คำชีแ้ จง ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง วิชาความรู้พื้นฐานด้านการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการและผู้เรียนท่ีมี ความต้องการจาเป็นพิเศษ เรื่อง การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้เล่มนี้ ได้รวบรวมเน้ือหาจากเอกสาร บทความของนักการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสาหรับบุคคล ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ซ่ึงมีเนื้อหาสาระท่ีครูและบุคลากรที่สนใจควรทราบ ได้แก่ ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ประเภท ประวัติความเป็นมาทางการศึกษา การคัดกรอง เบื้องตน้ หลักการการใหค้ วามช่วยเหลือระยะ แรกเริ่ม เทคนิควิธีการช่วยเหลือ การจัดการเรยี นรูส้ าหรับบุคคล ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก สาหรับบุคคล ท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล เพื่อให้ครูและผู้สนใจนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรียนการสอน รวมถึงการพฒั นาศักยภาพของผู้เรยี นให้มปี ระสทิ ธิภาพสงู ขน้ึ พร้อมทั้งนาแนวทาง ความรู้แนะนาแก่ ผ้ปู กครองต่อไป คณะทางาน
สำรบัญ หน้ำ คำนำ คำชีแ้ จง สำรบญั แนวทำงกำรใช้ชดุ เอกสำรศึกษำดว้ ยตนเอง หนว่ ยท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเก่ียวกบั บุคคลทีมีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้……………………………………….. 1 - ความเปน็ มาและความสาคัญ............................................................................................ 1 - คาจากัดความของ “เด็กทม่ี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้”.............................................. 3 - สาเหตุของความบกพร่องทางการเรยี นรู.้ .......................................................................... 5 หนว่ ยที่ 2 การตรวจสอบ ประเมิน คดั กรอง/คดั แยกผเู้ รียนที่มคี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ (กรณีศึกษา)………………………………………………………………………………………………………..….. 7 - การวเิ คราะหผ์ เู้ รียน.......................................................................................................... 7 - ประเภทและลกั ษณะของผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร.ู้ .................................. 9 - ปัญหาหรือความยากลาบากทางการเรยี นร้.ู .................................................................... 11 - กรณีศกึ ษา....................................................................................................................... 17 หนว่ ยท่ี 3 หลักการ รปู แบบ เทคนิค/วธิ กี ารสอน และการจดั หา ผลติ และใชเ้ ทคโนโลยี สง่ิ อานวยความสะดวก สอ่ื บรกิ ารและความชว่ ยเหลอื อนื่ ใดทางการศึกษา สาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (กรณีศึกษา)……………………………………..… 19 - แนวทางพัฒนานักเรียน กลยทุ ธ์ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือชว่ ยเหลอื บุคคล ท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนร.ู้ ...................................................................................... 19 - ตวั อย่างนวัตกรรมทใี่ ช้พฒั นานักเรยี นท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนร.ู้ ........................ 24 - เทคนคิ การสอนเพื่อชว่ ยใหอ้ ่านคล่อง (Reading Practice)…………………..……………….. 25 - เทคนิคการแก้ไขคาผดิ (Error Correction)………………………………..……………………….. 25 - รายการส่ิงอานวยความสะดวกทางการศึกษาสาหรบั เด็กทีม่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ 33 หนว่ ยที่ 4 การวัด ประเมินผล และตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนท่มี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ (กรณีศึกษา)……………………………………………………………………………………………….………….. 35 - แนวทางการดแู ล/ชว่ ยเหลือนักเรียนทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการเรียนร้ใู นโรงเรยี น.......... 35 สรุปสำระสำคัญ………………………………………………………………………………………………………………………… 37 แหล่งข้อมลู เพ่ิมเตมิ ที่ตอ้ งศึกษำ…………………………………………………………………………………………………. 38 บรรณำนุกรม............................................................................................................................................. 42 แบบทดสอบทำ้ ยบท งำนเขยี นสะท้อนคดิ ภำคผนวก
แนวทำงกำรใชช้ ุดเอกสำรศกึ ษำด้วยตนเอง ท่ำนท่ศี ึกษำเอกสำรควรปฏิบตั ิดงั ต่อไปน้ี 1. ศกึ ษาขอบข่ายของเน้ือหา สาระสาคญั และจุดประสงค์ 2. ศกึ ษาขอบข่ายของเนื้อหาและทาความเข้าใจเน้ือหาอย่างละเอยี ด 3. ศกึ ษาแหล่งความรู้เพ่ิมเติม 4. โปรดระลกึ ไว้เสมอว่าการศึกษาจากเอกสารด้วยตนเองเป็นเพยี งส่วนหนึง่ ของการพฒั นาความรู้ ด้านการศึกษาพเิ ศษเทา่ นั้น ควรศกึ ษาค้นคว้าและหาประสบการณ์ตรงจากแหล่งความรู้อน่ื ๆ เพมิ่ เตมิ
1 หนว่ ยท่ี 1 ความรทู้ ่วั ไปเกยี่ วกบั บุคคลทีมีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ 1. ความเป็นมาและความสาคัญ ระหว่างปี ค.ศ. 1800-1930 บุคคลสาคัญชื่อ Gall ได้ศึกษาการทางานของสมองในผู้ใหญ่ที่สูญเสีย ความสามารถในการพูดเพื่อแสดงความรู้สึกและความคิดของตนเอง โดยที่บุคคลเหล่าน้ีไม่ได้มีปัญหาเกี่ยวกับ ความบกพร่องทางสติปัญญา แต่ในรายงานไม่ได้กล่าวถึงความยากลาบากว่าเนื่องมาจากอุบัติเหตุหรือ ความบาดเจ็บทางกายบางประการท่ีอาจส่งผลต่อการทางานของสมอง และ Goldstein ได้ศึกษากับทหาร ที่สมองได้รับความเสียหายหรือบาดเจ็บในระหว่างสงครามโลกคร้ังท่ี 1 และพบว่าทหารเหล่านี้จะมีปัญหา เกี่ยวกบั การรบั รูท้ างการเห็น ความยากลาบากในการรับรู้ข้อมูลจากฉากหน้าและฉากหลัง และปัญหาในการให้ความสนใจ กับวัตถุหรือส่ิงของที่ไม่ใช่สิ่งสาคัญ ซ่ึงการศึกษาการทาหน้าท่ีท่ีบกพร่องของสมองในผู้ใหญ่ครั้งนี้มีอิทธิพล ไปสู่การศึกษาเก่ียวกับความบกพร่องทางด้านการเรียนรู้ของเด็ก ๆ ซ่ึง Strauss และ Werner ได้ศึกษาเป็นคร้ังแรก เก่ียวกับปัญหาของเด็กท่ีบาดเจ็บทางสมองและเด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา พบว่าเด็กเหล่าน้ีมีปัญหา เช่นเดียวกับที่พบปัญหาของทหาร และมีปัญหาในการเรียนรู้วิชาการเช่นเดียวกับที่พบในทหาร หลังจากนั้น การศึกษาเพ่ือช่วยเหลือเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ได้ก้าวหน้าข้ึนอย่างรวดเร็ว โดยมีทฤษฎีต่าง ๆ เทคนิคการประเมินและยุทธวิธีในการสอนเด็กเกิดขึ้นมากมาย รวมทั้งได้มีกฎหมายคุ้มครองสิทธิของเด็กและ ครอบครวั ด้วย (Bakken,2007) Samuel Kirk นักการศึกษาชาวอเมริกัน เป็นผู้เร่ิมใช้คาว่า “Learning Disabilities หรือ ที่เรียกว่า LD” ในปี ค.ศ. 1963 เพ่ืออธิบายบุคคลที่ดูเหมือนปกติในด้านสติปัญญา แต่มีความยากลาบาก ในการเรียนรู้ทางวิชาการในบางเรื่อง เช่น การอ่าน การสะกดคา การเขียน การพูด และหรือการคิดคานวณ (Lerner, 2006 ; Bender, 1996 ; Smith et al ., 2006) โดยพบว่าความบกพร่องเหล่านี้ เป็นผลทาให้เกิด ความไม่สอดคล้องหรือเกิดช่องว่าง (gap) ระหว่างผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกับความสามารถทางสติปัญญา ทแ่ี ทจ้ ริง สาหรับในประเทศไทยคาว่า “Learning Disabilities” มีคาท่ีใช้เรียกกันหลายคา เช่น ความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ (ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์, 2543) ปัญหาในการเรียนรู้ (ผดุง อารยะวิญญู, 2544) ความบกพร่อง ด้านการเรียนรู้ (เบญจพร ปัญญายง) ความดอ้ ยความสามารถในการเรียน (ศรเี รือน แก้วกังวาน, 2548) เป็นต้น แต่สาหรับในที่น้ีจะใช้คาว่า “ความบกพร่องทางการเรียนรู้” ซึ่งเป็นคาท่ีใช้ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552 (พระราชบัญญัติการจัด การศกึ ษาสาหรับคนพกิ าร พ.ศ. 2551 และอนบุ ญั ญตั ิตามพระราชบัญญัติฯ) แม้ว่ายังไม่มีคาจากัดความใดท่ีถือว่ามีความสมบูรณ์ เน่ืองจากลักษณะของความยากลาบาก ในการใชล้ ักษณะเหลา่ น้ันมาจาแนกผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Swanson, 2000) ดังนั้นบ่อยคร้ัง ท่ีผู้เรียนกลุ่มนี้ถูกเข้าใจว่าเป็นผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา และในอดีตอาจถูกจัดให้เรียนร่วมกับ ผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา ด้วยเหตุนี้จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีผู้เกี่ยวข้องจะต้องมีความรู้ความ
2 เข้าใจลักษณะท่ีแสดงถึงความบกพร่องทางการเรียนรู้ รวมทั้งแนวทางวิเคราะห์ผู้เรียนเพ่ือค้นหาสิ่งท่ีเป็น อุปสรรคขัดขวางการเรียนรู้ หรือความยุ่งยากในการเรียนรู้ในเร่ืองใดให้ชัดเจนเสียก่อน หลังจากนั้น จะต้อง จัดหาหรือพัฒนารูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมกับผู้เรียนเป็นเฉพาะบุคคล จึงจะสามารถพัฒนาผู้เรียนท่ีมี ความบกพร่องทางการเรียนรู้ได้ตรงกับความเป็นจริง สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่แตกต่างกัน และจะสามารถ ชว่ ยให้ผ้เู รยี นประสบผลสาเรจ็ ได้อย่างเปน็ รูปธรรม สาหรับลักษณะบ่งช้ีถึงความบกพร่องของผู้เรียน ท่ีจะแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนอาจมีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้น้ัน ครูผู้สอนมักพบว่าผู้เรียนบางคนมีปัญหาด้านการอ่าน เช่น ผู้เรียนอ่านหนังสือไม่ออก อ่าน สะกดคาง่าย ๆ ไม่ได้ สับสนในการอ่านตัวอักษร หรือคาท่ีคล้ายกัน ไม่เข้าใจเร่ืองที่อ่านหรืออ่านแล้ว จับใจความไม่ได้ บางคนเขียนหนังสือไม่ได้ แม้ว่าจะคัดลอกจากในหนังสือหรือบนกระดานดาก็ตาม เขียนหนังสือไม่เป็นตัว เขียนอักษรกลับหลัง เขียนตัวอักษรหลายลักษณะปะปนกัน เขียนแล้วอ่านไม่รู้เรื่อง ส่วนในด้านคณิตศาสตร์นั้น ผู้เรียนบางคนไม่สามารถคิดคานวณง่าย ๆ ได้ ไม่เข้าใจความคิดรวบยอด ทางคณิตศาสตร์ จาหลักเลขไม่ได้ เป็นต้น ท้ัง ๆ ที่ครูผู้สอนทราบดีว่าผู้เรียนกลุ่มนี้ไม่ได้บกพร่องทางสติปัญญา หรือไม่ได้บกพร่องในด้านอ่ืน ๆ รวมทั้งไม่ได้เกิดจากความด้อยโอกาสในการใช้ภาษาอื่น เช่น เด็กชาวเขา หรือ ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม โดยพบว่าผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ในเร่ืองอื่นได้ดี หรือดูเป็นปกติเช่นเดียวกับผู้เรียน คนอื่น ๆ ในชั้นเรียนเดียวกัน แต่แม้ว่าครูผู้สอนได้พยายามจัดการเรียนการสอนเพื่อแก้ปัญหาเหล่าน้ัน โดยใช้ สื่อและจัดการเรียนการสอนให้อย่างเต็มท่ีแล้ว ผู้เรียนก็ยังความยากลาบากในการเรียนในเร่ืองดังกล่าว ซ่ึง พบว่าผู้เรียนบางคนไม่มีความก้าวหน้าทางการเรียนเลย ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนขาดความมั่นใจท้อถ้อย หลีกเล่ียง หรอื ไมส่ นใจเรียนรู้ในเรื่องน้ัน เพราะคิดว่าตนเองด้อยความสามารถในการเรียนรู้ และแม้ว่าจะพยายามเรียนรู้ แล้วก็ยังพบวา่ ตนเองไมป่ ระสบผลสาเรจ็ เท่าที่ควร นอกจากนี้ อาจทาให้ครูผู้สอนมีความกังวลใจมากข้ึน เพราะ เม่ือผู้เรียนได้เรียนในชั้นที่สูงข้ึน แต่กลับพบว่าปัญหาด้งกล่าวก็ยังคงมีอยู่ โดยพบว่าย่ิงมี ความแตกต่างจากระดับความสามารถในระดับชั้นท่ีกาลังเรียนมากย่ิงข้ึน ซึ่งอาจพบว่าผู้เรียนมีความสามารถ ตา่ งกว่าชน้ั เรียนปจั จบุ ันถงึ 2 ชัน้ เรียนหรอื มากกวา่ นั้น ในปัจจุบันจานวนผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้มีมากข้ึนเร่ือย ๆ และพบได้ทุกวัย โดย ในประเทศสหรัฐอเมริกามีการสารวจพบว่าเด็กพบว่าเด็กกลุ่มนี้มีจานวนมากกว่าเด็กพิเศษกลุ่มอื่น ๆ ท้ังหมด (Hardman et al., 1996 ; Turner et al ., 2004 ; Smith et al ., 2006) สาหรับในประเทศไทย จากการศึกษาของศรีเรือน แก้วกังวาน (2540 อ้างถึงในศรีเรือน แก้วกังวาน, 2548) พบว่า จานวนของผู้เรียน กล่มุ น้มี แี นวโนม้ เพิ่มมากขน้ึ เช่นกัน ดังนัน้ ในปัจจบุ ันหลายประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา มีการ จดั ต้ังหนว่ ยงานทงั้ ของภาครัฐและภาคเอกชนเพ่ือช่วยเหลือผู้เรียนกลุ่มนี้อย่างจริงจัง ส่วนในประเทศไทยเริ่มมี การศึกษาเกีย่ วกับผู้เรียนกลมุ่ นี้อย่างจริงจังเม่อื ไมก่ ปี่ ีมานี้เอง ซ่งึ จากการสารวจจานวนผู้เรียนที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ในประเทศไทย พบว่า ในปี 2561 มีผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ จานวน 332,406 คน คิดเป็นร้อยละ 81.97 ของจานวนผู้เรียนพิการทั้งสิ้น 405,507 คน (ระบบสารสนเทศการศึกษาพิเศษและ การศึกษาสงเคราะห์ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ, 2561) ดังนั้นจึงเป็นปัญหาสาคัญอย่างย่ิง ทจ่ี ะต้องเร่ง ดาเนินงานให้มีความชัดเจนย่ิงขึ้นท้ังการวิเคราะห์คัดแยกเพ่ือรู้จักผู้เรียนและการกาหนดแนวทาง
