ีจะทา ให้เด็กเกดิ ความรู้ความเขา้ ใจมากกว่าการทคี่ รพู ูดในหอ้ งเรยี นเท่าน้ัน 4. ใชส้ ัญลักษณ์หรือหุ่นจาลองในกรณีท่ีต้องการแสดงบางสิ่งที่เด็กไม่สามารถสัมผัสได้ เช่น ภูเขา แมน่ ้า หรอื แสดงแผนผังการเดนิ ทาง เปน็ ต้น 5. ส่ือควรเน้นถึงความแตกต่างของพ้ืนผิวสาหรับเด็กท่ีตาบอด และเน้นเรื่องการตัดกันของสี สาหรับเด็กท่ีมีสายตาเลอื นราง 6. ใหเ้ ดก็ ไดม้ สี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรียนการสอนให้มากท่ีสุด เป็นการฝึกให้เด็กรู้จักการทางาน รว่ มกับผ้อู น่ื เดก็ จะเกิดความมน่ั ใจในตนเอง เกดิ ความรคู้ วามเข้าใจจากการไดเ้ รียนรู้ด้วยตนเอง 7. ครูอาจต้องทากิจกรรมร่วมกับเด็ก เพื่อเด็กจะได้ดูครูเป็นตัวอย่างในกรณีท่ีเกิดความไม่แน่ใจ หรอื ไมเ่ ขา้ ใจ และยงั เป็นการสร้างความผกู พันระหว่างครกู บั เด็กอกี ดว้ ย 8. เนน้ การใชป้ ระสาทสัมผัสท่ีหลงเหลือให้มากที่สุด เช่น การเห็นที่ยังหลงเหลืออยู่ การฟัง การดม กลิ่นหรือการชิมรส เปน็ ต้น เพราะจะเป็นประโยชนใ์ นการเรียนรสู้ ่งิ ตา่ งๆ ได้เร็วข้ึนและเข้าใจมากข้นึ 9. งานทต่ี ้องปฏิบัติบางอยา่ ง ครูควรใหเ้ ด็กได้สมั ผสั ชิ้นงานที่สาเร็จรูปก่อน เพราะเด็กจะได้ทราบ เปูาหมายของช้ินงาน และจากนั้นครูควรอธิบายเป็นขั้นตอนในการปฏิบัติอย่างช้าๆ และชัดเจน จะทาให้ เด็กมีความเขา้ ใจและสามารถปฏิบตั ไิ ด้ 10. เด็กบางคนอาจมีปัญหาในการเรียนรู้ ไม่สามารถจะทางานได้ครบข้ันตอนด้วยตนเอง เช่น การแต่งกาย การทาความสะอาดร่างกาย หรอื การรับประทานอาหาร เป็นต้น การใช้เทคนิค การวิเคราะห์ งาน (Task Analysis) จะทาให้เด็กสามารถบรรลุเปูาหมายได้ และอาจต้องใช้เวลาในการเรียนการสอน มากกว่าเดก็ คนอน่ื ๆ

44 กล่าวโดยสรุปหลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ เห็น ประกอบดว้ ยหลัก 5 ประการ คือ 1. ตอ้ งจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหส้ นองตามความต้องการของเดก็ เป็นรายบุคคล 2. ตอ้ งใช้อุปกรณ์ท่เี ปน็ รูปธรรม ให้โอกาสในการสารวจได้สมั ผัสจรงิ ด้วยมือ 3. แสดงความสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ได้เรียนรู้ความสัมพันธ์ของโครงสร้างท้ังหมดใน เวลาเดยี วกัน 4. เพม่ิ เตมิ สิง่ เร้า โดยต้องวางแผนการจดั กิจกรรม และประสบการณ์เพือ่ เพิ่มพูนความรู้ที่เด็กมีอยู่ ขยายความสนใจไปสสู่ งิ่ แวดล้อม ชมุ ชน สงั คม 5. ให้มีโอกาสปฏบิ ัติกิจกรรมดว้ ยตนเองตามลาพงั และให้คน้ คว้าด้วยความอยากรู้อยากเหน็ นวตั กรรมและเทคโนโลยี สง่ิ อานวยความสะดวก ส่ือ บรกิ ารและความชว่ ยเหลอื อืน่ ใด ทางการศึกษาสาหรับนักเรียนท่มี ีความบกพร่องทางการเห็น การผลติ ส่อื ประกอบการเรียนการสอนสาหรับนกั เรยี นท่ีมคี วามบกพร่องทางการเห็น ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา มีความจาเป็นต่อการเรียนรู้ทั้งของนักเรียนทั่วไป และ นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น สาหรับนักเรียนทั่วไปจะมีสื่อมากมายหลายชนิดให้เลือกใช้ แต่สาหรับ นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น ส่ือท่ีใช้ประกอบการเรียนการสอนจะต้องผลิตขึ้นเองจากหน่วยงานท่ีมี หน้าท่ีรับผิดชอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยบุคลากรท่ีมีความรู้ความชานาญในการใช้เคร่ืองมือ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีเฉพาะในการผลิต