Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม 13 การจัดการศึกษาสำหรับบุุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์

เล่ม 13 การจัดการศึกษาสำหรับบุุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์

Published by boonsong kanankang, 2019-10-03 11:25:56

Description: การจัดการศึกษาสำหรับบุุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์

Search

Read the Text Version

คำชีแ้ จง ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง วิชาความรู้พื้นฐานด้านการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการหรือผู้เรียนท่ีมี ความต้องการจาเป็นพิเศษ เรื่อง การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เล่มน้ี ได้รวบรวมเนื้อหาจากเอกสาร บทความ ของนักการ ศึกษาพิเศษสาขาบุคคลท่ีมีความบกพร่องทาง พฤติกรรมหรืออารมณ์ ซ่ึงมีเน้ือหาสาระท่ีครูและบุคลากรที่สนใจควรทราบ เช่น ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมา ความหมาย ลักษณะของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์และอื่น ๆ เพอ่ื ใหค้ รแู ละผูส้ นใจนาความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน รวมถงึ การพฒั นาศักยภาพของผู้เรียน ใหม้ ปี ระสิทธิภาพสูงข้นึ พร้อมทงั้ นาแนวทาง ความรู้ แนะนาแกผ่ ู้ปกครองตอ่ ไป คณะทางาน

สำรบญั หนำ้ คำนำ คำชีแ้ จง แนวทำงกำรใช้ชดุ เอกสำรศกึ ษำด้วยตนเอง หนว่ ยท่ี 1 ควำมร้ทู ั่วไปเก่ียวกับบคุ คลที่มคี วำมบกพรอ่ งทำงพฤติกรรมหรืออำรมณ์………………... 1 ความหมาย………………………………………………………………………………………………………….. 1 ลักษณะและประเภทของบุคคลที่มคี วามบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์……………… 1 ประวตั ิความเป็นมาทางการศึกษา……………………………………………………………..………..…… 4 หนว่ ยที่ 2 หลกั กำร เทคนคิ วธิ ีกำรช่วยเหลอื และกำรจดั กำรศึกษำสำหรับบุคคล ที่มีควำมบกพร่องทำงพฤตกิ รรมหรอื อำรมณ์………………………...…………………….………… 5 การประเมนิ คดั กรองเบื้องต้น เพ่ือทราบปญั หาและสาเหตุของปัญหา วางแผนชว่ ยเหลอื …………………………………………………………………………………………….…… 5 หลกั การการใหค้ วามช่วยเหลือระยะแรกเร่ิม/แรกพบ และเทคนิควธิ ีการในการช่วยเหลอื …………………………………………………………..…………….. 6 การจดั การพฤติกรรมของบุคคลท่มี คี วามบกพร่องทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์…………….. 9 การจดั การเรยี นรู้สาหรับบคุ คลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์……………… 10 นวัตกรรมและเทคโนโลยี ส่ิงอานวยความสะดวก สื่อ …………………………………….…….…. 12 การวัดผลประเมนิ ผล......................................................................................................... 17 กรณีศึกษำ…………………………………………………………………………..……………….…………………………..…………. 21 สรุปสำระสำคญั ……………………………………………………………………………………………………..…………………. 22 แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมท่ีต้องศกึ ษำ บรรณำนุกรม แบบทดสอบท้ำยบท แบบเขยี นสะทอ้ นคดิ ภำคผนวก

แนวทำงกำรใชช้ ดุ เอกสำรศึกษำดว้ ยตนเอง ท่ำนทศ่ี ึกษำเอกสำรควรปฏิบตั ดิ งั ตอ่ ไปนี้ 1. ศกึ ษาขอบข่ายของเนื้อหา สาระสาคัญ และจดุ ประสงค์ 2. ศึกษาขอบข่ายของเน้ือหาและทาความเข้าใจเน้ือหาอย่างละเอยี ด 3. ศึกษาแหลง่ ความรู้เพิ่มเตมิ 4. โปรดระลึกไว้เสมอว่าการศึกษาจากเอกสารด้วยตนเองเป็นเพียงสว่ นหนง่ึ ของการพฒั นาความรู้ ดา้ นการศึกษาพเิ ศษเท่าน้นั ควรศึกษาคน้ คว้าและหาประสบการณต์ รงจากแหล่งความรู้อน่ื ๆ เพ่มิ เติม