3 ในการพัฒนาผู้เรียนกลุ่มนี้ ทั้งนี้โดยมีรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมอย่างหลากหลาย ซ่ึงนอกจากจะสามารถ ป้องกันกลุ่มเส่ียง ซึ่งพบว่ามีลักษณะบางประการท่ีอาจเป็นความบกพร่องเหล่านี้ตั้งแต่เมื่อเร่ิมเรียนระดับชั้น ตน้ ๆ แลว้ ยังนาส่กู ารแกป้ ัญหาและพฒั นาในเรื่องท่ีเปน็ ความบกพรอ่ งดงั กล่าวอย่างชดั เจนและเป็นรูปธรรม ในเอกสารเล่มน้ีจะนาเสนอความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ หรือเด็ก LD โดยอธบิ ายปญั หาหรือความยากลาบากในด้านต่าง ๆ ของผู้เรยี นกลุม่ นี้ รวมทั้งลักษณะใดที่บ่งช้ีได้ว่าผู้เรียน ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เน้ือหาเร่ืองการคัดแยกและวินิจฉัยข้อบกพร่องของผู้เรียนรวมถึงเคร่ืองมือ และวิธกี ารในการตรวจสอบทมี่ ีความเปน็ ปรนัยและเช่ือถือได้ ต่อจากนั้นจะนาเสนอตัวอย่างนวัตกรรม (เทคนิค วิธีการ และส่ือการเรียนการสอน) ที่เคยใช้ได้ผลดีมาเป็นตัวอย่างในการนาไปพัฒนาผู้เรียนเพื่อให้มีโอกาส ประสบผลสาเร็จในการเรียนและการดารงชีวิตในสังคมเช่นเดียวกับผู้เรียนคนอ่ืน ๆ นอกจากน้ีคาดหวังว่าจะ เกิดการคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการสอนเพ่ิมข้ึนด้วย โดยนวัตกรรมดังกล่าว สามารถนามารวบรวมเพิม่ เตมิ สาหรับการพฒั นางานในช้ันเรยี นให้มีประสิทธภิ าพ 2. คาจากดั ความของ “เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรยี นรู้” นกั จติ วิทยาและนกั วิชาการศึกษาหลายทา่ น ไดใ้ ห้คาจากัดความเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ซง่ึ มคี วามหมายตรงกบั ภาษาองั กฤษว่า Learning Disabilities ใช้ช่ือย่อว่า LD ในท่ีน้ีจะนาเสนอคาจากัดความ ทน่ี ิยมใช้กนั อยโู่ ดยท่ัวไป ดังตอ่ ไปน้ี คณะกรรมการร่วมแห่งชาติว่าด้วยความบกพร่องทางการเรียนรู้ (National Joint Committee Disabilities: NJCLD) ให้คาจากัดความ “ความบกพร่องทางการเรียนรู้” ว่าหมายถึง ความบกพร่อง ที่มีลักษณะหลากหลายรูปแบบ ซ่ึงแสดงออกให้เห็นอย่างชัดเจนถึงความยากลาบากในการเข้าใจ และการใช้ ทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน การให้เหตุผลและหรือทักษะทางคณิตศาสตร์ โดยสันนิษฐานว่าอาจเกี่ยวข้อง กับความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง และหากเกิดกับบุคคลใดแล้วอาจคงอยู่ไปตลอดชีวิตของบุคคล เหล่านั้น โดยบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้อาจแสดงออกถึงปัญหาทางพฤติกรรม ปัญหาการรับรู้ ทางสงั คมและการปฏสิ ัมพนั ธ์กบั ผ้อู ืน่ แต่ปัญหาเหล่านี้ไม่ได้เป็นองค์ประกอบของความบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยตรง และแม้ว่าความบกพร่องทางการเรียนรู้อาจเกิดร่วมกับความบกพร่องอย่างอ่ืน เช่น ความบกพร่อง ทางดา้ นการรบั รู้ ความบกพร่องทางสติปัญญา ความบกพร่องทางอารมณ์ หรืออิทธิพลจากภายนอกอ่ืน ๆ เช่น ความแตกต่างทางวัฒนธรรมการสอนท่ีไม่เหมาะสม แต่ความบกพร่องหรืออิทธิพลจากภายนอกเหล่าน้ี ไมไ่ ดเ้ ป็นสาเหตโุ ดยตรงของความบกพรอ่ ง ทางการเรยี นรู้ ในทางกฎหมาย ซึ่งว่าด้วยการศึกษาสาหรับผู้ที่มีความบกพร่อง (Individuals with Disabilities Education Act: IDEA) (IDEA, 2004) ของสหรัฐอเมริกาได้ให้คาจากัดความว่า “ความบกพร่องทางการเรียนรู้” ว่าหมายถึง ความบกพร่องอย่างใดอย่างหน่ึง หรือมากกว่าหนึ่งอย่างทางกระบวนการพ้ืนฐานทางจิตวิทยา ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ความเข้าใจหรือการใช้ภาษา การพดู การเขียน ซ่ึงอาจแสดงออกถึงความบกพร่องในความสามารถ ทางการฟัง การคิด การพูด การอ่าน การเขียน การสะกดคา หรือการคิดคานวณทางคณิตศาสตร์ และยัง รวมไปถึงความบกพร่องทางการรับรู้ ความบาดเจ็บทางสมอง ความบกพร่องเพียงเล็กน้อยของการทาหน้าท่ี ของสมอง ความบกพร่องทางการอ่าน (dyslexia) ความบกพร่องในการพูดและในการเข้าใจภาษาพูดหรือ
4 ภาษาเขียน (aphasia) แต่ไม่ครอบคลุมความบกพร่องทางการได้ยิน ความบกพร่องทางการเคล่ือนไหว ความบกพรอ่ งทางสติปัญญา และความบกพร่องทางอารมณ์ รวมท้ังความด้อยโอกาสอันเนื่องมาจากเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม อย่างไรก็ตามคาจากัดความโดย IDEA ยังเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ว่าขาด ความชดั เจน และมคี วาม ยากลาบากในการใช้จาแนกเดก็ ท่มี คี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ (Swanson, 2000) Gearheart (1977) ได้ให้ความหมายของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ว่าหมายถึง เด็กท่ีมี ความเฉลียวฉลาดเหมือนเด็กปกติท่ัว ๆ ไป หรือบางคนอาจฉลาดกว่าเด็กปกติทั่วไป แต่เด็กเหล่านี้มีปัญหา ในการเรียน ทาให้มีผลการเรียนต่างเมื่อเทียบกับเด็กอ่ืนในวัยเดียวกัน ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างความเฉลียวฉลาด ที่แท้จริงกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ศรียา นิยมธรรม (2540) ได้ให้ความหมายของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disabled Children) ว่าหมายถึง เด็กที่มีความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างของกระบวนการ พื้นฐานทางจิตวิทยาการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับความเข้าใจ การใช้ภาษาพูด หรือภาษาเขียน ซ่ึงความผิดปกตินี้ อาจเห็นได้ในลักษณะของการมีปัญหาในการรับฟัง การคิด การพูด การอ่าน การเขียน การสะกดคา หรือการ คานวณ ตลอดจนการรับรู้ ว่าเป็นผลจากความผิดปกติทางสมอง แต่ไม่รวมถึงเด็กที่มีปัญหาในการเรียน อันเนื่องมาจากการมองไม่เห็น ปัญญาอ่อน การไม่ได้ยิน การเคล่ือนไหวไม่ปกติ เน่ืองจากร่างกายพิการ มีอารมณ์แปรปรวน หรือเดก็ ทดี่ ้อยโอกาสทางการศึกษา ผดุง อารยะวิญญู (2544) ได้กล่าวถึง คาจากัดความของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นที่ยอมรับและใช้กันอย่างแพร่หลายก็คือ คาจากัดความของกระทรวงศึกษาธิการของสหรัฐอเมริกา (U.S. Office of Education) และของคณะกรรมการร่วมแห่งชาติว่าด้วยความบกพร่องทางการเรียนรู้ (The National Joint Committee on Learning Disabilities - NJCLD) ไว้ว่า ความบกพร่องทางการเรียนรู้ เป็นคาท่ีหมายถึงความผิดปกติท่ีมีลักษณะหลากหลายท่ีปรากฏให้เห็นเด่นชัดถึงความยาก ลาบากในการฟัง การพูด การอา่ น การเขียน การให้เหตผุ ล และความสามารถทางคณิตศาสตร์ ความผิดปกติน้ีเกิดข้ึนภายในตัวเด็ก โดยมีสาเหตุสาคัญมาจากความบกพร่องของระบบประสาทส่วนกลาง ปัญหาบางอย่างอาจมีไปตลอดชีวิต ของบุคคลผู้นั้น นอกจากนี้บุคคลที่มีความบกพร่องดังกล่าวอาจแสดงออกถึงความไม่เป็นระบบระเบียบ ขาดทักษะทางสังคม แต่ปัญหาเหล่านี้ไม่เก้ือหนุนต่อสภาพความบกพร่องทางการเรียนรู้โดยตรง แม้ว่าสภาพ ความบกพร่องทางการเรียนรู้จะเกิดควบคู่ไปกับสภาพความบกพร่องทางร่างกายอ่ืน ๆ เช่น การสูญเสียสายตา หรือความบกพร่องทางสติปัญญา หรือความบกพร่องทางร่างกายอื่น ๆ หรืออิทธิพลจากภายนอก เช่น ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ความด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม หรือการสอนท่ีไม่ถูกต้อง แตอ่ งคป์ ระกอบเหล่านม้ี ิได้เป็นสาเหตุสาคญั ของความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้โดยตรง ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์ (2543) ได้ให้ความหมายของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ว่าหมายถึง เด็กที่ไม่สามารถจะบรรลุผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทั้ง ๆ ท่ีมีศักยภาพ แต่ความบกพร่องน้ันไม่ได้เกิดมาจาก สาเหตุทางร่างกาย เช่น ปัญหาทางการมองเห็น หรือปัญหาทางการได้ยิน เด็กกลุ่มนี้จะมีกระบวนการเรียนรู้ ท่ีบกพร่อง จะมีความยากลาบากในการอ่าน การเขียน การคิดคานวณ การพูด การส่ือสาร การใช้ภาษาและ การใช้กลา้ มเนอื้ เคลื่อนไหว
5 กล่าวโดยสรุป เน่ืองจากลักษณะของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้มีความหลากหลาย ยังไม่ชัดเจน และมีความยากลาบากในการใช้จาแนกบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ดังนั้น การให้ คาจากัดความของเด็กท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ จึงมีความหลากหลายแตกต่างกันไปด้วย ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ ผู้ให้คาจากัดความว่าจะยึดแนวคิดใด อีกท้ังในปัจจุบันการให้ความหมายของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการ เรียนรู้ก็ยังคงมีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา โดยมีความพยายามที่จะให้คาจากัดความที่มีความครอบคลุม ลักษณะความบกพร่องท่ีหลากหลายของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม คาจากัดความ ขา้ งตน้ นับเป็นคาจากดั ความที่ได้รับการยอมรับและนยิ มใช้กนั อย่โู ดยทัว่ ไป 3. สาเหตุของความบกพร่องทางการเรียนรู้ ผดุง อารยะวิญญู (2544) กล่าวไว้ว่า ความบกพร่องทางการเรียนรู้ก่อให้เกิดปัญหาในการเรียน เน่ืองจากเดก็ ไมส่ ามารถเรียนได้ดีเท่ากบั เด็กปกตทิ ั่วไป การคน้ หาความบกพรอ่ งของเด็กส่วนมากเป็นหน้าที่ของ บุคคลากรทางสาธารณสุข บุคลากรทางการศึกษาอาจจาแนกการรับรู้ไว้ เพ่ือจะได้หาทางจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับปัญหาของเด็กต่อไป สาเหตขุ องความบกพร่องน้ีอาจจาแนกได้ ดงั น้ี 1. การได้รับบาดเจ็บทางสมอง บุคลากรทางการแพทย์ท่ีศึกษาเกี่ยวกับเด็กที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ในหลายประเทศมีความเช่ือว่า สาเหตุสาคัญท่ีทาให้เด็กเหล่าน้ีไม่สามารถเรียนรู้ได้ดีนั้น เนื่องมาจากการได้รับบาดเจ็บทางสมอง (brain damage) อาจจะเป็นการได้รับบาดเจ็บก่อนคลอด ระหว่าง คลอด หรอื หลังคลอดก็ได้ การบาดเจบ็ นี้ทาให้ระบบประสาทสว่ นกลางไมส่ ามารถทางานได้เต็มที่ อย่างไรก็ตาม การได้รับบาดเจ็บอาจไม่รุนแรงนัก (minimal brain dysfunction) สมองและระบบประสาทส่วนกลางยัง ทางานได้ดีเป็นส่วนมาก มีบางส่วนเท่านั้นที่บกพร่องไปบ้าง ทาให้เด็กมีปัญหาในการรับรู้ ซึ่งส่งผลโดยตรง ตอ่ การเรยี นรู้ของเด็ก แตป่ ัญหานย้ี งั ไมเ่ ป็นที่ยอมรบั ทัง้ หมด เพราะเดก็ บางรายอาจเป็นกรณียกเวน้ ได้ 2. กรรมพันธ์ุ งานวิจัยทางการแพทย์เป็นจานวนมากระบุตรงกันว่าความบกพร่องทางการเรียนรู้ บางอย่างสามารถถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ได้ ดังจะเห็นได้จากการศึกษาเป็นรายกรณีพบว่า เด็กที่มี ความบกพร่องทางการเรยี นบางคน อาจมพี ี่น้องที่เกิดจากท้องเดยี วกันมคี วามบกพร่องทางการเรียนรู้หรืออาจมี พ่อแม่ พ่ี น้อง หรือญาติใกล้ชิดมีความบกพร่องทางการเรียนรู้เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงปัญหาในการอ่าน การเขียนและความเข้าใจ มีรายงานการวิจัยท่ีน่าเช่ือถือได้ว่า เด็กฝาแฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกัน (identical twin) เม่ือพบว่าฝาแฝดคนหนึ่งมีปัญหาในการอ่าน ฝาแฝดอีกคนหน่ึงมักมีปัญหาในการอ่านด้วย แต่ปัญหานี้ ไม่พบบ่อยนักสาหรับฝาแฝดที่มาจากไข่คนละใบ (fraternal twins) จึงอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่าความบกพร่อง ทางการเรยี นรอู้ าจสืบทอดทางกรรมพันธ์ุได้ 3. สิ่งแวดล้อม ในท่ีนี้หมายถึง สาเหตุอื่น ๆ ท่ีไม่ใช่การได้รับบาดเจ็บทางสมองและกรรมพันธุ์ เป็นสิ่งท่ีเกิดขึ้นกับเด็กภายหลังคลอด เมื่อเด็กเติบโตขึ้นมาในสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดความเส่ียง เช่น การที่เด็ก มีพัฒนาการทางร่างกายลา่ ช้าด้วยสาเหตุบางประการหรอื รา่ งกายได้รับสารบางประการอันเน่ืองจากสภาพมลพิษ ในส่ิงแวดล้อม การขาดสารอาหารในวัยทารกและในวัยเด็ก การสอนที่ไม่มีประสิทธิภาพของครู ตลอดจนการ ขาดโอกาสในการศกึ ษา เป็นตน้ แมว้ ่าองคป์ ระกอบทางสภาพแวดล้อมเหล่าน้ีจะไมใ่ ช่สาเหตุทีก่ ่อให้เกิดความบกพร่อง ทางการเรยี นรูโ้ ดยตรง แตอ่ งค์ประกอบเหลา่ นี้อาจทาให้สภาพการเรยี นรู้ของเด็กมีความบกพร่องมากยิง่ ขน้ึ
6 เบญจพร ปัญญายง (2543) ได้กล่าวถึงเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ว่าอาจมีสาเหตุมาจาก สมองทางานผิดปกตเิ น่อื งมาจากสาเหตดุ ังน้ี 1. พยาธิสภาพของสมอง การศึกษาเด็กที่มีบาดแผลทางสมอง เช่น คลอดก่อนกาหนด ตัวเหลือง หลงั คลอด ฯลฯ แตม่ สี ติปญั ญาปกติ พบว่ามปี ัญหาการอ่านร่วมด้วย 2. ความผิดปกติของสมองซีกซ้าย โดยปกติสมองซีกซ้ายจะควบคุมการแสดงออกทางด้านภาษา และสมองซีกซ้ายจะมีขนาดโตกว่าซีกขวา แต่เด็ก LD สมองซีกซ้ายและซีกขวามีขนาดเท่ากัน และมีความ ผดิ ปกตอิ ่นื ๆ ที่สมองซกี ซ้ายดว้ ย 3. ความผิดปกตขิ องคล่นื สมอง เด็ก LD จะมีคลน่ื แอลฟาทส่ี มองซีกซ้ายมากกวา่ เดก็ ปกติ 4. กรรมพันธ์ุ เด็กที่มีปัญหาการอ่านบางรายมีความผิดปกติของโครโมโซมคู่ท่ี 15 และสมาชิกของ ครอบครวั เคยเปน็ LD โดยทพ่ี ่อแมม่ ักเล่าว่าเม่อื ตอนเด็ก ๆ ตนเคยมลี กั ษณะคลา้ ยกัน 5. พัฒนาการล่าช้า เดิมเชื่อว่า LD มีผลจากพัฒนาการล่าช้า แต่ปัจจุบันไม่เช่ือเช่นน้ัน เพราะเม่ือโต ขน้ึ เด็กไม่ไดห้ ายจากโรคนี้ ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์ (2544) กล่าวว่า นักวิจัยได้พยายามหาสาเหตุที่ชัดเจน โดยหวังว่าในอนาคต อาจจะป้องกนั และอาจจะช่วยใหว้ ินจิ ฉัยความบกพรอ่ งทางการเรียนรไู้ ด้อย่างแม่นยา ปัจจุบันทฤษฎีที่ได้รับการ ยอมรับโดยส่วนใหญ่คือ ความบกพร่องทางการเรียนรู้มีรากฐานมาจากความผิดปกติของโครงสร้างและ การทางานของสมอง หรือหลาย ๆ กรณี ความผิดปกติน้ันเกิดขึ้นต้ังแต่ก่อนคลอด และมีงานวิจัยทาง พันธุกรรมได้ให้หลักฐานท่ีสรุปได้ว่าความบกพร่องทางการเรียนรู้โดยเฉพาะความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านการอ่านและความบกพร่องทางด้านคณิตศาสตร์น้ัน อาจมีส่วนเก่ียวข้องกับปัจจัยทางพันธุกรรมและ สิ่งแวดลอ้ ม