แต่ก่อนการผลิตส่ือสาหรับผู้ท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นเป็น เรื่องยุ่งยาก และใช้เวลาในการผลิตมาก เนื่องจากต้องผลิตด้วยมือ แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีได้มาเข้ามามี บทบาทในการผลิตส่ือมากขึ้น ทาให้สามารถผลิตส่ือได้อย่างรวดเร็ว หลากหลาย ทันสมัย และเอื้อต่อการ เรยี นรูส้ าหรับนักเรียนทม่ี ีความบกพร่องทางการเห็นมากขน้ึ ประโยชนข์ องส่ือการเรยี นการสอนสาหรับนกั เรียนทมี่ ีความบกพร่องทางการเห็น 1. ทาใหเ้ กิดความคดิ รวบยอด (Concept) ในเรอื่ งตา่ งๆ ไดถ้ ูกต้อง 2. ช่วยสร้างจินตภาพในสมอง ทาใหเ้ กิดความทรงจาท่ดี ี 3. ชว่ ยสร้างความสมั พนั ธใ์ นการทางานของมอื กบั สมอง (ส่อื ประเภทสัมผัส) 4. ช่วยเพม่ิ ประสิทธภิ าพการรับร้ขู ้อมูลจากการฟังหรอื อา่ นใหช้ ดั เจนขน้ึ 5. ช่วยให้เรียนรู้ในเร่ืองที่ซับซ้อนที่ไม่สามารถสัมผัสของจริงได้ เช่นอวัยวะภายในร่างกาย และระบบ การทางาน 6. ชว่ ยให้มีความเขา้ ใจในบทเรยี นทาให้การเรยี นการสอนมีประสิทธิภาพสัมฤทธิผ์ ลตามจดุ มุ่งหมาย 7. กระตุ้นให้นักเรยี นทต่ี าบอดสนทิ และเหน็ เลือนรางมคี วามใฝรุ ใู้ ฝเุ รียนมากขนึ้ 8. ช่วยให้นักเรียนมีประสบการณ์ในการใช้สื่อและอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อเป็นพ้ืนฐานในการเรียนบทเรียน ตอ่ ๆ ไปท่ียากขนึ้ ตามลาดับ 9. ชว่ ยฝกึ ประสาทการรบั รูท้ เี่ หลืออยูใ่ หม้ ปี ระสิทธภิ าพในการใชง้ าน 10. ช่วยให้นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเห็นมีความเช่ือม่ันในสิ่งท่ีตนได้เรียนรู้จากสื่อและ อุปกรณต์ ่างๆ ซงึ่ สามารถถ่ายทอดและแลกเปลย่ี นข้อมลู ความคิดเห็นกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ประเภทของสื่อสาหรับผูท้ ม่ี ีความบกพร่องทางการเหน็

45 ส่ือประกอบการเรียนการสอนสาหรับผู้ท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นท่ีดีท่ีสุด ได้แก่สื่อของจริง แต่ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบางครั้ง ครูผู้สอนไม่สามารถนาสื่อของจริงมาให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ได้ สื่อในรูปแบบอื่น เช่น ของจาลอง หนังสืออักษรเบรลล์ สื่อภาพนูน หนังสือแถบเสียง หรือสื่ออ่ืนใดท่ีสามารถ นามาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ไม่ว่าจะเป็นสื่อประเภทใด การนาสื่อมาใช้ครูผู้สอน จะต้องคานึงถึงเร่ือง การจัดหาส่ือได้ง่ายในท้องถ่ิน มีความเหมาะสมไม่เล็ก หรือใหญ่จนเกินไป มีความสะดวก และปลอดภัยในการใช้ มีพื้นผิวสัมผัสท่ีแตกต่างกัน มีรายละเอียดสาคัญๆ ท่ีส่ือความหมายได้ชัดเจน สนอง ความตอ้ งการจาเปน็ ของผ้เู รยี น และสามารถพฒั นาผู้เรยี นให้เกดิ การเรียนรู้ไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ ส่ือสาหรบั นักเรยี นที่มีความบกพรอ่ งทางการเหน็ 1. ของจรงิ 2. ของจาลอง 3. หนังสืออักษรเบรลล์ 4. สื่อภาพนนู 5. หนงั สือเสียง 6. สอ่ื อักษรเบรลล์ประกอบภาพนนู 7. หนังสือปกตทิ ่ีขยายให้ใหญ่ขนึ้ ตามความเหมาะสมของนกั เรยี นทีม่ สี ายตาเลือนราง 8. สอ่ื สาหรบั นกั เรยี นปกติทสี่ ามารถนามาใช้กับนกั เรียนทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ ได้ 9. สือ่ อน่ื ๆ ท่สี ามารถนามาประยกุ ตใ์ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ภาพตัวอยา่ งของจาลอง ภาพตัวอย่างส่ือภาพนูน