หนว่ ยที่ 1 ความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับบคุ คลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ความหมาย ความหมายตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ และตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับ คนพิการ พ.ศ. 2551 และทแี่ ก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตนิ ้ี “คนพิการ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไป มสี ว่ นร่วมทางสังคม เน่ืองจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคล่ือนไหว การส่ือสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใดประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่าง ๆ และมีความ ต้องการจาเป็นพิเศษทางการศึกษาที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพ่ือให้ สามารถปฏิบัติ กิจกรรมในชวี ติ ประจาวันหรอื เข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลท่ัวไป ท้ังน้ี ตามประเภทและหลักเกณฑ์ ทร่ี ัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกาหนด บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กาหนด ประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552 หมายถึง บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ ได้แก่ บคุ คลทมี่ ีพฤตกิ รรมเบีย่ งเบนไปจากปกติเป็นอยา่ งมาก และปัญหาทาง พฤติกรรมน้ันเป็นไป อย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นผลจากความบกพร่องหรือความผิดปกติทางจิตใจหรือสมองในส่วนของการรับรู้ อารมณ์ หรือความคิด เชน่ โรคจติ เภท โรคซึมเศรา้ โรคสมองเสือ่ ม เปน็ ตน้ ลักษณะและประเภทของบุคคลทีม่ คี วามบกพร่องทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ การศึกษาพฤติกรรมของเด็ก อาจกระทาได้หลายรูปแบบข้ีนอยู่กับความสนใจและจุดมุ่งหมาย ของผศู้ กึ ษา จากการศึกษาผลงานการวิจัยของนักจิตวิทยาและนักการศึกษาจานวนมาก อาจจาแนกพฤติกรรม ที่เป็นปญั หาออกได้ 2 ประเภท คือ พฤตกิ รรมทีเ่ กิดจากความขัดแย้งภายในตัวเด็กเองและพฤติกรรมที่เกิดจาก ความขัดแยง้ ระหว่างเดก็ กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก การก้าวร้าวและก่อกวน การเคลื่อนไหวท่ีผิดปกติ และ การปรับตัวที่ไม่ถูกต้อง เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งระหว่างเด็ก กับสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก ส่วนความวิตกกังวล การมีปมด้อย การหนีสังคม ความผิดปกติทางการเรียน มีสาเหตุมาจากความขัดแย้ง ภายในตวั เดก็ เอง ซงึ่ จะไดก้ ลา่ วโดยละเอยี ดดงั น้ี 1. การก้าวร้าว - ก่อกวน บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ มักแสดงออกในทาง ก้าวร้าว ก่อกวนความสงบสุขของผู้อ่ืน พฤติกรรมที่แสดงออกในทางก้าวร้าว อาจรวมไปถึงการแสดงออกซ่ึง ความโหดรา้ ย ทารณุ สัตว์ ชกตอ่ ย ทาร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่น ข่มขู่ คุกคาม หวีดร้อง กระทืบเท้า ไม่เคารพ เชื่อฟังครูและพ่อแม่ ฝ่าฝืนคาสั่งของครูหรือพ่อแม่ เด็กท่ีมีพฤติกรรมในลักษณะน้ีมักมีความ ขัดแย้งกับคน ใกลเ้ คยี ง พฤติกรรมอาจรุนแรงขึน้ หากไมไ่ ดร้ บั การแก้ไข 2. การเคล่ือนไหวท่ีผิดปกติ หมายถึง การไม่อยู่นิ่ง เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลาโดยปราศจากจุดหมาย เด็กทีม่ คี วามบกพร่องทางพฤติกรรม อาจมีพฤติกรรมในลักษณะนี้ นอกจากน้ียังมีความสนใจสั้น สนใจบทเรียน