7 หน่วยท่ี 2 การตรวจสอบ ประเมิน คัดกรอง/คดั แยกผ้เู รียนท่มี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ (กรณีศึกษา) การวิเคราะห์ผเู้ รียน 1. ลักษณะของเดก็ ท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ในวยั ตา่ ง ๆ ในปัจจุบันเป็นที่ตระหนักแล้วว่า ความบกพร่องทางการเรียนรู้เป็นปัญหาที่สามารถปรากฏ อยู่ในช่วงวัยต่าง ๆ ของชีวิต โดยลักษณะของปัญหาอาจแตกต่างกันไปในแต่ละวัย ดังนั้น หากได้รู้ลักษณะ ของความบกพร่องทางการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะวยั ทาใหส้ ามารถช่วยเหลอื กลุ่มบุคคลเหล่านี้ในช่วงวัยต่าง ๆ ได้อย่าง เหมาะสม ในที่น้ีจาแนกลักษณะที่เป็นความบกพร่องทางการเรียนรู้เป็น 4 ช่วงวัย คือ ก่อนวัยเรียนระดับ ประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษา และวัยผู้ใหญ่ (Lerner, 2003; Lerner, 2006) ดงั มีสาระสาคญั ดังนี้ 1.1 ชว่ งกอ่ นวยั เรียน (The Preschool Level) โดยท่ัวไปนักการศึกษายังไม่เห็นด้วยที่จะคัดแยก (identify) ว่าเด็กคนใดบ้างในช่วงวัยนี้เป็น เด็ก ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เด็กท่ีมีอายุต่ากว่า 6 ขวบ ท่ีพบว่ามีความบกพร่องทางการเรียนรู้มักจะ ถูกระบุว่าเป็นเด็กที่มีความล่าช้าทางพัฒนาการ (developmental delay) หรือเป็นเด็กกลุ่มเส่ียง (children at risk) ซ่ึงไม่ถือว่าอยู่ในประเภทใด ๆ ของความบกพร่องตามที่ได้กาหนดไว้ งานวิจัยได้แสดงให้เห็นว่าการที่ เด็กได้รับการช่วยเหลืออย่างเหมาะสมตั้งแต่ในช่วงวัยเด็กเล็ก จะทาให้เป็นผลดีต่อความพยายามทางด้าน การศกึ ษาในระยะตอ่ ๆ มา (Lerner, Lowenthal & Egan, 2003 อ้างใน Lerner, 2006) ลักษณะของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในช่วงน้ี ส่วนใหญ่จะพบว่ามีความด้อยหรือ ล่าช้าไม่เป็นไปตามวัยในพัฒนาการทางด้านการเคล่ือนไหว เช่น การคลาน การเดิน การใช้กล้ามเน้ือมัดใหญ่ และมดั เล็ก มีความล่าช้าของพัฒนาการทางภาษา มีความบกพร่องทางด้านการพูด มีพัฒนาการทางสติปัญญา ท่ีล่าช้า (poor cognitive development) และมีความบกพร่องทางด้านการรับรู้ เป็นต้น ตัวอย่างปัญหา ที่สามารถเห็นได้ชัดเจนของเด็กวัยนี้ เช่น พบว่าเด็กวัย 3 ขวบ ที่มีปัญหาในการจับหรือรับลูกบอล มีปัญหา ในการกระโดด มีปัญหาในการเล่นของเล่นท่ีใช้มือประกอบ (manipulative toys) ซึ่งเป็นผลจากพัฒนาการ ทางการเคลื่อนไหวที่ล่าช้า เป็นต้น หรือเด็กวัย 4 ขวบ ที่อาจพบว่าไม่สามารถใช้ภาษาในการส่ือสารได้ การรู้ คาศัพทจ์ ากัดและไมส่ ามารถส่อื สารให้เข้าใจไดอ้ ันเป็นผล เน่ืองมาจากความบกพร่องทางด้านภาษาและการพูด และเด็กวัย 5 ขวบ ที่อาจพบว่าไม่สามารถนับ 1 ถึง 10 ได้ หรือมีความยุ่งยากในการทางาน (work puzzle) ซง่ึ เปน็ ผลมาจากพฒั นาการทางสติปัญญาล่าช้าหรือพัฒนาการไม่ได้ตามวัย (poor cognitive development) นอกจากน้ียังพบว่าเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในวัยน้ี มักมีปัญหาเก่ียวกับพฤติกรรมการไม่อยู่นิ่ง (hyperactivity) และสมาธิสนั้ (poor attention)
8 1.2 ระดับประถมศึกษา (The Elementary Level) เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้จานวนมากท่ีเริ่มแสดงถึงความบกพร่องทางการเรียนรู้ ท่ีชัดเจน เม่ือเข้าเรียนในโรงเรียนและประสบกับความล้มเหลวในการเรียนรู้ทางวิชาการ โดยส่วนใหญ่มีความ บกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน ทาให้อาจเกิดความบกพร่องทางการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ การเขียน หรือวิชาอ่นื ๆ ไดเ้ ชน่ กนั ลักษณะบางประการของเดก็ ทีม่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในวัยนี้ท่ีพบเห็นอยู่ทั่ว ๆ ไป ได้แก่ ทักษะทางการเคลื่อนไหวท่ีล่าช้าไม่สมวัย (poor motor skills) ซึ่งอาจแสดงออกโดยการจับดินสอท่ีดูงุ่มง่าม ไมถ่ ูกวธิ ี ลายมอื ย่งุ เหยิง อา่ นยาก มีความยากลาบากในการอ่าน การเขียน การคิดคานวณ การทาโจทย์ปัญหา ทางคณิตศาสตร์และการใหเ้ หตุผล เปน็ ต้น เน่ืองจากการอ่านเป็นพ้ืนฐานสาคัญในการเรียนรู้วิชาอื่น ๆ อีกท้ังหลักสูตรระดับประถมศึกษา ในช่วงหลัง ๆ มีความยากและความซับซ้อนมากข้ึน ดังน้ันการศึกษาในระดับน้ี จึงอาจพบว่าเด็กบางคนจะมี ความบกพร่องทางการเรียนรู้ในวิชาอ่ืน ๆ ด้วย เช่น สังคมศึกษา หรือวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้อาจพบปัญหา ทางอารมณ์ อันเนื่องมาจากเด็กต้องประสบกับความล้มเหลวในการเรียนปีแล้วปีเล่า โดยเฉพาะเมื่อเด็ก เปรียบเทียบความสามารถของตนเองกับเพื่อนคนอื่น ๆ และสาหรับเด็กบางคนปัญหา ทางสังคมรวมทั้งปัญหา ในการสรา้ งมิตรภาพหรือรกั ษามติ รภาพให้คงอยู่อาจเปน็ ปัญหาที่เพ่ิมมากขึน้ ดว้ ยเชน่ กัน 1.3 ระดบั มัธยมศึกษา (The Secondary Level) ในช่วงวยั นี้เดก็ จะประสบกบั ปัญหาและความยากลาบากเพ่ิมมากยิ่งขึ้น เนื่องจากความคาดหวัง ของโรงเรียนและครู ความสับสนของเด็ก รวมทั้งความล้มเหลวทางการเรียนรู้ทางวิชาการอย่างต่อเน่ือง นอกจากนตี้ ัวเด็กเองซ่ึงอยู่ในช่วงของวัยรุ่นก็เริ่มมีความกังวลถึงอนาคตของตนเอง หลังจากสาเร็จการศึกษาจาก ทางโรงเรียน ดังน้ันเด็กอาจต้องการคาปรึกษา แนะนาเก่ียวกับการเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา การประกอบ อาชพี หรือการฝึกอบรมทางวิชาชีพ สาหรบั ปัญหาของเดก็ ท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในวัยน้ี นอกจากจะ มีปัญหาทางด้านการอ่าน การพูด การเขียนการคิดคานวณ การทาโจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ การให้เหตุผล ท่ีอาจเป็นปัญหาท่ีต่อเน่ืองมาจากระดับประถมศึกษาแล้ว เด็กในช่วงวัยน้ีซึ่งเป็นวัยที่มีความรู้สึกอ่อนไหว มากกวา่ ปกติ ยังมักจะประสบกับปญั หาทางอารมณ์และสังคม รวมทั้งการเห็นคุณค่าในตนเอง (Lerner, 2006; Deshler, Ellis & Lenz, 1996) 1.4 วัยผู้ใหญ่ (The Adult Years) เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้บางคน เม่ือสาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาแล้วจะ สามารถก้าวผ่านอุปสรรคและความบกพร่องทางการเรียนรู้ของตนเองได้ โดยได้เรียนรู้ในการที่จะทาให้ความ บกพร่องทางการเรียนรู้ลดน้อยลง หรือรู้แนวทางในการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตนเอง อย่างไรก็ตาม ยังคงมีเด็ก ทีม่ คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้จานวนมากท่ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ยังคงมีต่อเนื่อง โดยท่ัวไปพบว่าอาจ มีความยากลาบากในการนาข้อมูลหรือความรู้ที่ได้เรียนรู้มาแต่เดิมมาใช้ในการเรียนรู้ ในสถานการณ์ใหม่ ๆ มีความยากลาบากในการจัดระบบความคิด มีความยากลาบากในการจดจาและประยุกต์ใช้ข้อมูลท่ีได้เรียนรู้ จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และมีความยากลาบากในการแก้ปัญหาต่าง ๆ เป็นต้น จนถึงวัยท่ีเป็นผู้ใหญ่
9 ความบกพร่องเหล่าน้ีไม่ว่าจะเป็นความยากลาบากในการอ่าน หรือความบกพร่องในทักษะทางสังคมนับเป็น ขอ้ จากดั ในความเจริญก้าวหนา้ ในงานอาชพี ของตนเอง รวมทงั้ ยังอาจเป็นปญั หาในการสร้างมิตรภาพและรักษา มิตรภาพกบั ผอู้ น่ื ใหค้ งอยอู่ กี ด้วย 2. ประเภทและลกั ษณะของผเู้ รียนที่มีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ นกั การศึกษาหลายท่านได้แบง่ ประเภทของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ไว้ดงั นี้ ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์ (2543) ได้กล่าวถึงประเภทและลักษณะของความบกพร่องทางการเรียนรู้ไว้ว่า ในอดีตเรียกการบกพร่องในการเรียนรู้ว่า เป็นความบกพร่องทางด้านทักษะทางวิชาการ (academic skill disorders) เพราะผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้มักจะตามไม่ทันเพื่อนร่วมช้ันเรียน ทางด้านวิชาการ อาจจะล้าหลังจากเพ่ือนไปหลายปีในเร่ืองของทักษะการอ่าน การเขียนหรือการคดิ คานวณ DSM IV (The Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders 4, 2000) ได้ระบุ ประเภทของความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้วา่ แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท ดงั น้ี 1. ความบกพร่องทางด้านการอ่าน (reading disorder) เป็นความบกพร่องท่ีพบบ่อยที่สุดและ มีผลกระทบต่อผู้เรียนในวัยประถมศึกษาประมาณร้อยละ 2-8 มักรู้จักกันในนามของ ดิสเลกเซีย (Dyslexia) ตัวอย่างอาการบกพร่องทางด้านการอ่าน ได้แก่ การแยกแยะหรือการจาตัวอักษร เช่น ความสับสนระหว่าง ตัวอักษร ม กับ น หรือตัวอกั ษร ถ กับ ภ ทาให้การเรียนรูเ้ ร่อื งคาศัพทเ์ ป็นเร่ืองยากสาหรับผู้เรยี น 2. ความสามารถทางด้านการเขียน (disorder of written expression) เป็นความบกพร่อง ท่ีเรียกว่า ดิสกราเฟีย (dysgraphia) มีลักษณะของการแสดงออกทางการเขียนค่อนข้างยากลาบากสาหรับเด็ก แม้จะใช้เวลาและความพยายามมากเพียงใดก็ตาม ลายมือก็แทบจะอ่านไม่ออกเลย สาเหตุของปัญหาอาจเกิด จากการทางานของสมองท่มี คี วามเกย่ี วข้องกนั ซง่ึ จะต้องมคี วามสมั พนั ธแ์ ละประสานกันเป็นอย่างดี เพื่อท่ีจะใช้ ในเรื่องคาศัพท์ หลักภาษา การเคลื่อนไหวมือ และความจาดังน้ันความบกพร่องทางด้านการเขียนอาจมีผลมา จากปัญหาด้านใดดา้ นหนึง่ ได้ เช่น ถ้าเดก็ ไม่สามารถจะแยกแยะลาดับของเสียงในคาได้ก็ จะมีปัญหาในด้านการ สะกดคา เด็กที่มีความบกพร่องทางด้านการเขียนก็อาจจะเป็นเด็กที่มีความบกพร่องทางด้านภาษา ด้านการ แสดงออกทาให้ไม่สามารถแต่งหรอื เติมประโยคใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั ภาษาได้ 3. ความบกพร่องทางด้านคณิตศาสตร์ (mathematics disorder) เช่น การคิดคานวณคณิตศาสตร์ ที่เป็นขนั้ เปน็ ตอนทีส่ ลบั ซบั ซ้อน หรอื แมว้ ่าจะเป็นการแก้โจทย์คณิตศาสตร์อย่างง่าย ๆ ก็ตาม เนื่องจากการคิด คานวณเก่ียวข้องกับการจดจาจานวนและสัญลักษณ์ ได้แก่ การจาสูตรคูณ การเรียงลาดับจานวน และยัง เกี่ยวขอ้ งกับความเข้าใจ ความคิดรวบยอดท่ีเปน็ นามธรรม เช่น หลักการตา่ ง ๆ ภาพของจานวนและเศษส่วนส่ิง ต่าง ๆ เหล่านี้อาจเป็นเร่ืองยากมากสาหรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางด้านการคิดคานวณ ท้ังนี้ปัญหาเก่ียวกับ จานวนและความคิดรวบยอด หรือหลักการพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์นั้น มีแนวโน้มที่จะปรากฏชัดตั้งแต่ในช่วงต้น ๆ ของการเรียนและความบกพร่องท่ีเกิดขึ้นในช้ันเรียนสูง ๆ ขึ้น ไปมักจะเกี่ยวข้องกับปัญหาในการใช้เหตุผล ทางคณติ ศาสตร์ 4. ความบกพร่องทีไ่ ม่สามารถเฉพาะเจาะจง (learning disorder not otherwise specified) DSM IV ยังให้รายการความบกพร่องในการเรียนรู้ประเภทอื่น ๆ อีก ที่ไม่เข้ากฎเกณฑ์ของความบกพร่องในการอ่าน
10 การเขียน การคิดคานวณ ซ่ึงอาจจะหมายรวมถึงความบกพร่องทั้ง 3 ประเภทท่ีเกิดร่วมกัน หรือเป็นความ บกพรอ่ งทีไ่ ม่ไดต้ า่ งกว่าเกณฑ์มากนกั จากที่กล่าวมาพอสรุปได้ว่า การพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และการคิดคานวณทางคณิตศาสตร์ มีแง่มุมต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต้องอาศัยความสามารถของสมองหลาย ๆ ส่วนหลาย ๆ เรื่องร่วมกัน ดังน้ันจึง ไม่น่าประหลาดใจเลยท่ีคนบางคนอาจจะมีความบกพร่องในการเรียนรู้มากกว่าหนึ่งด้าน เช่น ความสามารถ ในการเข้าใจภาษาเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้สาหรับการพูดดังน้ันความบกพร่องใด ๆ ก็ตามท่ีขัดขวาง ความสามารถทจี่ ะเข้าใจภาษาก็ย่อมไปรบกวนพัฒนาการทางการพูดและสกัดกั้นการเรียนรู้ที่จะอ่านและเขียน ดว้ ย ความผิดปกติเพียงสว่ นเดียวของการทางานของสมองกส็ ามารถทีจ่ ะมผี ลกระทบต่อ กิจกรรมประเภทต่าง ๆ ได้อย่างมากมาย นอกจากน้ียังมีความบกพร่องท่ีพบร่วมกับความบกพร่อง ในการ เรยี นรู้ ได้แก่ 1. ความบกพร่องทางสมาธิ (attention deficit hyperactivity disorders: AHDH) เด็กที่มีความ บกพร่องในการเรียนรู้ร่วมกับความบกพร่องทางด้านสมาธิ จะไม่สามารถจดจ่อและสนใจกับสิ่งท่ีจะต้องเรียนรู้ เดก็ และผ้ใู หญ่บางคนทมี่ ีความบกพร่องทางด้านสมาธิจะดูเหมือนกับเหม่อลอย ฝันกลางวันมากเกินไป และเม่ือ ดงึ ความสนใจของเขาได้สาเรจ็ ก็จะเสียสมาธไิ ดง้ า่ ย วอกแวกงา่ ย เด็กบางคนมีความบกพรอ่ งทางด้านสมาธิและ ซกุ ซนอยู่ไม่สุข บางคนมคี วามบกพร่องทางดา้ นสมาธโิ ดยทีไ่ ม่ซนเขาจะน่ิง เงยี บ ๆ เฉย ๆ แต่มีอาการเหม่อลอย บางคนมีลักษณะที่ผลีผลาม หุนหันพลันแล่น อดทนรออะไรไม่ได้ วิ่งข้ามถนนโดยไม่มองซ้ายมองขวา อาจจะ กระโดดข้ึนลงทาให้เกิดอุบัติเหตุ แขนขาหัก เป็นต้น จึงเป็นส่ิงท่ีน่าเห็นใจว่าเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการ เรียนรู้ร่วมกับความบกพร่องทางด้านสมาธิ และยังอาจมีอาการไฮเปอร์แอคทีฟ (hyper active) หรือซน มากกว่าปกติร่วมด้วย จะเป็นเด็กท่ีมีภาวะความบกพร่องท่ีรุนแรง มีผลกระทบต่อการเรียนรู้มาก และแก้ไขได้ ยากกวา่ เดก็ ท่ีมคี วามบกพร่องลกั ษณะใดลักษณะหนงึ่ เพยี งอยา่ งเดียว 2. ความบกพร่องทางด้านการสื่อสาร (communication disorders) ปัญหาการสื่อสารทางการพูด และภาษา จะเป็นตัวบ่งชี้แรกท่ีสุดของความบกพร่องทางการเรียนรู้ บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการพูดและ ภาษา จะมีความยากลาบากในการออกเสียงพูดการใช้ภาษาพูดเพ่ือการส่ือสารหรือการเข้าใจส่ิงท่ีผู้อื่นพูด นอกจากนี้ การวนิ จิ ฉยั เฉพาะเจาะจงลงไป จงึ เป็นไปตามลกั ษณะของปญั หา ได้แก่ 2.1 ความบกพรอ่ งทางดา้ นการแสดงออกด้วยภาษา (expressive language disorder) 2.2 ความบกพร่องทางด้านการรับรู้ภาษาและการแสดงออก (mixed receptive expressive language disorder) 2.3 ความบกพร่องทางด้านการออกเสยี ง (phonological disorder) จากคากล่าวข้างต้นพอสรุปได้ว่า ผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เป็นผู้ท่ีมีสติปัญญาปกติ หรือสูงกว่าปกติ แตก่ ารทต่ี อ้ งประสบกบั ความล้มเหลวในการเรียนน้ัน เน่ืองจากเกิดช่องว่าง (gap) หรือความ ไม่สอดคล้องกันระหว่างผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถที่แท้จริงทางสติปัญญา ซ่ึงเป็นผล เน่ืองมาจากความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้
11 ปัญหาหรือความยากลาบากทางการเรียนรู้ ปญั หาหรือความยากลาบากทางการเรียนรู้อาจจะแบ่งออกเปน็ 4 ด้านใหญ่ ๆ ได้ดังนี้ (Salend, 2005) 1. ความยากลาบากในการเรียนรทู้ างวิชาการ (Learning and Academic Difficulties) เนื่องจากผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้จานวนมากจะมีความบกพร่องหรือความ ยากลาบาก เก่ียวกับความจา สมาธิ หรือการจัดระบบ จึงทาให้การเรียนรู้ทางวิชาการของผู้เรียนเหล่าน้ี มีความอ่อนด้อยไปด้วย โดยผู้เรียนเหล่านี้มักประสบกับปัญหาหรือความยากลาบากเกี่ยวกับการรับข้อมูลการ ประมวลผลขอ้ มูล ความจา และการแสดงออกเกยี่ วกบั ความคดิ หรอื ความรสู้ ึกของตนเองซ่ึงความบกพร่อง หรือ ความยากลาบากเหล่าน้ีน่ีเอง ท่ีส่งผลให้พวกเขามีปัญหาหรือความยากลาบากในเรื่องของการอ่าน การเขียน และคณิตศาสตร์ สาหรับปัญหาทางด้านการอ่านน้ัน นับเป็นปัญหาหลักท่ีผู้เรียนกลุ่มนี้ประสบ โดยจากงานวิจัย พบว่า ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ถึงประมาณร้อยละ 80 ที่มีปัญหาทางด้านการอ่าน โดยปัญหา แ ล ะคว า มย า ก ล า บ า กด้ า น กา ร อ่ า น อา จ เ ห็ น ได้ จ า กก า ร ท่ีเ ด็ กไม่ ส า มา ร ถ จ า รู ป แ ล ะเ สี ย ง ของ พยั ญ ช น ะไ ด้ ไม่สามารถจาคาได้ และไม่สามารถใช้เทคนิคการเดาความหมายของคาจากบริบทได้ มีอัตราการอ่านท่ีช้ามาก มีความอ่อนด้อยในเร่ืองการฟังและการอ่านเพื่อความเข้าใจ หรืออาจอ่านหลงคาหลงประโยคหรือบรรทัด โดย จะเห็นว่าผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่านน้ัน อาจส่งผลให้เด็กอ่านคาส่ังต่าง ๆ ผิดพลาด หรือหลีกเล่ียงการอ่าน การเขียน หรือประสบกับปัญหาในการได้มาซ่ึงข้อมูลหรือองค์ความรู้ต่าง ๆ ในหนังสือ เรียน นอกจากน้ียังพบว่าผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่านจานวนมากจะประสบกับปัญหา ด้านการเขียนด้วย โดยปัญหาทางด้านการเขียนน้ันอาจจะแสดงออกถึงความยากลาบากในเรื่องของความคิด การจัดระบบของข้อความ โครงสร้างของประโยค การเลือกใช้คาศัพท์ การสะกดคา และความถูกต้องของ ไวยากรณ์ ซ่ึงความยากลาบากเก่ียวกับการเขียนเหล่านี้สามารถส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ในวิชาอื่น ๆ ได้ด้วยเช่นกัน ส่วนปัญหาทางด้านคณิตศาสตร์ท่ีเด็กประสบนั้น อาจสังเกตได้จากการที่เด็กมี ความอ่อนด้อยเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น ไม่สามารถจาแนกความแตกต่างของ ตัวเลข จานวน เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ไม่เข้าใจความหมายของคาศัพท์ทางคณิตศาสตร์ การด้อยความสามารถในการแก้โจทย์ ปัญหา การเปรียบเทยี บหรอื การคดิ คานวณท่มี ขี นั้ ตอนซับซ้อนมากข้นึ 2. ความยากลาบากเก่ียวกับภาษาและการส่ือสาร (Language and Communication Difficulties) ความยากลาบากทางด้านภาษานับเป็นลักษณะพื้นฐานที่สาคัญอีกประการหน่ึงของผู้เรียน ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้วยเหตุนี้ผู้เรียนเหล่านี้บางคนอาจมีภาษาพูดที่มีรูปแบบไม่สมบูรณ์ เหมือน เด็กทั่ว ๆ ไป มีความยากลาบากในการเขา้ ใจความหมายของภาษา และมีความยากลาบากในการแสดงความคิด หรือความรู้สึกของตนเอง โดยจะสังเกตเห็นได้จากการที่เด็กเหล่าน้ีจะมีความยากลาบากในการเรียนรู้คาศัพท์ ใหม่ ๆ การทาตามคาส่งั การเข้าใจคาถาม การออกเสียงคา และการแสดงออกเพื่อให้ผู้อ่ืนรู้เก่ียวกับสิ่งที่ตนเอง ต้องการสาหรับผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องที่ไม่ใช่ด้านภาษา หรือเป็น nonverbal learning disabilities จะมี ความยากลาบากในการเข้าใจเกยี่ วกับภาษากาย ภาษาท่าทาง และการเลือกใช้ภาษาในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน
12 ในบริบทต่าง ๆ เด็กอาจช่างพูด แต่ลกั ษณะของภาษาท่ีใช้ในการสื่อสารและคาทเ่ี ลือกใชอ้ าจมีวงคาศัพท์ที่จากัด รวมท้ังมีลักษณะไม่สละสลวย นอกจากนี้ระดับเสียงที่ใช้จะเป็นระดับเสียงท่ีต่างและมักจะไม่เข้าใจตัวช้ีแนะ ทางสังคม (social cues) จึงทาให้มีความยากลาบากในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน และเน่ืองจากมักจะรับรู้ในส่ิงที่ เป็นรายละเอียดมากกว่าส่ิงที่เป็นองค์รวม จึงมีความยากลาบากในการเข้าใจข้อมูลข่าวสารที่รับรู้โดยการเห็น การทางานท่ีซับซ้อนให้เสร็จสมบูรณ์ การจัดลาดับความสาคัญของงาน การระบุใจความสาคัญจากส่ิงท่ีอ่าน การจดโน้ต การจดั ระบบและเชือ่ มโยงลาดับของความคิดในงานเขยี น 3. ความยากลาบากเก่ียวกับการรับรู้และการเคล่ือนไหว (Perceptual and Motor Difficulties) แมว้ ่าผู้เรยี นที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้อาจไม่ได้มีประสาทการรับรู้ท่ีบกพร่อง แต่เด็กเหล่านี้ส่วนใหญ่มัก มีความยากลาบากในการระลึกถงึ การจาแนก และการแปลความหมายส่ิงเร้าที่ได้จากการรับรู้โดยการเห็นและ การได้ยิน ยกตัวอย่างเช่น ผู้เรียนเหล่านี้บางคนอาจมีความยากลาบากในการจาแนกรูปร่าง ลักษณะ ของตัวอักษร การคัดลอกงานจากกระดานดา การทาตามคาส่ังท่ีมีหลายขั้นตอน เช่น ความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวอักษรกับเสียง การท่ีต้องให้ความสนใจกับส่ิงเร้าที่เก่ียวข้อง และการต้องทางานในช่วงเวลาที่เหลือ นอกจากนผ้ี เู้ รียนทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้อาจมีความบกพร่องในการทางานของกล้ามเน้ือมัดเล็กและมัด ใหญ่ โดยความบกพร่องของกล้ามเนื้อใหญ่อาจแสดงออกโดยท่าทางการเดินท่ีดูงุ่มง่าม การทรงตัวท่ี ไมค่ อ่ ยสมดุล การที่ไม่สามารถจับหรือเตะลูกบอลได้ หรือการท่ีไม่สามารถเคล่ือนไหวหรือเต้นราตามจังหวะได้ สว่ นความบกพร่องของกล้ามเนือ้ มัดเล็กอาจแสดงออกถงึ ความยากลาบากในการตดั การติดปะรูปภาพ การวาด ภาพการลากเสน้ ตามรอย การจบั ดินสอการเขียน การคัดลอก และการเขียนตัวเลขให้ตรงหลัก ปัญหาทางด้าน การเคลื่อนไหวอีกประการหนึ่งที่อาจพบในเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้บางคน คือ การซุกซน ไม่อยู่น่ิง (hyperactive) ซ่งึ จะส่งผลให้เดก็ มีการเคลื่อนไหวอย่ตู ลอดเวลามีความยากลาบากในการนง่ั ติดที่ 4. ความยากลาบากเก่ียวกับพฤติกรรม อารมณ์และสังคม (Social-Emotional and Behavioral Difficulties) ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้บางคนอาจเคยมีปัญหาทางด้านพฤติกรรมและสังคม โดยจะเห็นได้จากการท่ีเด็กไม่เห็นคุณค่าของตนเอง การหลีกเล่ียงการทางานที่ได้รับ มอบหมาย การแยกตัว ออกจากสังคม มีความรู้สึกโดดเดี่ยว ความคับข้องใจ ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจส่งผลต่อการเรียนและการทานาย พฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามมาของเด็ก ที่เป็นเช่นน้ีก็เนื่องมาจากการที่เด็กเหล่านี้มีความอ่อนด้อยเก่ียวกับทักษะ ทางสังคมทาให้เด็กไม่เข้าใจเก่ียวกับตัวช้ีแนะทางสังคม (Social cues) จึงทาให้การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นมีความ ล้มเหลวเพราะไม่รู้ว่าในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนในบริบทต่าง ๆ น้ัน ตนเองควรพูดหรือแสดงพฤติกรรมอย่างไร จงึ จะเหมาะสม 5. สรุปลกั ษณะเด็กทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นร้โู ดยภาพรวม การบ่งบอกลกั ษณะโดยรวมของเดก็ ทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้เป็นเรื่องค่อนข้างยาก เพราะ ความหลากหลายความหมายของเด็กกลุ่มนี้ แม้แต่นักวิชาการ นักการศึกษา หรือนักจิตวิทยาก็ยังกล่าวถึง ลักษณะของเด็กที่มีความบกพร่องการเรียนรู้ที่แตกต่างกันออกในรายละเอียด อย่างไรก็ตามจากการศึกษา พบวา่ ลกั ษณะท่ีคอ่ นข้างเด่นชัดของเด็กกลุ่มนี้ คือ ความด้อยความสามารถอย่างมากในทางภาษา ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของการอ่าน การเขียน การสะกดคา และการคิดคานวณหรือการใช้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ และยังพบว่า
13 เดก็ กลมุ่ นม้ี ักมีความบกพรอ่ งด้านอ่นื ๆ อยู่ร่วมด้วย เช่น บกพร่องทางด้านสมาธิ พฤติกรรม อารมณ์หรือสังคม เป็นต้น (Lerner, 2006; Smithetal., 2006; Mercer& Pullen, 2005; Smithetal., 1997; ศรีเรือน แก้วกังวาล, 2548; เบญจพร ปัญญายง, 2547; ผดุง อารยะวิญญู, 2544; ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์, 2543) ในการ นาเสนอลักษณะของเด็กกลุ่มนี้จะจาแนกออกเป็นลักษณะของปัญหาหรือความยากลาบากที่เด็กแสดงออก ใน 4 ด้านใหญ่ ๆ คือ ปัญหาทางด้านการอ่าน ปัญหาทางด้านการเขียนและการสะกดคาปัญหาทางด้าน คณิตศาสตร์ และปัญหาทางดา้ นอ่นื ๆ 5.1 ปัญหาทางด้านการอ่าน เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ส่วนใหญ่จะมีปัญหาด้าน การอ่าน โดยจากงานวิจัยพบว่ามีประมาณร้อยละ 80 ของเด็กกลุ่มน้ี (Lyonetal., 2001 อ้างถึงใน Smithetal., 2006) และเด็กท่ีมีปัญหารุนแรงด้านการอ่าน เรียกว่า ดิสเลกเซีย (dyslexia) โดยทั่วไปพบว่า ปัญหาทางดา้ นการอ่านอาจมีหลายประการ ในทน่ี จี้ ะนาเสนอลกั ษณะเด่น ๆ บางประการท่พี บเห็นกนั อยู่ทวั่ ไป 1. มีความยากลาบากในการจารูปพยญั ชนะและการอา่ นพยัญชนะ 2. มคี วามยากลาบากในการแยกแยะเสยี ง เชน่ การแยกแยะเสียง บ ป ผ 3. มคี วามยากลาบากในการจารปู สระและการอา่ นสระ 4. การออกเสยี งคาไม่ชดั หรอื ไมอ่ อกเสยี งบางเสียง บางครั้งออกเสยี งรวบคา 5. ไม่สามารถอา่ นคาได้ถกู ตอ้ ง เช่น การอ่านคาที่มีวรรณยุกต์กากับ การอ่านคาที่มีตัวสะกด ไม่ตรงมาตรา 6. อ่านคาโดยสลบั ตวั อักษร เช่น “นก” เป็น “กน” “งาน” เป็น “นาง” เปน็ ต้น 7. ไมส่ ามารถอา่ นขอ้ ความหรือประโยคได้ถกู ต้อง เช่น อ่านข้ามคา อ่านตกหล่น อ่านคาเพิ่ม อ่านสลบั คา 8. ไมส่ ามารถเรียงลาดบั จากเร่ืองที่อา่ นได้ 9. จับขอ้ เทจ็ จริงจากเรอ่ื งที่อ่านไม่ได้ 10. จับใจความสาคญั จากเร่อื งทีอ่ ่านไม่ได้ 5.2 ปัญหาทางด้านการเขียนและการสะกดคา เด็กท่ีมีปัญหาทางด้านการเขียนและการสะกดคา พบวา่ อาจมีปญั หาในเร่ืองต่อไปนี้ 1. มีความยากลาบากในการเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เช่น เด็กจะ ลากเสน้ วน ๆ ไม่รู้วา่ จะม้วนหวั เขา้ ในหรอื ออกนอก ขีดวน ๆ ซา้ ๆ 2. เขียนพยญั ชนะ สระ และเลขไทยกลบั ด้านคล้ายมองจากกระจกเงา 3. มคี วามสบั สนในการเขยี นพยัญชนะ และเลขไทยทม่ี ลี ักษณะคลา้ ยกนั เชน่ ค-ต น- ม พ-ผ ๓-๗ ๔-๕ 4. เขยี นดา้ ยลายมือท่ีอ่านไม่ออก 5. เขยี นเรียงลาดับพยัญชนะ สระ วรรณยุกตใ์ นคาผดิ ตาแหนง่ เชน่ “ปลา” เป็น “ปาล” “หมู” เปน็ “หูม” “กล้วย” เป็น “ก้ลวย”
14 6. เขยี นสะกดคาผดิ โดยเฉพาะคาพ้องเสยี ง คาทีมีตวั สะกดในมาตราเดียวกัน คาที่มตี ัว การันต์ 7. เขยี นคาตามคาอ่านไม่ได้ 8. เขียนไมไ่ ด้ใจความ 9. เขยี นหนงั สือ ลอกโจทยจ์ ากกระดานดาช้าเพราะกลัวสะกดผิด 10. เขียนไมต่ รงบรรทัด เขียนตา่ งหรอื เหนือเส้น ขนาดตัวอักษรไมเ่ ท่ากนั ไมเ่ ว้น ขอบกระดาษ ไม่เวน้ ชอ่ งไฟ 11. จับดนิ สอหรอื ปากกาแน่นมาก 12. ลบบอ่ ย ๆ เขยี นทบั คาเดิมหลายครั้ง เขยี นตัวหนังสอื ตัวโต 5.3 ปัญหาทางด้านคณติ ศาสตร์ เด็กทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรทู้ างด้านคณิตศาสตร์พบวา่ อาจมปี ญั หาในเรื่องต่อไปน้ี 1. ไม่เข้าใจค่าของตัวเลขและจานวน เช่น บางคนจะนับตัวเลข หรือจานวนได้ แต่ไม่เข้าใจ ความหมายของตัวเลขหรอื จานวนท่ีตนนับ 2. ไม่เข้าใจเก่ียวกับค่าประจาตาแหน่ง เช่น จะไม่รู้ว่า เลข “3” ในจานวนต่อไปน้ี 23, 38, 317 มีค่าแตกต่างกัน ซ่งึ สิง่ เหล่าน้ีจะสง่ ผลทาให้มคี วามยุง่ ยากในการบวก ลบ คูณ หาร จานวน และไม่สามารถ หาคาตอบท่ีถกู ต้องได้ 3. ไม่สามารถจา และเขยี นสัญลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์ได้ เชน่ “+ แทนการบวก” “- แทน การลบ” “X แทน การคณู ” และ “÷ แทนการหาร” 4. ไม่เข้าใจความหมายของสญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ เชน่ ไมเ่ ข้าใจว่า + หมายถงึ เพิ่มข้ึน มากข้นึ - หมายถึงลดลง น้อยลง x หมายถึงมากกว่า ÷ หมายถึงนอ้ ยกวา่ 5. มีความยากลาบากในการบวก ลบ คูณ หาร เพียงอย่างใดอย่างหน่ึง หรือมากกว่าหน่ึง อย่าง เช่น ในการบวกจานวน เด็กจะไม่เข้าใจว่าจะต้องบวกตัวเลขในหลักหน่วยก่อน แล้วจึงบวกตัวเลข ในหลักสิบ และหลักร้อยตามลาดับ เด็กจะคานวณโดยการบวกตัวเลขในหลักหน้าสุดก่อน คือจะบวกตัวเลข ในหลักร้อยกอ่ นแลว้ จึงจะเปน็ ตวั เลขในหลักสบิ และหลกั หน่วย เปน็ ต้น 6. มีความยากลาบากในการบวก การลบท่ีมีการทด และการกระจาย เช่น การบวก 56 กับ 28 ซงึ่ จะมีการทดจากผลบวกในหลกั หนว่ ย หรอื การลบ 72 ด้วย 45 ซึง่ จะตอ้ งมกี ารกระจายในหลกั สิบ เปน็ ต้น 7. เขยี นตวั เลขกลับกนั เชน่ “45” เปน็ “54” หรือเขียน “5 เป็น 5” 8. มีความยากลาบากในการจาแนกรูปทรงเรขาคณิต เช่น การจาแนกรูปสามเหลี่ยมรูป ส่เี หล่ยี ม รูปหา้ เหลีย่ ม เด็กอาจทาไม่ได้
15 9. มีความยากลาบากในการจาแนกวัตถุ หรือสิ่งของท่ีมีขนาดต่างกันออกจากกัน เช่น การ แยกลกู บอล หรอื ลูกแกว้ สองขนาดท่ีกองรวมกนั อยูอ่ อกเป็นสองกอง กองหนึ่งเป็นลูกแก้วหรือลูกบอลขนาดเล็ก อกี กองหน่งึ เปน็ ลูกแก้วหรือลกู บอลขนาดใหญ่ เดก็ อาจทาไม่ได้ 10. มคี วามยากลาบากในการแกโ้ จทยป์ ญั หา เนือ่ งจากเดก็ ไม่สามารถตีโจทย์ปัญหาเหล่าน้ัน ได้ ทาใหไ้ มเ่ ขา้ ใจวา่ จะใชก้ ารบวก การลบ การคณู หรือการหาร 11. มคี วามสบั สนในการเรียงลาดบั วันหนึ่งในสปั ดาห์ และเดอื นในหน่ึงปี 5.4 ปญั หาทางด้านอน่ื ๆ เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้อาจมีความบกพร่องทางด้านอ่ืน ๆ ต่อไปน้ีร่วมด้วย เช่น ความบกพร่องทางด้านสมาธิและความสนใจ การจัดระบบระเบียบพฤติกรรมและอารมณ์ การประสาน สมั พันธ์กันของร่างกายและด้านความจา 1. ความบกพรอ่ งทางดา้ นสมาธแิ ละความสนใจ จากการศกึ ษาวิจยั พบว่า เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้จะมรความบกพร่องทางด้าน สมาธิและความสนใจร่วมด้วยร้อยละ 41 ถึง 80 (Delong, 1995 อ้างถึงใน Smith et al.,2006) โดย ความบกพรอ่ งทางดา้ นสมาธแิ ละความสนใจอาจแสดงออกในลักษณะต่อไปนี้ ซุกซน ไม่อยูน่ ่ิง มีสมาธิสน้ั คือ ช่วงความตั้งใจสนั้ เม่ือเทยี บกับเดก็ ทวั่ ไป หุนหันพลันแล่น มแี นวโน้มท่ีจะตอบคาถาม หรือทาสิ่งต่าง ๆ โดยที่ไม่ไตรต่ รองหรือ พจิ ารณาผลทเ่ี กดิ ข้นึ ขาดสมาธิในสง่ิ ที่เรียน หรือแบบฝกึ หดั ท่ตี ้องทา หันเหไปส่สู ่งิ อ่ืนได้ง่าย ไม่สามารถทางานต่าง ๆ ได้สาเรจ็ โดยจะเหน็ ได้จากการทาแบบฝึกหัดหรืองานอ่นื ๆ คา้ งไว้ กระวนกระวาย ทาสิง่ ตา่ ง ๆ อยา่ งไร้เปา้ หมาย รอคอยไม่เปน็ ดังจะเห็นวา่ เมื่อให้คอยอะไรนาน ๆ มกั ทนไม่ค่อยได้ ฝนั กลางวัน เช่น นั่งตาลอย 2. ความบกพร่องในการจดั ระเบียบ ความบกพรอ่ งในการจดั ระเบียบอาจแสดงออกในลกั ษณะต่อไปน้ี มคี วามยากลาบากในการจดั การ และการบริหารเวลา ทาให้ไมส่ ามารถทางานเสรจ็ ตาม เวลาที่กาหนด มีความยากลาบากในการจัดลาดับความสาคัญของสิ่งท่ีจะทา โดยไม่รู้ว่าส่ิงใดควรทาก่อน และสิง่ ใดควรทาหลัง มีความยากลาบากในการจัดลาดบั เรอื่ งราวต่าง ๆ มีความยากลาบากในการทางานตามแผน ท่ีวางไว้ มีความยากลาบากในการจัดหมวดหมู่ และการจัดลาดับความคิด มักหาของไม่พบ เนื่องจากไมม่ รี ะบบในการจัดเกบ็ โดยจะพบวา่ เดก็ มักหาการบา้ น หนงั สือ ดนิ สอ ยางลบไมพ่ บ โต๊ะทางานเลอะเทอะ ไม่มีระเบยี บ
16 3. ความบกพร่องทางดา้ นพฤติกรรมและอารมณ์ ความบกพร่องทางด้านพฤตกิ รรมและอารมณ์อาจแสดงออกในลักษณะต่อไปน้ี มคี วามยากลาบากในการสร้างมติ รภาพ หรอื รักษามิตรภาพให้คงอยู่ มีพฤติกรรมที่ไม่ยัง้ คิด มีความอดทน อดกล้ันตอ่ ความกดดันหรอื ความคบั ข้องใจไดน้ ้อย อารมณข์ นึ้ ๆ ลง ๆ หงุดหงดิ ง่าย อาจมีพฤติกรรมก้าวร้าวกบั บุคคลที่อยู่รอบข้าง ในกรณถี ูกจ้าจจ้ี ้าไชในเร่อื งใดเรอ่ื งหน่ึง รบั การเปลย่ี นแปลงในกจิ วัตรประจาวันไดน้ ้อย รสู้ ึกเบ่ือหน่าย ทอ้ แท้ ขาดความภาคภูมใิ จ ในตนเอง ไม่รู้สึกขาเม่ือคนอ่ืนขา แต่จะรู้สึกขาในขณะที่ผู้อ่ืนไม่ขา ไม่สามารถตีความหมายทางภาษา กายหรือท่าทาง (nonverbal cues) มีความยากลาบากในการแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์ทางสังคม มัก ไม่ให้ความร่วมมอื กับเพอ่ื น ๆ ในการทางานกลุม่ มกั ชอบเล่นกับเดก็ ทีอ่ ายนุ ้อยกว่าตนเอง 4. ความบกพร่องทางด้านประสานสัมพันธก์ นั ของรา่ งกาย ความบกพร่องทางด้านการประสานสัมพันธ์กันของร่างกายแสดงออกในลักษณะต่อไปนี้ มคี วามยากลาบากในการจบั วัตถุเลก็ ๆ ซึ่งเกดิ จากความบกพร่องของกล้ามเน้ือมัดเล็ก เช่น ไม่สามารถผูกเชือก รองเทา้ ได้ การเรยี นรูใ้ นเรือ่ งทักษะการช่วยตนเองทาได้ไม่ดี มปี ัญหาในเรอ่ื งการตดั ดังจะเห็นไดจ้ ากการใช้กรรไกรตัดกระดาษ หรอื สง่ิ ของไมส่ ามารถ ทาไดห้ รือได้ไมด่ ี ลายมอื อ่านยาก การเวน้ ช่องไฟไม่ดี เขยี นไมต่ รงบรรทัด การว่งิ การปนี ป่ายทาได้ไม่ดี ดงู มุ่ งา่ ม ซึ่งเกดิ จากความบกพร่องในการทางานของ กลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ มีปญั หาเก่ยี วกบั ทักษะการเล่นกฬี า 5. ความบกพร่องทางด้านความจา ความบกร่องทางดา้ นการจาแสดงออกในลักษณะต่อไปนี้ มีความยากลาบากในการจาสิ่งท่ีเรียน และการดึงสิ่งท่ีรู้ออกมาใช้ มีความยากลาบากใน การเรียนรู้กระบวนการใหม่ ๆ มีความยากลาบากในการเรียนรู้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีความยากลาบากในการ เรยี นรูพ้ ยญั ชนะ มีความยากลาบากในการสะกดคา มีความยากลาบากในการจาเหตุการณ์ต่าง ๆ มีความ ยากลาบากในการจาช่ือคน มีความยกลาบากในการจาทิศทาง การอา่ นหนังสอื เพ่ือเตรียมตัวสอบทาได้ไม่ดี หรอื ทาไมไ่ ด้ เน่ืองจากเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้แต่ละคนอาจแสดงออกถึงความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ในหลาย ๆ ด้าน รวมทั้งอาจแสดงออกถึงปัญหาต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องในหลาย ๆ ลักษณะที่อาจ เหมอื นหรือแตกตา่ งกนั ออกไป และในแต่ละวันอาจแสดงออกถงึ ลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันออกไปดว้ ย
17 กรณศี ึกษา ตวั อย่างลายมือ การเขียนเรียงความ เขียนได้เพียง 2-3 ประโยคส้ัน ๆ เท่านั้น เขียนบรรยายภาพเล่าเรื่องแสดง ความรสู้ กึ นกึ คดิ และจนิ ตนาการไมไ่ ด้ เขียนสะกดคาผิด เขียนตามตัวสะกดที่ออกเสียง/ตามเสยี งท่ไี ดย้ นิ การวางวรรณยกุ ต์ผิด ตาแหน่ง เขยี นผิด ลบบอ่ ย เขยี นผดิ หลกั ไวยากรณ์
18 เขียนตามเสยี งทไี่ ดย้ นิ
หน่วยท่ี 3 หลักการ รูปแบบ เทคนิค/วธิ กี ารสอน และการจัดหา ผลติ และใชเ้ ทคโนโลยี ส่งิ อานวยความสะดวก สอื่ บรกิ ารและความช่วยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษาสาหรับบคุ คล ที่มีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ (กรณศี กึ ษา) แนวทางพัฒนาผเู้ รียน กลยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อช่วยเหลือบุคคลท่ีมีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ แม้ว่าเทคนิควิธีการจัดการเรียนการสอนที่ใช้กับเด็กท่ัวไปทุกวิธี สามารถนามาปรับใช้กับบุคคลที่มี ความบกพรอ่ งทางการเรียนรไู้ ด้ แต่เพ่ือใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพและเกิดผลมากท่ีสุด ได้มีนักการศึกษาเสนอแนวคิดและเทคนิควิธีต่าง ๆ ที่น่าสนใจ ไว้ดังนี้ 1. กลยุทธ์ทว่ั ๆ ไปที่ใชใ้ นการเรยี นการสอนผเู้ รยี นท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ 1.1 ใช้คาส่ังท่ีมีความเฉพาะเจาะจง โดยการใช้ข้อความท่ีสื่อความหมายได้ชัดเจนหรืออาจมี ตัวอยา่ งประกอบ 1.2 ใช้คาส่ังที่เป็นประโยคง่าย ๆ ส้ัน ๆ หากต้องใช้คาส่ังยาว ๆ ที่มีความต่อเนื่องเป็นขั้นตอน ใหแ้ ยกคาสัง่ นน้ั ออกเป็นสว่ น ๆ และให้ผเู้ รยี นทางานตามคาส่งั แต่ละสว่ นในการเรยี นแตล่ ะคร้งั 1.3 ควรหลีกเล่ียงการใช้คาส่ังท่ีไม่ชัดเจนหรือทาให้เกิดความสับสน ยกตัวอย่างเช่น ใช้คาว่า “เขียนประโยคแตล่ ะประโยค 5 คร้ัง” จะดีกว่าการใช้คาว่า “ฝกึ การสะกดคา” 1.4 การบรรยายเกี่ยวกับเน้ือหาในบทเรียนควรใช้คาง่ายๆ และควรใช้คาเดิมๆ ที่ผู้เรียนมี ความคุ้นเคย รวมทั้งมีการนาเสนอเน้ือหาเป็นขั้นตอนย่อยๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ มากท่ีสุด เท่าทเี่ ปน็ ไปได้ 1.5 มีการทาสัญญาในการเรียนร่วมกนั ระหว่างผู้เรยี นกับครู 1.6 หลีกเล่ียงการให้งานเดี่ยว หรือกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีไม่กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน รวมทง้ั กจิ กรรมที่กินเวลานาน โดยกิจกรรมท่ดี ีควรเป็นกจิ กรรมทช่ี ่วยให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน 1.7 ลดจานวนภาระงานเพอ่ื หลกี เล่ยี งการบ่นั ทอนกาลังใจของผูเ้ รียน 1.8 สาหรบั ผู้เรยี นที่มีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ คะแนนจากการทดสอบ ควรเป็นจานวนข้อ ท่ถี กู ต้องจากจานวนข้อของความพยายาม เช่น ให้โจทย์ไป 20 ขอ้ ถ้าผู้เรียนทา 7 ขอ้ ควรคิดว่าเด็กทา ถูก 7 ข้อ จาก 12 ขอ้ มากกว่าท่จี ะคดิ ว่าเด็กทาถกู 7 ข้อ จาก 20 ข้อ (ครูคาดหวังเพียง 12 ขอ้ กพ็ อแล้ว) ซึง่ จะชว่ ยให้ ผูเ้ รยี นมีความรู้สึกทีด่ ีข้ึน 1.9 ใชเ้ ทปบนั ทกึ เสยี งคาส่ัง โดยเฉพาะคาสั่งทาภาระงานทเ่ี ปน็ ขอ้ ความยาว ๆ 1.10 ให้เพ่ือนชว่ ยอธบิ ายภาระงานหรอื คาส่ังในการทางาน 1.11 ให้เวลาในการทาแบบทดสอบเพ่ิมมากข้ึน
1.12 ใชเ้ ทคนิคเพื่อนชว่ ยเพ่อื นสาหรบั การฝึกเกีย่ วกบั เน้ือหา คาศัพท์ การสะกดคา 1.13 ใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (cooperative learning groups) เพื่อช่วยส่งเสริมการ เรยี นรู้สาหรับเด็กทุกคนโดยไมม่ ีการยกเวน้ 1.14 ขออาสาสมัครจากพอ่ แม่ ผปู้ กครอง หรอื ผู้อาวุโสทีเ่ กษียณอายุแลว้ สาหรบั การทบทวน เนอ้ื หา หรอื ทักษะในวิชาสังคมศึกษาหรือวทิ ยาศาสตร์ โดยการอา่ นบทเรยี นบันทึกเทปให้เดก็ ฟังหรอื อาจอา่ น ใหเ้ ด็กฟังโดยตรง 1.15 ให้งานทีห่ ลากหลายแตกตา่ งไปตามระดับความสามารถของผเู้ รยี น 1.16 ใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลบั กับผเู้ รียนในรปู ของกราฟ หรือแผนภูมิ 1.17 ใช้รูปแบบคาสั่งที่เป็นมาตรฐาน เช่น การจับคู่ การเติมคาในช่องว่าง และสาหรับการใช้ส่ัง รูปแบบใหม่ ๆ จะมีความเปน็ ไปได้มากขนึ้ เมอื่ เด็ก ๆ เหล่าน้ีไดถ้ ูกพัฒนาแล้ว 1.18 งานท่ีแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ (Group learning tasks) จะช่วยลดจานวนของสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ ยกตัวอย่างเช่น ส่ีกลุ่มของสามเดือน ดูเหมือนว่าจะน้อยว่าการท่ีต้องเรียนรู้ครั้งเดียวสิบสองเดือน การเรียนรู้ สามเดอื นท่ีเป็นฤดูหนาว คาส่ีคาทม่ี ีสองพยางค์ หรือคาหา้ คาท่ีมีความหมายยาวกวา่ การเคลอ่ื นท่ี เปน็ ตน้ 1.19 เพ่ือเพ่ิมความตั้งใจให้กบั ผเู้ รียน ให้ใช้คาช่วย (cue words) เช่น “ผู้เรยี นมองทางน้ี” “ผเู้ รยี นฟังคุณครูกอ่ น” และ “พร้อมหรอื ยงั ” นอกจากนี้อาจใชท้ า่ ทาง เช่น การยกมอื การช้ี เป็นต้น 1.20 ใช้เทคโนโลยี เช่น เทปบันทึกเสียง เครื่องฉายข้ามศีรษะ วีดีโอ คอมพิวเตอร์ ซ่ึงเป็นการ ให้ทางเลือก หรือเพ่ิมเทคนิควิธีการสอนในการนาเสนอบทเรียน หรือทบทวนความคิดรวบยอดท่ีได้นาเสนอไว้ ในบทเรยี น 1.21 ใชบ้ อร์ดความรู้ (bulletin boards) ในการติดข้อมูลท่ีช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจความคิดรวบยอด เนื้อหาในบทเรียน และพฒั นาความกา้ วหน้าในการเรยี นของผูเ้ รียน 1.22 เทคนิคการสอนทางเลอื ก (Alternative teaching techniques) การบรรยาย ครูจะต้องให้กรอบของการบรรยาย และในการบรรยายควรใช้แผ่นใสหรือกระดาน ดานาเสนอให้ผู้เรยี นได้มองเห็นควบคไู่ ปด้วย ส่ือ/วัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้การฟัง หรือส่ือท่ีใช้การมองเห็น (Audio or visual media) ครูต้องแนะนา ส่อื ก่อนการใช้ พรอ้ มทงั้ ทบทวนจดุ ประสงคข์ องการนาเสนอและควรจัดให้ ผู้เรียนทีม่ ปี ญั หาทางดา้ นการฟังอยู่ใกล้ ๆ กับแหลง่ เสียง การอภิปราย ครูควรเขียนประเด็นการอภิปรายลงในกระดานและแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ เพื่อใหอ้ ภิปรายร่วมกันภายในกลุ่ม การถามคาถาม ครูควรใช้คาถามท่ีหลากหลาย เพ่ือเข้าถึงผู้เรียนที่มีระดับสติปัญญาแตกต่างกัน โดยก่อนถามคาถามเรยี กชอ่ื ผู้เรียนก่อนทุกคร้ัง เกม ครูควรออกแบบเกมโดยคานึกถึงการพัฒนาทักษะท่ีต้องการเป็นอันดับแรก ในการเล่นเกม ควรใช้คาส่ังง่าย ๆ ขีดเส้นใต้คาส่ังที่สาคัญ ๆ ด้วยสีต่าง ๆ หรืออาจใช้เทคนิคเพื่อนช่วยเพ่ือนเพื่ออนุญาตให้ ผเู้ รยี นเตรยี มเกมของตนเอง
2. กลยุทธท์ ่ใี ช้ในการเรยี นการสอนผเู้ รยี นที่มีปัญหาในการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ 2.1 ใช้ส่ิงท่ีช่วยการรับรู้ทางการมองเห็นของผู้เรียน (visual cueing) เช่น กล่อง ข้อความวงกลม การขีดเสน้ ใต้ เพอ่ื แสดงข้อความหรือขอ้ มูลที่ต้องการเนน้ 2.2 ใช้สมุดกราฟสาหรับการเรียนพืชคณิต เพ่ือช่วยใช้ผู้เรียนสามารถเขียนตัวเลขใน แต่ละหลัก ใหต้ รงกนั ไดโ้ ดยง่าย โดยการใชค้ อลมั นเ์ ปน็ ตวั กากับ 2.3 เว้นระยะหา่ งของโจทย์ปัญหาในแต่ละข้อให้เห็นอย่างชดั เจน 2.4 จัดกล่มุ ปัญหาทคี่ ลา้ ยกันเข้าดว้ ยกัน 2.5 ถ้าผูเ้ รยี นมปี ญั หาในการลอกงานจากหนังสือเรียน ให้ครูหรือเพื่อนช่วยลอกให้และ ให้ผู้เรียน ทาภาระงานน้นั ให้สมบรู ณ์ด้วยตนเอง 2.6 หลังจากครูได้แสดงตัวอย่างบนกระดานแล้ว ให้ผู้เรียนออกมาทาโจทย์ท่ีมีลักษณะคล้าย ๆ กนั ให้สมบูรณ์ เพ่อื ฝกึ ความพรอ้ มในการแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์ 2.7 ขีดเส้นใต้สัญลักษณ์สาหรับการดาเนินการทางพืชคณิต (+, -, x ,÷ ) หรือคาใน โจทย์ปัญหา ที่บง่ บอกให้รูว้ า่ จะใช้การดาเนนิ การ (operation) อะไรในโจทยป์ ญั หานน้ั ๆ 2.8 ให้ผู้เรยี นได้ใช้อปุ กรณ์ชว่ ยในการคานวณ เชน่ เส้นจานวน ลูกคดิ แผนภูมิ แผนภาพตา่ ง ๆ 2.9 สอนการใชเ้ ครอื่ งคานวณ (calculator) 3. กลยุทธท์ ใี่ ช้ในการสอนผู้เรียนที่มีปัญหาเกยี่ วกบั การอ่าน 3.1 ใช้หนังสือเสียงเพ่ือช่วยให้ผู้เรียนที่มีปัญหาเก่ียวกับการอ่านสามารถเข้าใจเนื้อหาท่ีเรียนได้ โดยใชก้ ารฟงั 3.2 ลดจานวนหน้าของแบบฝึกหัด หรือหนังสือประกอบการอ่านอ่ืน ๆ เพื่อลดความวิตกกังวล ของผเู้ รยี น 3.3 ใช้กระดาษทม่ี สี สี ดใสทาบบนข้อความท่จี ะอา่ น เพื่อช่วยให้ผเู้ รยี นสามารถจดจอ่ อยกู่ ับ ข้อความทอ่ี ่าน 3.4 ใช้แผ่นใส หรือแผ่นพลาสติกที่มีสดใสทาบบนข้อความท่ีจะอ่านเพ่ือช่วยให้ผู้เรียนสามารถจด จอ่ อยกู่ ับข้อความทอ่ี า่ น 3.5 ใชก้ ระดาษทาเป็นหน้าต่างการอ่าน (reading window) ซึ่งสามารถติดประโยคหรือข้อความ เพอ่ื ชว่ ยเหลอื ให้ผูเ้ รยี นสามารถตดิ ตามและใหค้ วามสนใจในเรอื่ งท่ีอ่าน 3.6 ให้เพ่ือนชว่ ยอา่ นงานท่คี รูมอบหมายให้กับผเู้ รยี นท่ีมปี ัญหาเกยี่ วกบั การอ่าน 3.7 ขีดเส้นใต้คาสาคญั หรือใจความสาคญั เพอ่ื เพมิ่ ความสนใจในรายละเอยี ดที่สาคัญ 3.8 ให้เด็กท่ีมปี ัญหาเกี่ยวกับการอา่ นมีเวลาในการอา่ นให้เสร็จส้นิ สมบรู ณม์ ากกว่าเด็กปกติ 3.9 ใชก้ ารอา่ นซา้ ๆ ซ่ึงรวมถงึ การทคี่ รูอา่ นเรือ่ งให้เด็กฟังแล้ว หลงั จากนนั้ ครูอ่านเร่ืองและให้เด็ก อ่านตามจนสดุ ทา้ ยให้ผเู้ รยี นอ่านเรื่องด้วยตนเอง 3.10 ให้ผู้เรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับการอ่านสามารถทางานท่ีได้รับมอบหมายโดยใช้การวาดภาพ หรือโมเดลได้
3.11 ใช้กลยุทธ์การประเมินตนเอง (self–monitoring) และการตั้งคาถามกับตัวเอง (self– questioning) เก่ียวกับเร่อื งที่อา่ น เพ่ือช่วยใหเ้ ข้าใจเรอ่ื งท่ีอา่ นมากยิง่ ขน้ึ โดยมีขนั้ ตอนดงั นี้ การตง้ั คาถามกบั ตนเองในขณะท่อี ่าน โดยเริ่มต้นให้ผเู้ รยี นถามคาถามกับตวั เองดงั ๆ ก่อน เพอื่ ท่ี ครสู ามารถทราบและชว่ ยเหลอื แนะนาผูเ้ รยี นได้ ตอ่ จากน้ันให้ผเู้ รยี นใช้ “เอกสาร การประเมินตนเอง” ยก ตวั เองอยา่ งเชน่ ในการอา่ นยกหนา้ แรกผเู้ รยี นถามตนเองว่า “ฉันเขา้ ใจเรอ่ื งท่ฉี ันพ่ึงอา่ นไปไหม”................ “ใช่ หรอื ไม่ใช่” ศัพท์ที่ควรรู้ สามารถใช้ร่วมกับการตั้งคาถามกับตนเอง เด็กจะเป็นผู้กาหนดคาศัพท์ของตนเอง เกย่ี วกับเรอื่ งท่ีได้อ่านไปแล้ว การลาดับเร่ือง จะดีท่ีสุดเม่ือนามาใช้ตอนใกล้ ๆ กับตอนจบของเร่ือง และจะเป็นประโยชน์เมื่อ ลาดับของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ มีความสาคญั ต่อการจดจา การจนิ ตนาการ เป็นการจินตนาการถึงเหตุการณ์และเร่ืองราวต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในเร่ืองน้ัน ๆ และ ใหผ้ ้เู รยี นสรา้ งภาพขน้ึ ในจินตนาการของตนเอง เพื่อเป็นการระลกึ ถงึ เหตุการณ์และเร่ืองราวต่าง ๆ จากเรื่องที่ ตนเองไดอ้ ่านไปแลว้ โดยเทคนิควธิ ีน้คี วรใช้กบั เดก็ โต การทบทวนเรื่องที่อ่านไปแล้ว โดยการทบทวนจะประกอบไปด้วย การให้ผู้เรียนดูช่ือเร่ือง ภาพประกอบ และหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ในเรอ่ื งนนั้ ๆ 4. กลยุทธท์ ใี่ ชใ้ นการสอนผ้เู รยี นทม่ี ีปัญหาเกย่ี วกับการเขียน 4.1 จดั เวลาใหเ้ พยี งพอสาหรับการเขียนอย่างน้อย 20 นาทีตอ่ วนั 4.2 หาหัวขอ้ หลาย ๆ หัวขอ้ สาหรับการเขยี น 4.3 บูรณาการเข้ากบั วชิ าอื่น ๆ 4.4 สรา้ งบรรยากาศให้สนุกสนานเพ่ือสง่ เสริมการเขียน 4.5 เน้นกระบวนการสาคัญในการเขยี น คือ ร่างตน้ ฉบับ ลงมอื เขียน เขยี นทบทวนใหม่ 4.6 เน้นการเรียบเรียงเน้ือความ ให้ความเอาใจใส่กับการสะกด และเคร่ืองหมายวรรค ตอน หลงั จากเขยี นเรยี บรอ้ ยแล้ว 4.7 สอนทักษะในการเรียบเรียงเน้ือหา เช่น การประชุม การระดมความคิด การเขียนรูป ประโยค และการประเมนิ การเขียน 4.8 ให้ผเู้ รียนหาจุดมงุ่ หมายของตนเองในขณะที่กาลงั เขียน 5. กลยุทธ์ทใี่ ช้ในการสอนผ้เู รียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรูใ้ หส้ ามารถทาตามคาส่ัง 5.1 เมื่อตอ้ งการสั่งให้ผู้เรียนทาอะไร ให้ครูมองตาผู้เรียนก่อนทุกคร้ัง เพื่อสร้างความมั่นใจ หรือให้ กาลังใจ หรือกระตนุ้ ใหเ้ กดิ แรงจูงใจ 5.2 หลังจากบอกให้ผเู้ รยี นทาอะไรแลว้ ให้ผเู้ รยี นทบทวนคาสั่งใหค้ รฟู งั อีกคร้ังหน่งึ 5.3 ให้คาส่ังทั้งวธิ กี ารให้ผ้เู รยี นได้เหน็ และไดย้ นิ โดยการเขียนบนกระดานดาและอ่านคาสัง่ ให้ฟัง 5.4 เม่ือผู้เรียนไม่เข้าใจคาสั่งของครู ให้เพื่อนท่ีคอยทาหน้าท่ีช่วยเหลือ หรือเพื่อนที่น่ังใกล้ ๆ ช่วย ทบทวนคาสั่งของครใู ห้ผู้เรยี นทราบ
5.5 ถ้าเปน็ ไปได้ในเวลาเดยี วกนั ควรให้คาส่งั กบั ผ้เู รียนเพยี งหนึ่งหรือสองคาสงั่ เท่าน้ัน 5.6 ในขณะท่ีบอกให้ผเู้ รียนทาอะไร ให้สมั ผสั ผ้เู รยี นท่แี ขนหรอื ไหลอ่ ยา่ งนมุ่ นวล 5.7 สาหรบั เดก็ เลก็ ๆ การใหค้ าสัง่ โดยการใช้รูปภาพจะมีผลชว่ ยใหเ้ ดก็ สามารถทาตามคาส่ังได้ดีขึ้น เพราะภาพทเ่ี ด็กมองเหน็ จะชว่ ยเตอื นความจาของเด็ก 5.8 สาหรับเด็กท่ีอาจต้องการความช่วยเหลือจากครู แต่มีความลังเลใจไม่กล้าขอความช่วยเหลือ ครูอาจคดิ เป็นสญั ลกั ษณ์ให้เด็กใช้แทน เช่น อาจเขียนข้อความไว้บนการ์ดว่า “ช่วยหนูด้วยค่ะ” แล้วให้เด็กวาง การ์ดไว้บนโตะ๊ เพอื่ ทคี่ รจู ะไดส้ งั เกตเหน็ ตอนเดินผา่ น 6. กลยุทธท์ ่ใี ช้ในการสอนให้ผเู้ รียนทมี่ คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้สามารถทางานได้เสร็จ 6.1 ใช้การทาสัญญาร่วมกันระหว่างครูกับผู้เรียนในการทาภาระงานที่ได้รับมอบหมายให้แล้วเสร็จ โดยในสัญญาจะต้องมีการระบุงานท่ีต้องทาให้เสร็จ ระยะเวลาในการทา รวมท้ังการให้รางวัล โดยท้ังครูและ ผ้เู รียนตอ้ งเซน็ สัญญาร่วมกัน 6.2 ใหเ้ วลาว่างกบั เด็กในการทากจิ กรรมท่ตี นเองชอบหลังจากทางานท่ีไดร้ ับ มอบหมายเสร็จส้นิ แล้ว 6.3 จดั ทาขอ้ มูลของผเู้ รยี นเพ่ือแสดงถึงจานวนงานท่ีผเู้ รยี นทาเสร็จในแต่ละวัน 6.4 แบ่งภาระงานนั้น ๆ ออกเป็นงานย่อย ๆ และให้รางวัลกับผู้เรียนหลังจากทางานย่อยแต่ละช้ิน เสรจ็ สิน้ สมบรู ณ์แลว้ 6.5 การให้งานกับผู้เรียนที่มีความยากลาบากในการทางานให้เสร็จ ควรเริ่มจากการให้งานเพียง หน่ึงอยา่ งตอ่ วัน หลังจากน้ันเพ่ิมเป็นสองอย่าง และคอ่ ย ๆ เพิ่มขึน้ ตามความเหมาะสม 6.6 ใชเ้ อกสารเพ่ือแสดงภาระงานท่เี ดก็ ต้องทา โดยผู้ปกครองจะต้องเซ็นชอ่ื ในเอกสารนี้ทกุ วนั 7. กลยุทธ์ท่ใี ชใ้ นการสอนบุคคลทมี่ ีความบกพร่องทางการเรียนรเู้ ก่ียวกบั ทักษะการจัดระเบยี บ 7.1 สอนให้ผ้เู รียนทราบเก่ียวกบั กฎระเบียบ และข้อควรปฏบิ ตั ใิ นชีวิตประจาวัน 7.2 ใหอ้ ยู่ใกล้ชิดกับผู้เรียนในสถานการณ์ท่ีอาจทาให้ผู้เรียนเกิดความสับสน เพื่อจะได้คอยแนะนา ชว่ ยเหลอื เช่น ในการเลือกต้งั การฝกึ ซอ้ มการเกดิ เพลงิ ไหม้ เปน็ ตน้ 7.3 จดั ทาตารางกจิ กรรมการเรยี นการสอนที่ต้องปฏบิ ัตใิ นแต่ละคาบให้ผู้เรยี นทราบ 7.4 ใช้สีเปน็ เคร่ืองหมายเพอื่ แสดงถงึ วิชาตา่ ง ๆ ท่ีเรียน เชน่ การอ่านจะใช้สฟี ้าบนตารางเรียน และ เอกสารตา่ ง ๆ เกีย่ วกบั การอา่ นจะเกบ็ ไวใ้ นแฟ้มเอกสารสีฟ้า ในขณะท่ีหนังสือเรียนวิชาการอ่านจะหุ้มด้วยปกสีฟ้า เปน็ ต้น 7.5 บอกให้ผู้เรียนทราบเป็นประจาทุกวันว่าเวลาใดเป็นการเรียนวิชาอะไร เนื้อหาใด และกิจกรรม ใดบ้าง 7.6 เตรยี มพร้อมผู้เรียนในการเปล่ียนจากการทากิจกรรมการเรียนการสอนอยา่ งหน่ึง ไปสกู่ จิ กรรม อกี อยา่ งหนึง่ โดยการใช้คาพูดเตอื น เช่น อาจบอกวา่ “ในอกี 1 นาที เราจะไปที่... ” หรอื อาจ ใช้การปดิ -เปิด ไฟ พรอ้ มกบั พดู วา่ “ตอนนีเ้ ป็นเวลาสาหรบั ... ” 7.7 จัดทารายการเพอื่ เตอื นให้ผ้เู รยี นทราบว่าในแตล่ ะวนั ต้องเรียนวิชาใดบ้าง และในช่วงเวลาใด 7.8 เขียนคาสั่งในการทางานในที่ที่ผู้เรียนสามารถเห็นได้อย่างชัดเจน เช่น เขียนไว้ในหนังสือ
แบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ของผเู้ รียน หรอื เขียนบนเอกสารแลว้ ใสไ่ ว้ในหนงั สือของผูเ้ รียน 7.9 ให้ผู้เรียนนาหนังสือ และเอกสารต่าง ๆ ออกจากโต๊ะ ยกเว้นหนังสือหรือเอกสารท่ีจาเป็นต้อง ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนในรายวิชาน้ันๆ 7.10 สรุปประเด็นสาคัญสองหรือสามประเด็นจากบทเรียนในตอนท้ายคาบ พร้อมท้ังทบทวน ประเดน็ สาคญั เหล่านีใ้ นวันถัดไปก่อนการเริม่ ตน้ บทเรียนใหม่ 7.11 ทาเคร่ืองหมายเพื่อแสดงขอบเขตหรือตาแหน่งต่าง ๆ ให้ผู้เรียนทราบ เช่น ทาตาแหน่งท่ีจะ ให้ผู้เรียนวางเอกสาร ทารอยเท้าบนพ้ืนเพื่อช่วยให้เด็กเล็กสามารถอยู่ในท่ีที่กาหนดในการทากิจกรรมที่เป็น วงกลม เป็นตน้ 7.12 ชว่ ยให้ผู้เรยี นมีความต้ังใจในการเรียน โดยการเริ่มต้นกิจกรรมสาคัญ หรือ กิจกรรมใหม่ โดย การใช้ข้อความว่า “สิง่ น้ีเปน็ ส่ิงสาคัญ” กลยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอนที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นเป็นเพียงกลยุทธ์ท่ัว ๆ ไปท่ีใช้ในการ จัดการเรียนการสอนเพื่อช่วยเหลือบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ ดังนั้น ในการจัดการ เรียนการสอนเพื่อช่วยเหลือบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ในแต่ละด้านให้ได้ผลดีย่ิงขึ้น อาจต้องใช้ เทคนคิ การสอนทม่ี ีความเฉพาะเจาะจงขน้ึ ตวั อยา่ งนวตั กรรมที่ใชพ้ ัฒนาผู้เรยี นทีม่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ดา้ นการอา่ น 1. ใชก้ ระดาษทม่ี ีสสี ดใส (a bright construction paper) ทาบบนข้อความทจี่ ะอา่ น เพอื่ ช่วยให้ผูเ้ รยี นสามารถจดจอ่ อยู่กับข้อความที่อ่าน 2. ใช้แผน่ ใสหรอื แผน่ พลาสติกทีม่ ีสีสดใส ทาบบนขอ้ ความท่จี ะอ่านเพ่ือช่วยให้ ผ้เู รียนสามารถจด จ่ออยู่กบั ข้อความทอี่ า่ น
3. ใช้กระดาษทาเปน็ หน้าต่างการอา่ น (reading window) ซง่ึ สามารถติดประโยค หรอื ข้อความ เพ่ือชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถตดิ ตามและให้ความสนใจในเร่ืองทอี่ ่าน เทคนิคการสอนเพอื่ ชว่ ยใหอ้ ่านคลอ่ ง (Reading Fluency) เทคนิคการชว่ ยอ่าน (Assisted Reading Practice) เทคนิคนี้นับเป็นเทคนิคง่าย ๆ ท่ียังคงใช้ได้ผลดี โดยการให้ผู้เรียนอ่านออกเสียงดัง ในขณะที่ผู้ให้ ความชว่ ยเหลือซ่ึงเปน็ ผู้ทมี่ ีความสามารถด้านการอา่ นจะอา่ นตามเบา ๆ ถา้ ผู้เรียนอา่ นผิด ผชู้ ว่ ยจะชว่ ยแกไ้ ขให้ ขน้ั ตอนในการปฏบิ ัติ ข้ันตอนที่ 1 นั่งด้วยกันกับผู้เรียนในสถานที่เงียบ ๆ ที่ควรปราศจากเสียงรบกวน วางหนังสือท่ี ต้องการอ่านอยู่ในตาแหน่งที่ท้ังผู้ช่วยและผู้เรียนสามารถอ่านข้อความในหนังสือได้โดยง่าย หรือถ้าเป็นไปได้ ควรมีหนงั สือสองชุดสาหรบั แตล่ ะคน ขั้นตอนท่ี 2 ให้ผู้เรียนเร่ิมต้นอ่านหนังสือโดยการอ่านออกเสียง โดยครู หรือผู้ช่วยพูดให้กาลังใจ ผเู้ รยี นเพื่อเป็นการเสรมิ แรงใหส้ ามารถอา่ นไดด้ ี ขัน้ ตอนที่ 3 ในขณะท่ีผู้เรียนอา่ น ใหค้ รูหรือผู้ช่วยอา่ นตามไปดว้ ยเบา ๆ ขั้นตอนท่ี 4 ถ้าในขณะกาลังอ่านผู้เรียนอ่านผิดหรือเกิดความลังเลในการออกเสียงคาบางคา นานเกิน 5 วินาที ให้อ่านออกเสียงคานั้นให้ผู้เรียนฟัง พร้อมท้ังให้ผู้เรียนอ่านออกเสียงคานั้นซ้าอีกครั้ง ใหถ้ กู ต้อง และให้ผู้เรียนอ่านออกเสยี งตอ่ ไปเรื่อย ๆ จนจบเรือ่ งที่ตอ้ งการใหอ้ า่ น ขัน้ ตอนท่ี 5 ถา้ มีโอกาสให้คาชมเชยผเู้ รียนในการอา่ น เช่น “หนเู กง่ มากเลยรไู้ หม” “หนอู อกเสียงคา ที่หนูไม่รู้ไดถ้ ูกต้องเลยละ่ ” เทคนิคการแก้ไขคาผิด (Error Correction) เทคนิคการแกไ้ ขคาผิดทนี่ ิยม ใชก้ นั อยมู่ ีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การบอกคาท่ีผู้เรียนไม่รู้ให้ผู้เรียนทราบ (Word Supply) เทคนิคน้ีถือเป็น เทคนิคในการแก้ไข คาผิด ที่นับว่าง่ายท่ีสุดที่นิยมใช้กันอยู่ ซึ่งสามารถนามาใช้โดยให้ผู้เรียนท่ีทาหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยฝึก (tutor) เป็นผู้ทาหน้าที่แทนครู หรือพ่อแม่ ผู้ปกครอง อาจนาไปใช้เพ่ือช่วยเหลือบุตรหลานของตนที่บ้านก็ได้เช่นกัน โดยมขี นั้ ตอนในการปฏบิ ัตดิ งั น้ี
ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเริ่มต้นอ่าน ให้บอกกับผู้เรียนว่า “ถ้ามีคาที่หนูไม่รู้ครูจะช่วย โดยครูจะบอกคา ทถ่ี ูกต้องใหห้ นทู ราบ และหนตู ้องฟังพร้อมท้ังช้ีคาในหนังสอื ตามไปด้วย ตอ่ จากน้ันครูต้องการให้หนูอ่านคาที่ครู ออกเสียงซา้ อีกครงั้ หนึ่งแลว้ จึงอา่ นคาอ่นื ๆ ต่อไปตามปกติ พยายามอ่านให้ถูกต้องนะ” ถา้ ผู้เรยี นมีข้อผดิ พลาดในการอา่ น อาจจะโดยการอ่านผิด เช่น อ่านเพิ่มคาอ่านข้ามคา หรือมีความลังเล ในการออกเสียงคาบางคาเกิน 5 วินาที ให้ครูออกเสียงคาท่ีถูกต้องให้กับผู้เรียนพร้อมท้ังให้ผู้เรียนออกเสียง คาน้ันซ้าอกี ครง้ั ใหถ้ ูกตอ้ ง ใหผ้ ู้เรียนอา่ นต่อไปเรอื่ ย ๆ จนจบ 2. การอ่านซ้าประโยค (Sentence Repeat) โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้ ในตอนเริ่มต้นให้บอก กับผู้เรียนว่า “ถ้ามีคาท่ีหนูไม่รู้ ครูจะช่วย โดยครูจะบอกคาท่ีถูกต้องให้หนูทราบ หนูต้องฟังพร้อมทั้งชี้คา ในหนังสือตามไปด้วย ต่อจากนั้นครูต้องการให้หนูอ่านคาที่ครูออกเสียงซ้าอีกครั้ง พร้อมท้ังอ่านซ้าทั้งประโยค พยายามอ่านให้ถูกตอ้ งนะ” ถ้าผู้เรียนมีข้อผิดพลาดในการอ่าน อาจจะโดยการอ่านผิด เช่น อ่านเพ่ิมคา อ่านข้ามคาหรือมี ความลังเลในการออกเสียงคาบางคาเกิน 5 วินาที ให้ครูออกเสียงคาที่ถูกต้องให้กับผู้เรียนพร้อมท้ังให้ผู้เรียน ออกเสียงคาน้ันซ้าอีกครั้งให้ถูกต้อง แล้วจึงให้ผู้เรียนอ่านข้อความในประโยคที่ผู้เรียนอ่านผิดพลาดซ้า ท้งั ประโยค ถ้าในขณะที่ผู้เรียนอ่านข้อความในประโยคซ้าท้ังประโยคแล้วเกิดมีการอ่านคาเดิมผิดพลาดอีก ครูควรแกไ้ ขคานั้นให้กบั ผู้เรียน และให้ผู้เรียนออกเสียงคาน้ันซ้าให้ถูกต้องอีกคร้ัง แล้วจึงดาเนินการ ต่อไปตาม ข้นั ตอน ให้ผเู้ รียนอ่านต่อไปเร่อื ย ๆ จนจบเร่อื งท่ตี ้องการให้อ่าน หมายเหตุ เนื่องจากในภาษาไทยข้อความแต่ละประโยคไม่ได้มีเครื่องหมายจบประโยคท่ีชัดเจนดังเช่น ภาษาอังกฤษ แตใ่ นภาษาไทยจะใชก้ ารแบ่งข้อความเป็นวลีหรือประโยคส้ัน ๆ แทน ดังน้ัน การนามาปรับใช้กับ ภาษาไทยถ้าข้อความยาวเกินไป ครอู าจต้องทาเครื่องหมายแบง่ ข้อความใหช้ ดั เจนเพ่ือให้ผู้เรียนสะดวกในการอ่าน 3. เทคนคิ การจบั คู่อ่าน (Paired Reading) เทคนิคน้ีให้ผู้เรียนอ่านออกเสียงโดยการจับคู่กับผู้ท่ีมีความสามารถด้านการอ่าน ซึ่งจะทาหน้าท่ี เป็นผู้ช่วยในตอนแรก ผู้ช่วยจะอ่านออกเสียงด้วยกันกับผู้เรียน และเม่ือผู้เรียนส่งสัญญาณแสดงความพร้อม ผู้ช่วยจะหยุดอ่านในขณะที่ผู้เรียนยังคงอ่านต่อไปเรื่อย ๆ โดยถ้าผู้เรียนอ่านไม่ถูกต้อง ผู้ทาหน้าท่ีเป็นผู้ช่วย จะคอยแกไ้ ขให้ ขัน้ ตอนในการปฏบิ ัติ ข้ันตอนท่ี 1 น่ังด้วยกันกับผู้เรียนในสถานท่ีเงียบ ๆ ท่ีควรปราศจากเสียงรบกวน วางหนังสือ ทต่ี อ้ งการอ่านอยู่ในตาแหนง่ ทีท่ ง้ั ผู้ช่วยและผเู้ รียนสามารถอา่ นข้อความในหนงั สือได้โดยง่าย ขนั้ ตอนท่ี 2 บอกให้ผเู้ รียนทราบว่า “เรากาลงั จะเริม่ อ่านออกเสียงด้วยกันสักช่วงเวลาหนึ่งนะ เมื่อไร ก็ตามท่ีเธอต้องการจะอ่านตามลาพัง ให้แตะท่ีหลังมือครูแบบน้ี (แสดงการแตะให้ผู้เรียนดู) ครูก็จะหยุดอ่าน ถา้ มคี าที่เธอไม่รู้ ครูจะช่วยบอกคาที่ถูกตอ้ งให้ทราบ และจะเริ่มต้นอา่ นกับเธออกี คร้งั ” ข้ันตอนท่ี 3 ผู้ช่วยและผู้เรียนเร่ิมต้นการอ่านออกเสียงด้วยกัน ถ้าอ่านคาผิดให้ผู้ช่วยชี้ที่คานั้นพร้อม ท้ังออกเสียงคาที่ถูกต้องให้ผู้เรียนทราบ แล้วจึงให้ผู้เรียนอ่านคาน้ันซ้าอีกครั้งหนึ่ง เมื่อผู้เรียนอ่านคาน้ันได้
ถกู ตอ้ งแล้วให้ผเู้ รียนอา่ นต่อโดยทผ่ี ู้ช่วยจะอ่านคู่ไปกับผ้เู รียนดว้ ย ข้ันตอนท่ี 4 เมื่อผู้เรียนส่งสัญญาณแสดงความพร้อมที่จะอ่านคนเดียว ให้ผู้ช่วยหยุดอ่านและนั่ง ตดิ ตามการอ่านของผู้เรียนต่อไปอย่างเงียบ ๆ ตัวอยา่ งนวตั กรรมทใ่ี ชพ้ ัฒนาผ้เู รยี นที่มคี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ ดา้ นการเขียน 1. การฝกึ ประสาทสมั ผัสทางการเห็นเพอ่ื การจาตัวเลข พยญั ชนะ สระ เชน่ เป็นการใช้สัญญาณไฟ เพื่อกาหนดทิศทางของการเขียนตัวเลขอย่างถูกต้อง 2. การใชน้ วิ้ สัมผัสตามร่องตัวอกั ษร 3. การใหร้ ้จู กั ตาแหนง่ ของพยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ของไทย เชน่
4. การฝกึ เขยี นคา จัดหมวดหมคู่ าและการสร้างประโยค ซึ่งสามารถประยุกต์ ใชแ้ ละพัฒนา เพ่ิมขน้ึ เพ่อื ให้เหมาะสมตามสภาพปัญหาของผ้เู รยี น 5. การสอนเกีย่ วกบั โครงสรา้ งประโยคอย่างงา่ ย และคอ่ ยพฒั นาสูป่ ระโยคที่ ซบั ซ้อนขึ้น 6. ฝึกสร้างประโยคจากบัตรคาหมวดตา่ ง ๆ ท่ีกาหนด โดยการเรมิ่ ตน้ จากประโยคง่าย ๆ ก่อน บัตรคาหมวดคานาม และคากรยิ า บัตรคาหมวดคานาม คากรยิ า คาวเิ ศษณ์ ฯลฯ 7. เทคนิค “Self-regulated strategy development: SRSD” (Harris et al.,2003) ผู้เรียนที่ มีปัญหาหรือความยากลาบากเก่ียวกับการเขียนมีความจาเป็นที่จะต้องใช้เทคนิค ทางด้านการเขียนในการ ช่วยเหลือพวกเขา จดุ มุ่งหมายของเทคนคิ “SRSD” มดี ังน้ี ชว่ ยให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้เก่ียวกับการเขียนรวมทั้งวิธีการที่ใช้ในกระบวนการเขียน สนับสนุนให้ ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถท่ีจาเป็นท่ีต้องใช้ในการเขียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทัศนคติเชิงบวกเก่ียวกับ การเขยี นและตอ่ ตนเองในฐานะนักเขียน ข้ันตอนทงั้ 5 ขั้นของเทคนิค “SRSD” ประกอบดว้ ย
1. พัฒนาความรู้พ้ืนฐาน โดยการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ผู้เรียนจะคิดเก่ียวกับสิ่งที่ตนเองรู้ เก่ียวกับหวั ขอ้ ท่ีจะเขียน และช่วยกนั หาขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ จากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ 2. อภิปรายเกี่ยวกับงานเขียน โดยเร่ิมจากการท่ีผู้เรียนจะพูดคุยและอภิปรายกันว่า เขาได้เรียนรู้ อะไรกันบ้างจากเพ่ือน ๆ และครู ต่อจากนั้นจะอภิปรายกันว่าในงานเขียนน้ีจะเลือกใช้เทคนิคการเขียนอะไร เช่น เขาอาจวางแผนทจ่ี ะใช้เทคนิคการกาหนดคาสาคัญและให้หาคาทีเ่ กย่ี วข้อง (semantic mapping) 3. ออกแบบงานเขยี น ผู้เรียนช่วยกันออกแบบวา่ จะใชเ้ ทคนิควธิ ใี นการเขียนท่เี ลือกมา เขียนเร่ือง กนั อยา่ งไร โดยการพูดให้ผู้อ่ืนทราบเกยี่ วกับความคิดของตนเอง (think aloud) 4. จดจาเก่ยี วกบั เทคนคิ วธิ ใี นการเขยี นทตี่ นเองเลอื กใช้ โดยผเู้ รยี นจะชว่ ยกนั ทบทวน และพูดดัง ๆ เกีย่ วกบั องคป์ ระกอบต่าง ๆ ของเทคนคิ วิธีในการเขียนทตี่ นเลอื ก 5. ผู้เรียนเร่มิ ต้นเขียนเร่ืองโดยใชเ้ ทคนคิ วธิ ใี นการเขยี นท่เี ลือก 6. ผเู้ รยี นแตล่ ะคนเขยี นเร่อื งด้วยตนเอง โดยใช้เทคนิควธิ ีในการเขยี นท่ีเลือก 8. เทคนิค “การสนทนาโดยการเขยี น” (Written Conversation) ในการใช้เทคนิคน้ีจะต้องประกอบด้วยผู้เรียน 2 คน หรืออาจเป็นผู้เรียนกับครู โดยคู่สนทนา คนหน่ึงจะนัง่ ข้าง ๆ อีกคนหนง่ึ และในการสอ่ื สารค่สู นทนาจะไม่สามารถใช้คาพูดใด ๆ เว้นแต่การเขียนเท่าน้ัน ถ้าข้อความท่ีคู่สนทนาเขียนยังขาดความชัดเจน อีกคนหนึ่งต้องถามเพิ่มเติมเพื่อให้ข้อความที่สนทนามีความ ชดั เจน เทคนิคนจ้ี ะชว่ ยให้ผู้เรียนเรียนรู้ท่ีจะถ่ายทอดความคิดมาสู่การเขียน ยกตัวอย่าง เช่น ในการเก็บข้อมูล ของข่าวจากหนังสือพิมพ์ ครูอาจถามผู้เรียนว่าในข่าวเกิดอะไรขึ้น อย่างไร นอกจากน้ี ครูยังสามารถเขียน ข้อความท่ีแสดงการทักทายผู้เรียนและผู้เรียนเขียนตอบ ครูหรือผู้เรียนอาจเขียนอะไรก็ได้และให้ครูตอบโดย การเขียน โดยในการสนทนากันด้วยการเขียนคู่สนทนาควรใช้ดินสอ หรือปากกาที่มีสีต่างกัน (Richek et al., 1996) ตัวอยา่ งนวัตกรรมท่ีใชพ้ ัฒนาผเู้ รยี นทีม่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ดา้ นการคดิ คานวณทาง คณติ ศาสตร์ 1. การใช้ตัวอักษรจาง โดยเร่ิมให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างจานวนกับตัวเลขท่ีสมบูรณ์ รวมท้ังใช้สี แสดงจุดเริ่มต้น หลังจากน้ันค่อย ๆ ให้ตัวอักษรจางลงทีละน้อย จนสุดท้ายให้เด็กจาและเขียนได้เอง โดย สามารถฝกึ กับตัวอักษรอืน่ ๆ โดยเฉพาะตวั อักษรทค่ี ล้ายกัน
2. การนบั โดยใช้น้วิ มอื 3. การนับตัวเลข โดยใช้การสัมผัส (Touch Math) ต้ังแต่เลข 6 ถึงเลข 9 อาจ ใช้วงรอบ ดอกจันทน์แลว้ ใหน้ ับซ้าอกี คร้งั หนึ่ง ทง้ั น้ีเพื่อป้องกนั จานวนดอกจนั ทน์ทมี่ ีจานวนมากเกนิ ไปบน ตวั เลขน้นั ๆ 4. การบวกโดยการนับจดุ บนตวั เลข วธิ ีนี้คล้ายกบั วธิ ี touch math แตจ่ ะมีจุดบนตวั เลขเทา่ จานวน ตวั เลข และไม่มีวงกลมล้อมรอบจดุ ทั้งน้ีในการบวกจะใช้วิธนี ับจดุ บนตวั เลข 2 ตวั รวมกัน ดงั ตัวอย่าง
5. การใช้ตารางในการบวก โดยนับช่องตารางรวมกนั เช่น 3 + 2 = 5 6. การคณู โดยการนับจุดบนตัวเลข 7. การสอนความคดิ รวบยอดเรอื่ งหลกั เลข (หนว่ ย สบิ รอ้ ย) 8. การใชแ้ ผนภาพ/ รปู ภาพเพอื่ แสดงเกยี่ วกบั การบวก ลบ คณู หาร
9. การสอนเกยี่ วกบั การจาแนกรปู เรขาคณิตสองมิติ ตัวอยา่ งส่อื เช่น ตัวอย่างท่ี 1 ด้านหน้า ตัวอย่างที่ 2
รายการสง่ิ อานวยความสะดวกทางการศึกษาสาหรับผเู้ รียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ รายการ บัญชี ก อปุ กรณ์ช่วยการอา่ น (Reading Aids) • โปรแกรม IBM homepage Reader • โปรแกรม Kurzweil 3000 • โปรแกรม Scan & Read • โปรแกรม อ่านหนังสือภาษาอังกฤษผ่านเคร่ืองสแกนเนอร์ • ลูกโลกมเี สยี ง • เครื่องเปดิ ฟังหนงั สอื สาหรับหนงั สือเสียงระบบเดซี • เคร่อื งเล่นDVD, MP3 DVD • เครอ่ื งเทปคาสเซ็ตแบบพกพา คอมพิวเตอร์และการใชง้ านคอมพิวเตอร์ • โปรแกรมคอมพวิ เตอรอ์ า่ นจอภาพบนวนิ โดวส์ (Screen Reader for Windows) • คอมพิวเตอร์ • คยี ก์ ารด์ และคีย์บอร์ด • ลกู บอลควบคมุ (Big Track) • ลูกบอลควบคุม (Roller II Trackball) • ลกู บอลควบคุม (Logitech Marble Mouse) • คนั โยกควบคุม(Roller II Joystick) • จอภาพแบบสัมผัสแบบติดต้ังภายนอก อปุ กรณ์ช่วยการสื่อสาร (Communication Aids) • อปุ กรณช์ ่วยสอ่ื สาร : โอภา • สวติ ช์พดู ได้ • โทรศัพท์ขยายเสียง รายการบญั ชี ข อปุ กรณช์ ่วยการเขียน (Writing Aids) • กรอบสาหรับเขยี นข้อความ • แบบตัวอักษรภาษาไทย ตวั อ้วน • แบบตัวอกั ษรภาษาอังกฤษ พิมพ์เล็กตวั ตรง • แบบตวั เลขไทย-อารบ์ ิค
อุปกรณ์ช่วยการอ่าน • โปรแกรม TAB Player • โปรแกรม AMIS • เคร่ืองเลน่ MP 3 บันทึกเสียงได้ • เครือ่ งเล่น MP4 บนั ทึกเสียงได้ คอมพิวเตอรแ์ ละการใชง้ านคอมพิวเตอร์ (Computer and Computer Access) • แปน้ คียบ์ อร์ดขนาดเลก็ • โปรแกรมเดาคาศัพท์ • โปรแกรมแสดงแป้นพิมพบ์ นจอภาพ ส่ือการเรยี นรู้ (Educational Tools) • หนังสอื เสียง • หนังสือเสยี งระบบเดซี • หนังสืออกั ษรเบรลล์ • หนงั สอื หรือภาพขนาดใหญ่ • บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน ชดุ AMAZING CAI • บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน ชุด ฝึกเขยี นเรยี งคา • บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ โปรแกรม อ่านเขียนเรยี นดี • บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ โปรแกรม Math Flash • เครื่องคิดเลขมเี สยี งและแสดงตวั เลขขนาดใหญ่ • เครอื่ งคานวณทแ่ี สดงผลเป็นอักษรตัวใหญ่ • ชดุ เครอ่ื งมือเรขาคณติ พรอ้ มแผ่นยางรองเขยี น • วงเวยี นสาหรับเส้นนนู • วดี ทิ ศั นใ์ นรปู แบบวีซีดีเพอ่ื การศกึ ษาสาหรบั คนพิการ ชดุ “คู่มือภาษามือไทย” • วีดีทศั น์ในรูปแบบวซี ดี ี ชดุ “อาชีพอิสระ” • ชดุ ฝกึ ทกั ษะการฟงั • วีดีทัศน์รปู แบบวีซดี ี ชดุ “อย่ดู ีมสี ขุ ” • วีดีทศั น์ในรูปแบบวีซดี ี ชุด “ร่างกายของเรา” รายการบัญชี ค บริการ (Services) • บรกิ ารสอนเสริมวิชาการ ตามสาระการเรยี นรู้ • บริการอา่ นเอกสาร หรือข้อสอบ • บรกิ ารนาทาง • บริการผลติ สื่อ • บรกิ ารสาเนาหนงั สือเสยี ง
• บริการสาเนาหนังสอื เสียงซีดี • บริการสาเนาวีดที ศั น์ • บรกิ ารจดคาบรรยาย • บริการกายภาพบาบัด • บรกิ ารฝึกพูดและแก้ไขการพูดโดยครู • บริการฝึก ทักษะการสอ่ื สาร • บรกิ ารฝกึ ทักษะการส่ือสารโดยใช้ภาษามอื ไทย • บรกิ ารกิจกรรมบาบัด • บรกิ ารล่ามภาษามือ • บรกิ ารการอบรม ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ • บริการการอบรมทักษะการดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั และทักษะทางสงั คม • บรกิ ารการอบรม ทกั ษะการสร้างความคุน้ เคยกบั สภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว • บริการแนะแนวการศึกษา • บรกิ ารพ่เี ลยี้ ง • บริการผูช้ ว่ ยเหลอื • บริการดนตรีบาบดั และดนตรเี พ่ือการพฒั นา • บรกิ ารพฤติกรรมบาบัดและแกไ้ ขพฤติกรรม • บริการศิลปะบาบัดและศลิ ปะเพื่อการพฒั นาการ • บรกิ ารประเมินพฒั นาการ • บริการประเมินทางจติ วทิ ยา • บรกิ ารประเมนิ ทักษะด้านต่างๆ นอกจากนี้ศูนย์เทคโนโลยีอิเลคทรอนิคส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) (หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-6901-2) ได้จดั ทาโปรแกรมสาหรบั พฒั นาศกั ยภาพของเด็ก LD ในเร่อื งการ พูดและการเขยี น คอื • โปรแกรมเดาคาศัพท์ (Word Prediction) • โปรแกรมวาจา
หนว่ ยที่ 4 การวดั ประเมินผล และตดั สินผลการเรยี นของผเู้ รียนท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ (กรณศี กึ ษา) แนวทางการดแู ล/ชว่ ยเหลือผู้เรียนท่มี คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ในโรงเรียน สิ่งสาคัญของการช่วยเหลือผู้เรียน คือ การทางานเป็นทีมระหว่างคุณครูและผู้ปกครอง คุณครู จาเป็นต้องหมั่นพบปะพูดคุยกับคุณพ่อคุณแม่อย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ เพื่อติดตามและแลกเปล่ียนข้อมูล ความเปน็ ไปของผู้เรียนจะได้เข้าใจถึงสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึน ร่วมมือกันในการดูแลและช่วยเหลือผู้เรียนได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันท่วงที หากไม่มีเวลาพบปะพูดคุยอาจใช้การเขียนในสมุดการบ้านของผู้เรียน เพ่ือให้ ผู้ปกครองรบั ทราบ สง่ิ สาคัญอีกประการหน่ึงสาหรับผูเ้ รียนที่มคี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ คือผู้เรียนมีความจาเป็นต้อง ไดร้ ับการสอนเสรมิ พเิ ศษ เพราะผู้เรียนแต่ละคนมีรูปแบบการเรียนรู้เฉพาะตัวท่ีแตกต่างกัน จึงเป็นต้องมีครูท่ีมี ความรู้ ความเข้าใจในความต้องการพเิ ศษเพ่ือท่ีผเู้ รียนจะไดต้ ิดตามการเรยี นการสอนในชนั้ เรียนได้ทัน นอกจากน้ีควรมีการจัดทาแผนการศึกษาเฉพาะรายบุคคล เนื่องจากผู้เรียนที่มีความบกพร่องทาง การเรยี นรู้ อาจมีบกพรอ่ งเฉพาะบางด้าน แผนการศึกษาเฉพาะรายบคุ คล (Individualized Education Program : IEP) เป็นการจัดการศึกษาพิเศษ ให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนในแต่ละราย อาศัยความร่วมมือจาก หลายฝ่าย ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครูประจาชั้น ครูการศึกษาพิเศษ แพทย์ นักจิตวิทยา และบุคลกรที่ เกย่ี วข้องและทสี่ าคญั ท่ีสดุ ก็คือ พอ่ แม่ ผูป้ กครองของผเู้ รยี น การจัดทา IEP อาจจัดเป็นเทอมหรือเป็นปีก็ได้ โดยต้องกาหนดเน้ือหาดังต่อไปน้ี กาหนด วตั ถปุ ระสงค์ของการเรยี นการสอนอยา่ งเป็นขัน้ ตอน กาหนดกลวิธที จ่ี ะบรรลุถึงวัตถุประสงค์ การประเมนิ กาหนดบริการพิเศษที่ผู้เรยี นควรไดร้ ับการสนบั สนุนและส่งเสริม การจดั ทาแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) ควรจดั ให้เสรจ็ กอ่ นเปิดภาคเรียนแรก เนื้อหาที่ปรับควรทาเฉพาะวิชาทักษะ ได้แก่ วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ เฉพาะ วชิ าท่ีผูเ้ รียนทาไดต้ า่ กวา่ ชั้นเรียนปจั จบุ ัน ไมป่ รบั วิชาสาระอน่ื อีก 5 สาระ ปรับวิธีการสอนและวิธีวัดผลให้สอดคล้องกับผู้เรียน เช่น ผู้เรียนท่ีมีความสามารถทางการอ่าน ตา่ กวา่ ชัน้ เรยี นปจั จุบันมาก ควรสอบปากเปลา่
รูปแบบการเรียนการสอนสาหรบั ผเู้ รยี นท่ีมคี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ การจัดรปู แบบการเรยี นการสอนจะทาได้หลายลักษณะ เชน่ 1. การเรียนรวมเตม็ เวลา (full inclusion) 2. การเรียนรวมบางเวลา (partial inclusion) ซ่ึงหมายถึง การเรียนแยกบางเวลา ซึ่งอาจเป็นการ แยกสอนในบางช่ัวโมง (pull-out program) โดยเฉพาะในช่ัวโมงภาษา ** การเรียนการสอนสาหรับเด็กแอลดีไม่นยิ มจดั เปน็ หอ้ งพิเศษ หรือโรงเรยี นเฉพาะ การสอนผู้เรียนทมี่ คี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ วิธีการสอนผู้เรยี นท่มี ีความบกพร่องทางการเรียนรู้นนั้ คล้ายกบั การสอนผู้เรียนทว่ั ไป แตค่ ุณครคู วร เพม่ิ เติมการสอนในประเดน็ ต่อไปน้ี 1. การสอนให้ผู้เรยี นรู้จักจัดระเบียบของอุปกรณ์และงานที่ได้รับมอบหมาย สอนให้ผู้เรียนเขียนหัวข้อ เพื่อจดั ลาดบั ความสาคญั ของเรอ่ื งที่เรียนและสอนทักษะการเรียนรู้ 2. การช่วยให้ผู้เรียนรู้จักคิดวางแผนข้ันตอนต่าง ๆ จนกระท่ังงานสาเร็จ และสอนให้รู้จักใช้คาถาม มาชว่ ยในการเรยี น เชน่ • การทางานช้นิ นต้ี อ้ งใชเ้ วลาเทา่ ไหร่ • งานชิ้นน้ตี อ้ งใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง • หากเขามคี าถาม เขาควรจะถามใคร เปน็ ต้น 3. ครูควรมองข้ามข้อผดิ พลาดเล็กนอ้ ย เช่น การสะกดคาผดิ หรือลายมอื ไมส่ วย แต่คุณครูควรเน้นการ ถา่ ยทอดความคดิ ของผเู้ รยี น และความพยายาม ความต้งั ใจ ในการทางานช้ินนั้นให้สาเร็จมากกว่า 4. ครูควรจัดกิจกรรมท่ีให้ผู้เรียนใช้สมองซีกขวาด้วย เช่น ศิลปะ ละคร หรือดนตรี มากกว่าการเน้น ฝกึ ฝนสมองซกี ซา้ ย เช่น การให้เหตผุ ลหรือการจดั ลาดับความคดิ แต่เพียงอยา่ งเดยี ว 5. ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้จานวนมากมีความคับข้องใจด้านการเรียน คุณครูควรดูแล ด้านจิตใจและอารมณ์ของผู้เรียนด้วย เช่น การให้กาลังใจเพ่ือช่วยให้ผู้เรียนสามารถผ่านพ้นความรู้สึก คับข้องใจไปได้ เน้นว่าสงิ่ ที่ผ้เู รยี นทาได้ไม่ดี ไม่ได้เป็นการแสดงวา่ ผ้เู รยี นเปน็ คนไม่มีความสามารถ 6. ครูควรให้เวลาในการสอบมากกว่าผู้เรียนคนอ่ืน หรือใช้การสอบปากเปล่าเพื่อวัดความรู้ต่อวิชา นั้น ๆ ในผู้เรยี นทม่ี ีปัญหาดา้ นการเขียน 7. ข้อสอบท่ีให้เลือกตอบควรจัดอยู่ในแนวตั้งมากกว่าตัวเลือกที่อยู่ในแนวนอน เพราะผู้เรียนสามารถ อา่ นได้งา่ ยกวา่ ตัวเลอื กที่อยู่ในแนวตง้ั เช่น ก......................... ข......................... ค......................... ง......................... ตวั เลอื กท่อี ยใู่ นแนวนอนซง่ึ ไม่ควรใช้ เช่น ก............ข...........ค.................ง................
8. ครูควรใช้คาสั่งที่ง่ายและชัดเจน พร้อมทั้งให้ผู้เรียนทวนคาส่ังก่อนที่จะเร่ิมลงมือทาทุกคร้ัง เพื่อ ตรวจสอบวา่ ผู้เรียนเขา้ ใจคาสั่งน้ันหรอื ไม่ 9. ครูควรสอนความรใู้ หมท่ ่ีผสมผสานกบั ประสบการณเ์ ดิมของผู้เรียน เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนจา และเข้าใจ ไดง้ ่ายขนึ้ รวมถึงสามารถนาไปใชช้ ีวิตจรงิ ได้ 10. อุปกรณ์ที่ครูนามาสอน ต้องใช้ประสาทสัมผัสท้ังห้า และครูควรให้ผู้เรียนทบทวนส่ิงที่สอนไปด้วย วธิ กี ารใหม่ ๆ มากกว่าการใช้แบบฝกึ หดั เพียงอยา่ งเดยี ว เช่น การเขียนตัวอักษรลงบนกระบะทราย หรือการให้ ผเู้ รยี นเลน่ ทายพยัญชนะจากการเขียนบนฝ่ามอื 11. สง่ิ สาคญั คือ ครจู ะต้องรว่ มมอื กับผู้ปกครองในการพฒั นาผูเ้ รียนทีม่ ีความบกพร่องทางการเรียนรู้
สรปุ สาระสาคญั จากเจตนารมณท์ กี่ าหนดไวใ้ นรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติและพระราชบัญญัติการ จัดการศึกษาสาหรับคนพิการ รวมท้ังกฎกระทรวงและนโยบายที่เก่ียวข้อง มุ่งเน้นที่จะให้เด็กทุกคนได้รับ การศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ทั้งน้ีรวมถึงเด็กพิการหรือบกพร่องทุกประเภทด้วย ซึ่งจะต้องจัดให้ได้รับ การศึกษาในรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ถึงแม้การดาเนินงานจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ผ่านมา จะสามารถจัดการศึกษาได้ตามภารกิจท่ีกาหนดไว้ใน ระดับท่ีน่าพึงพอใจ แต่อย่างไรก็ตาม การดาเนินงานดังกล่าวยังมีปัญหาบางประการท่ีต้องแก้ไข รวมท้ังต้องมี การพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากยงิ่ ขึน้ ทั้งในแง่ปริมาณและคุณภาพ ทั้งนี้ รวมถึงกลุ่มเด็กท่ีมีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ด้วยซ่ึงในปัจจุบันพบว่า เด็กกลุ่มน้ีมีจานวนท่ีเพ่ิมข้ึนมาก โดยมีมูลเหตุสาคัญท่ีต่างจากเด็กกลุ่ม อื่น คือ เด็กกลุ่มนี้เป็นเด็กท่ีมีความบกพร่องเกี่ยวกับกระบวนการทางจิตวิทยา (Mercer & Pullen, 2005) ท่ีสันนิษฐานกันว่าเป็นความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง (Bender, 1995:19) จึงนับเป็นเร่ืองยาก สาหรบั ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทวั่ ไปจะเข้าใจได้อย่างถ่องแท้ ดังน้ันในการที่จะพัฒนาเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ให้เต็มศักยภาพ จึงมีความจาเป็น อย่างย่ิงท่ีผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรที่เก่ียวข้อง ต้องมีเจตคติที่ดีต่อเด็กดังกล่าว และมีความรู้ ความเขา้ ใจอยา่ งแทจ้ ริงเก่ยี วกับสภาพปญั หาที่เดก็ กลุม่ นป้ี ระสบ รวมทง้ั มีเทคนิควิธีการสอน และส่ือการเรียนรู้ ที่มีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพความบกพร่องและความต้องการจาเป็นพิเศษของผู้เรียนแต่ละบุคคล นอกจากน้ียังมีความจาเป็นที่จะต้องศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการศึกษาสาหรับเด็กท่ีมีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ของประเทศไทยในปัจจุบัน เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการจัดการศึกษาสาหรับเด็กกลุ่มน้ี ให้มีประสิทธภิ าพมากย่ิงขน้ึ
แหลง่ ขอ้ มูลเพิ่มเติม องค์กร หน่วยงานของรัฐ และเว็บไซต์ (Organization, Government Agencies and Websites) 1) Alabama Reading Initiative http://www.alsde.edu/html/home.asp เปน็ หนว่ ยงานระดบั รฐั ทใ่ี หก้ ารสนบั สนุนดา้ นการอา่ น โดยเว็บไซต์ของหน่วยงานจะให้บริการ ขอ้ มูล สื่อ วสั ดอุ ปุ กรณ์ทีเ่ ก่ยี วข้องกับการสอนการอ่าน 2) All Kinds of Minds www.allkindsofminds.org เปน็ หน่วยงานท่ีศกึ ษาวิจัย พฒั นาผลงาน การออกแบบโปรแกรม และการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้าง ความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับเด็กที่มีความแตกต่างกันในการเรียนรู้ (children with differences in learning) รวมทัง้ ใหบ้ รกิ ารข้อมูล บทความ โปรแกรมการจดั การเรยี นการสอน และการฝึกอบรม 3) Attention Deficit Disorder Association www.add.org เป็นองค์กรที่ให้ความช่วยเหลือบุคคลที่มีสมาธิส้ัน โดยเว็บไซต์จะให้บริการบทความและข้อมูล ขา่ วสารเก่ียวกบั บุคคลทีม่ สี มาธิสนั้ รวมท้ังยังใหบ้ ริการขอ้ มลู เกีย่ วกบั การประชมุ สัมมนา 4) Children and Adults With Attention Deficit Disorder (CHADD) www.chadd.org เป็นองค์กรเครือข่ายผู้ปกครองของเด็กที่มีสมาธิสั้น ท่ีให้บริการเวทีเสวนาของผู้ปกครอง และ นกั วิชาชพี ท่ีงานเก่ียวข้องกับบุคคลสมาธิสั้น รวมท้ังให้บริการเอกสารความรู้ข้อมูลเกี่ยวกับ IDEA และงานวิจัย ท่ีเก่ียวข้องกบั บคุ คลทีม่ ีสมาธิส้ัน 5) Coordinated Campaign for Learning Disabilities (CCLD) www.aboutld.org เป็นองค์กรท่ีให้ความช่วยเหลือบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้และความบกพร่องอื่น ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง โดยเว็บไซต์นี้จะให้บริการข้อมูลที่มีความทันสมัยจากผู้เชี่ยวชาญด้านความบกพร่องทางการเรียนรู้ สมาธิส้ัน และปัญหาทางพฤติกรรม รวมทั้งยังให้บริการข้อมูล หนังสือ วีดิโอ ส่ือบันทึกเสียง และส่ืออื่น ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั เด็กและผู้ใหญ่ที่มปี ัญหาเหล่าน้ี 6) Council for Exceptional Children, Division for Learning Disabilities (DLD) http://www.dldcec.org เป็นหน่วยงานหน่ึงของสมาคมสาหรับเด็กพิเศษ (Council for Exceptional Children) ท่ีให้ ความช่วยเหลือโดยตรงแก่บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยเว็บไซต์น้ีจะให้บริการเอกสารวามรู้ บทความ เทคนิคการสอน สิง่ พิมพ์ ขอ้ มูลขา่ วสารเก่ียวกบั การประชุมสัมมนา รวมท้ังยังเชื่อมต่อกับเว็บไซต์ของ หนว่ ยงานอนื่ ๆ ทีใ่ หค้ วามช่วยเหลือบคุ คลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ 7) Council for Learning Disabilities www.cldinternational.org เป็นองค์กรสาหรับผู้เชี่ยวชาญที่อุทิศตนในการให้ความช่วยเหลือบุคคลท่ีมีความบกพร่องทาง การเรียนรู้ โดยเว็บไซต์จะให้บริการเอกสารความรู้ งานวิจัยทางด้านปัญหาทางการเรียนรู้ และกฎหมายล่าสุด แก่ผู้ที่อุทิศตนในการช่วยเหลือเพื่อยกระดับการศึกษาและคุณภาพชีวิตของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการ เรียนรู้
8) Dyslexia, Learning Disabilities & Literacy Resource Site www.greenwoodinstitute.org/resources/resindex.html เปน็ เวบ็ ไซต์ของโรงเรยี นกรีนวดู (Greenwood School) ที่ให้บริการบทความ และข้อมูลเกี่ยวกับ เกย่ี วกับปญั หาทางด้านการอา่ น และความบกพร่องทางดา้ นภาษาแก่ผู้ปกครอง ครู และผู้ที่สนใจ 9) Dyspraxia Foundation www.dyspraxiafoundation.org.uk เป็นองค์กรของประเทศสหราชอาณาจักร ที่ให้ความช่วยเหลือผู้ที่มีความบกพร่องทางการ เคล่ือนไหว (dyspraxia) โดยเว็บไซต์นี้จะให้บริการเอกสารความรู้เกี่ยวกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการ เคล่ือนไหว และยงั เชอื่ มต่อกบั เว็บไซต์อน่ื ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ 10) ERIC Clearinghouse on Disabilities and Gifted Education (ERIC/CEC) www.cec.sped.org/ericec.htm เป็นระบบฐานข้อมูลทางด้านการศึกษาระดับชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มีฐานข้อมูล ขนาดใหญ่ มีการจัดพิมพ์และเผยแพร่ข้อมูลที่ถือเป็นศูนย์กลางของแหล่งข้อมูลสาธารณประโยชน์ รวมทั้ง ส่งเสริมการเผยแพรง่ านวิจยั 11) IDEA Practices www.ideapractices.org เป็นเว็บไซต์ท่ีให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายทางด้านการศึกษาพิเศษของประเทศสหรัฐอเมริกา ทมี่ คี วามเป็นปัจจุบัน 12) International Dyslexia Association (IDA) www.interdys.org/ เป็นองค์กรท่ีให้บริการข้อมูลเก่ียวกับการประชุม พบปะกันของกลุ่มผู้ให้การสนับสนุนที่มีสาขา อยู่ทั่วประเทศสหรฐั อเมริกา โดยมกี ารจัดพมิ พ์วารสาร และสง่ิ พมิ พท์ เี่ กี่ยวข้องกบั ปัญหาทางดา้ นการอ่าน 13) International Reading Association (IRA) www.reading.org เป็นองค์กรท่ีอุทิศตนในการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ โดยการพัฒนาการสอนการอ่าน ใหม้ คี ุณภาพ รวมท้ังการเผยแพร่งานวจิ ัย บทความ และข้อมลู เกีย่ วกับการอา่ น 14) Learning Disabilities Association of America (LDA) www.ldaamerica.org เป็นองคก์ รท่ใี หค้ วามช่วยเหลือผู้ปกครอง ครู และผู้ท่ีทางานเก่ียวข้องกับผู้ที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ โดยเว็บไซต์จะให้บริการข้อมูล เอกสารความรู้เกี่ยวกับความบกพร่องทางการเรียนรู้ การประชมุ สมั มนาประจาปี และส่ิงพมิ พ์ 15) LD Online http://www.ldonline.org เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการข้อมูลที่มีความเป็นปัจจุบันเก่ียวกับความบกพร่องทางการเรียนรู้ แก่ผู้ปกครอง นกั การศึกษา ผู้เรียน และผูท้ ี่ทางานเก่ียวขอ้ งกบั บคุ คลกลมุ่ ดงั กลา่ ว 16) Learning Disabilities Resources www.ldresources.com เป็นเว็บไซต์ที่ประกอบไปด้วยข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์เกี่ยวกับความบกพร่องทางการเรียนรู้ ในหลาย ๆ ด้าน และยงั เชือ่ มต่อกบั เว็บไซต์และแหล่งขอ้ มูลอ่นื ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง
17) Learning Disabilities Worldwide www.ldworldwide.org เป็นองค์กรท่ีอุทิศตนเพ่ือช่วยเหลือบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ครอบครัว ครู และผู้ที่ ทางานเกี่ยวข้องกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยเว็บไซต์จะให้บริการข้อมูลเก่ียวกับ บทความ งานวิจยั สิง่ พิมพ์ วีดโิ อทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับความบกพร่องทางการเรียนรู้ รวมทั้งการประชุมสัมมนาประจาปีในระดับ นานาชาติ 18) National Aphasia Association www.aphasia.org เป็นองค์กรที่สนับสนุนด้านการศึกษา การวิจัย การให้ความช่วยเหลือผู้ท่ีมีปัญหาเก่ียวกับความ เข้าใจและการใช้ภาษาพูด (aphasia) และครอบครัว รวมท้ังให้บริการเอกสารความรู้ และการเข้าถึงกลุ่มผู้ท่ี ใหค้ วามช่วยเหลอื 19) National Center for Law and Learning Disabilities (NCLLD) เป็นองค์กรที่ให้ความดูแลและให้บริการข้อมูลเก่ียวกับกฎหมาย ความบกพร่องทางการเรียนรู้ ปัญหาเก่ียวกับสมาธสิ ั้น รวมทั้งความบกพรอ่ งอน่ื ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 20) National Center for Learning Disabilities (NCLD) www.ld.orgs เป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับผู้ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยเว็บไซต์จะให้บริการข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับผู้ท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ การส่งต่อเด็กเพื่อรับการ ประเมนิ (referral) การจัดโปรแกรมการศึกษา การเรียกรอ้ งสทิ ธติ์ ามกฎหมาย 21) National Institute of Neurological Disorders and Stroke (NINDS) www.ninds.nih.gov เป็นเว็บไซต์ของรัฐบาลกลางของประเทศสหรัฐอเมริกาท่ีให้บริการข้อมูลที่มีความ หลากหลาย เกี่ยวกับความบกพร่องทางการเรียนรู้ และความบกพร่องทางด้านประสาทอ่ืน ๆ รวมท้ังผู้ที่มีปัญหาเก่ียวกับ ความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาพดู (aphasia) ปญั หาทางการอา่ นและปัญหาทางการเคล่ือนไหว (dyspraxia) 22) National Institute for Literacy (NIFL) www.nifl.gov เปน็ สถาบันในระดับชาตขิ องประเทศสหรัฐอเมริกาท่ีส่งเสริมการอ่านออก เขียนได้ โดยการทางาน ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน และกระทรวงสาธารณสุข ในการให้บริการข้อมูลท่ีดีเย่ียม ดา้ นการอา่ นออก เขยี นได้ การพัฒนาการสอนการอ่านสาหรับเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่ รวมท้ังให้บริการเก่ียวกับ งานวิจยั การนาผลการวิจัยไปสกู่ ารปฏิบตั ิ และนโยบายที่เกี่ยวขอ้ ง 23) Reading Rockets http://www.readingrockets.org เป็นหน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลเก่ียวกับยุทธวิธีในการสอนการอ่านเพ่ือความเข้าใจท่ีมี ประสิทธิภาพ กิจกรรมการเรียนการสอน บทเรียน แบบฝึก แบบทดสอบ การประเมินผลด้านการอ่าน เพ่ือ ความเขา้ ใจ 24) Recording for the Blind and Dyslexic (RFBD) www.rfbd.org เป็นหน่วยงานท่ีให้บริการ รวมท้ังการให้ยืมหนังสือเสียงที่มีจานวนมากกว่า 80,000 รายการ รวมทั้งส่ือ และอุปกรณก์ ารเรียนการสอนอ่นื ๆ
25) Schwab Foundation for Learning www.schwablearning.org เป็นองค์กรที่จัดต้ังข้ึนโดย Charles Schwab และภรรยาที่อุทิศตนเพ่ือส่งเสริมความตระหนัก เก่ียวกับความแตกต่างทางด้านการเรียนรู้ โดยการให้บริการข้อมูล สื่อ วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริม การ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของบคุ คลทม่ี คี วามแตกต่างทางด้านการเรยี นรู้ 26) The National Information Center for Children& Youth with Disabilities (NICHY) www.nichy.org/ เปน็ องค์กรท่ใี ห้บริการข้อมูลเก่ียวกับผู้ที่มีความบกพร่องทางด้านต่างๆ รวมทั้งผู้ท่ีมีความบกพร่อง ทางการเรยี นรู้ 27) University of Kansas Center for Research on Learning www.ku-crl.org เป็นหน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลและงานวิจัยเก่ียวกับการเรียนการสอน รวมท้ังเทคนิคการสอน ผเู้ รียนทีม่ คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ 28) University of Oregon http://reading.uoregon.edu/index.php เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยน้ีจะให้บริการข้อมูล เทคโนโลยี และส่ือต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการสอน การอ่าน แก่ครู ผู้บริหาร และผู้ปกครอง โดยเฉพาะการเรียนรู้ภาษาที่เน้นใน 5 ด้าน คือการแยกแยะหน่วย เสยี ง (phonemic awareness) กฎเกณฑข์ องภาษา (alphabetic principle) การอา่ นคล่อง คาศัพท์ และการ อ่านเพ่อื ความเข้าใจ โดยในแต่ละดา้ นจะมคี าจากัดความ คาอธบิ ายวิธกี ารสอน ตัวอยา่ งการสอน รวมท้ังการนา แนวคดิ ท้ัง 5 ด้านมาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนในโรงเรยี น 29) World Dyslexia Network Foundation http://web.ukonline.co.uk/wdnf เป็นเว็บไซตข์ องประเทศสหราชอาณาจักรที่ให้บริการเอกสารความรู้ และข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับผ้ทู ่ีมีปัญหาทางดา้ นการอ่าน (dyslexia) รวมทั้งยังเช่อื มต่อกับเว็บไซต์อื่นๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 และ อนุบญั ญัตติ ามพระราชบัญญัติ ฯ. กรุงเทพมหานคร: สานกั งาน คณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน. กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2545). คมู่ อการคัดแยกและสง่ ต่อคนพกิ ารเพ่อรับการศึกษา (ฉบับปรบั ปรุง). กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารรบั ส่งสนิ ค้าและพสั ดุภัณฑ์. กรมวิชาการ. (2546). คู่มอการจดั กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นในชัน้ เรยี นรวม เลม่ 5 เดก็ ท่ีมปี ัญหาทางการ เรยี นรู้. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา. กรมสขุ ภาพจิต. (2542). ค่มู อชว่ ยเหลอเดก็ บกพรอ่ งด้านการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จรลี กั ษณ์ จิรวิบูลย์. (2546). คมู่ อครแู ละผู้ปกครองสาหรบั เด็กท่มี ีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน. . (2546). คมู่ อครูและผูป้ กครองสาหรับเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรูด้ ้านการเขยี น. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพร้าว. . (2546). คู่มอครูและผปู้ กครองสาหรับเด็กทม่ี ปี ัญหาทางการเรยี นรู้ด้านคณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพรา้ ว. ดวงใจ วรรณสังข์. (2541). การศึกษาความสามารถในการจาพยัญชนะไทยของเด็กท่ีมีปัญหา ทางการเรียนรู้ จากการสอนโดยใช้ชุดการสอนนทิ านประกอบภาพพยัญชนะไทย. มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ, ม.ป.ท. นลนิ นชุ อ านวยสนิ . (2546). การศกึ ษาความสามารถในการเขยี นสะกดคาของเด็กท่ีมปี ัญหา ทางการเรยี นร้โู ดยใช้ชดุ การสอนเขยี น. ปริญญานิพนธ์ การศกึ ษามหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒประสานมิตร: เอกสารอัดสาเนา. เบญจา ชลธารน์ นท์. (2548). การสงั เคราะห์งานด้านการจัดการเรยี นรว่ มสู่ภาคปฏบิ ัติ เพ่อ นาสู่นโยบายการจัดการศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพสาหรับเด็กและเยาวชนพิการ. สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน, กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์องค์การรบั ส่งสนิ คา้ และพัสดุภัณฑ์. เบญจา ชลธาร์นนท์. (2548). สภาพและปญั หาการจดั การศึกษาสาหรับเด็กท่ีมปี ัญหาทางการเรียนรู้ ของประเทศไทยในปจั จุบัน. การศึกษาตามหลกั สูตร วปท.วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร. เบญจพร ปัญญายง. (2543). ค่มู อชว่ ยเหลอเด็กบกพรอ่ งด้านการเรยี นรู้ .กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . . (2547). คมู่ อช่วยเหลอเด็กทมี่ คี วามบกพร่องดา้ นการเรยี นรู้. กรมสขุ ภาพจติ กระทรวง สาธารณสุขกรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. ผดงุ อารยะวญิ ญู. (2533). การศกึ ษาเด็กท่ีมีความต้องการพเิ ศษ .กรงุ เทพมหานคร: บรรณกิจเทรดด้งิ .
. (2539). การศึกษาสาหรบั เด็กท่มี ีความต้องการพเิ ศษ. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพแ์ ว่นแก้ว. . (2544). เด็กท่มี ีปัญหาในการเรยี นรู้ .กรงุ เทพมหานคร: สานกั พิมพ์แวน่ แก้ว. . (2546). วธิ ีสอนเด็กเรยี นยาก .กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพแ์ ว่นแก้ว. . (2545). ชุดแก้ไขข้อบกพร่องทางการอา่ นและการเขียน ชดุ ท่ี 1-20. กรงุ เทพมหานคร: บริษทั ราไทย เพรส จากดั . เยาวลักษณ์ วรรณมว่ ง. (2544). การศกึ ษาความสามารถในการจาพยญั ชนะไทยของเด็กที่มีปัญหา ทางการเรียนร้โู ดยใช้บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน. ปริญญานิพนธ์การ ศกึ ษามหาบณั ฑิต, มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมิตร. รตั นา แพงจนั ทร์. (2541). การศกึ ษาความสามารถเขียนคาของเดก็ ท่ีมีปัญหาทางการเรยี นรทู้ ีเ่ รียน ร่วมในโรงเรยี นปกติ จากการสอนเขยี นแบบบรู ณาการกบั เกม. ปริญญานพิ นธ์การศกึ ษา มหาบณั ฑติ , มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. วาสนา เลศิ ศิลป์. (2546). การศกึ ษาเดก็ ท่ีมปี ญั หาในการเรียนรู้ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรยี น สังกดั สานักงานการประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร. บทคดั ย่อปริญญานิพนธ์ การศกึ ษา มหาบัณฑติ , มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ประสานมิตร. [เอกสารอดั สาเนา]. ศันสนยี ์ ฉตั รคุปต์. (2544). ความบกพร่องในการเรยี นรูห้ รอแอลดี: ปัญหาการเรยี นรูท้ ่ีแก้ไขได้. กรงุ เทพมหานคร:สานักพมิ พว์ ัฒนาพานชิ จากดั . ศรียา นยิ มธรรม. (2537). แบบคดั แยกเดก็ ท่ีมปี ญั หาทางการเรียนรู้. กรงุ เทพมหานคร: ภาควชิ า การศึกษาพเิ ศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. . (2541). ปญั หาย่งุ ยากทางการเรยี นรู้. (พิมพ์คร้งั ที่ 2).กรงุ เทพมหานคร:ภาควชิ าการศึกษา พเิ ศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. ศรยี า นิยมธรรม. (2540). สรา้ งปมเด่นเสริมปมดอ้ ย. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพแ์ วน่ แกว้ มปพ. ศรเี รอื น แก้วกงั วาล. รายงานการศกึ ษาเด็กด้อยความสามารถทางการเรียน.ภาควชิ าจติ วิทยา คณะ ศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. . (2545). จิตวทิ ยาเดก็ ท่ีมลี ักษณะพเิ ศษ ( พิมพ์ครงั้ ท่ี 2 ). กรงุ เทพมหานคร : สานักพิมพ์หมอชาวบ้าน. สายพิณ โคกทอง. (2542). การศึกษาทักษะพน้ ฐานคณติ ศาสตรข์ องเด็กท่ีมีปญั หาทางการเรยี นรู้ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 จากการจดั กิจกรรมบูรณาการเกมคณติ ศาสตร์. ปรญิ ญานิพนธ์ การศกึ ษามหาบัณฑติ , มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. สมคิด บญุ บรู ณ์. (2546). การศกึ ษาความสามารถด้านการอา่ นภาษาไทยของเด็กทมี่ ีปัญหาทาง การ เรยี นรดู้ ้านการอา่ น ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 โดยวิธการสอนอา่ นตามแบบ. ปรญิ ญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒประสานมิตร.
Search