ได้ไม่นาน ขาดสมาธิในการเรียน หันเหความสนใจไปสู่ส่ิงอื่นได้ง่าย เด็กท่ีมีการ เคล่ือนไหวท่ีผิดปกติน้ี อาจมี ปัญหาการก้าวร้าวร่วมด้วยก็ได้ การศึกษาโดยโรบิน (Robins: 1980, อ้างถึง ในกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง วิชาการศึกษาพิเศษ เร่ือง การจัดการศึกษาสาหรับบุคคล ท่ีมีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เล่มที่ 10. 2550) พบว่ามีเด็กประเภทนี้ ประมาณ 1% - 5% ของ ประชากรในวยั ประถมศกึ ษา 3. ความวิตกกังวลและปมด้อย บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ อาจไม่กล้าพูด กล้าแสดงออกในชั้นเรียน บางคนมีความประหม่าอย่างเห็นได้ชัดเมื่อจาเป็นต้องออกไปรายงานหน้าชั้น บางคนมีอาการตัวร้อนและเป็นไข้เมื่อถึงเวลาไปโรงเรียน บางคนขาดความม่ันใจในตนเอง บางคนร้องไห้บ่อย พฤติกรรมเหล่านี้จัดเป็นพฤติกรรมท่ีเกิดจากความวิตกกังวล หรือเกิดจากปมด้อยของแต่ละบุคคล เด็กท่ีมี พฤติกรรมในลักษณะดังกล่าวน้ี ถือว่าเป็นเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมแต่ความรุนแรงของพฤติกรรม ในแต่ละบุคคลอาจแตกต่างกันไป พฤติกรรมที่ค่อนข้างรุนแรงและสม่าเสมอเท่าน้ันจึงจัดเป็น พฤติกรรมของ เด็กที่ตอ้ งได้รับบรกิ ารทางการศกึ ษาพิเศษ 4. การหนีสังคม การหนีสังคมหรือการปลีกตัวออกจากสังคม เป็นพฤติกรรมท่ีเบี่ยงเบนอย่างหน่ึง ของเด็ก สังเกตได้จากการที่เด็กไม่พูดคุย ไม่เล่นกับเพื่อน ไม่ร่วมกิจกรรมท่ีทางโรงเรียนจัดข้ึน เด็กประเภทน้ี มีลักษณะเป็นคนขี้อาย พูดไม่เก่ง ไม่กล้าพูดต่อหน้าสาธารณชน ไม่กล้าพูดในที่ประชุม บางคนเป็นคนเจ้าอารมณ์ เด็กเหล่านี้ขาดทักษะที่จาเป็นในการติดต่อกับผู้อ่ืน ขาดความเช่ือม่ันในตนเองในด้านการพูด เด็กจึงชอบอยู่ คนเดียว ทางานคนเดยี ว เดก็ เหล่าน้อี าจมปี ฏสิ ัมพันธ์กบั เด็กอ่ืนได้ แต่มักเป็นไปในลักษณะแสดงอาการก้าวร้าว ไมม่ ีวฒุ ิภาวะ หรือไม่ก็แสดงพฤตกิ รรมทางสงั คมที่ไม่เหมาะสม 5. ความผดิ ปกติในการเรียน สังคมมักกาหนดว่าหน้าท่ีสาคัญของเด็กคือการเรียน เด็กท่ีมีผลการเรียน ดี มักเป็นที่ช่ืนชอบของครู ผู้ปกครอง และเพ่ือน เด็กท่ีเรียนไม่ดีอาจไม่ได้รับการยกย่องเท่าท่ีควร ซ่ึงมีผลต่อ การปรับตัวของเด็ก เด็กที่เรียนไม่ดีอาจกลายเป็นเด็กที่มีปัญหา การศึกษาวิจัยเป็นจานวนมากระบุว่าเด็กที่มี ความบกพร่องทางพฤตกิ รรมมผี ลการเรยี นต่าโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในด้านการอา่ น การสะกดคา และคณติ ศาสตร์ 6. โรคสมาธสิ นั้ แบ่งเป็น 4 ประเภท 6.1 สมาธิสั้น (Inattention) จะมีอาการไม่สนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้นาน ไม่ว่าจะเป็นเน้ือหาสาระ หรือรายละเอียด วอกแวก ถูกรบกวน จากตัวกระตุ้นหรือที่เรียกว่า \"ส่ิงเร้า\" ภายนอกได้ง่าย ทาให้ขาดความ รบั ผิดชอบจงึ เปน็ อุปสรรคในการเรียนและการทางานในวัยผู้ใหญ่ 6.2 ซุกซน/อยู่ไม่น่ิง (Hyperactivity) มีอาการชุกชนมากผิดปกติ อยู่ไม่นิ่ง รบกวนผู้อื่น สามารถ เคลอ่ื นไหวหรอื ทาอะไรไดท้ งั้ วนั โดยไมเ่ หนด็ เหนื่อย ในวัยผู้ใหญอ่ าการซกุ ชนจะหายไปแตจ่ ะอยู่ไม่นงิ่ 6.3 หุนหันพลันแล่น (Impulsiveness) มีอาการไม่ย้ังคิด ไม่อดทน รอคอยไม่เป็น ไม่คิดก่อนพูด หรือก่อนทา เบื่อง่าย ควบคุมตนเองให้อยู่ในกฎกติกาหรือระเบียบได้ยาก หงุดหงิดโมโหง่าย ทาให้อยู่ร่วมใน ครอบครัว สงั คมโรงเรียน และสงั คมภายนอกไดย้ าก 6.4 อาการผสม 2 แบบ หรือ 3 แบบ ตามขา้ งต้น ซ่งึ ทาใหม้ ีอาการมากขน้ึ ทาให้เกิดความยากลาบาก ในการช่วยเหลือมากขน้ึ

การตัดสินว่าเด็กคนใดเป็นเด็กท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมนั้น ควรพิจารณาความรุนแรงและ ความสม่าเสมอของพฤติกรรมควบคู่กันไปด้วย เด็กอาจมีพฤติกรรมเพียงข้อเดียวหรือหลายข้อตามที่กล่าว มาแล้วนี้ ก็อาจจัดว่าเป็นเด็กท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมได้ การตัดสินใจควรมีเกณฑ์เป็นหลักในการ พิจารณาควบคู่กนั ไป สาเหตตุ ่าง ๆ ที่จะทาให้บคุ คลมคี วามบกพร่องทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ ประกอบดว้ ย 1. อาจเกดิ จากความผิดปกติทางร่างกาย เชน่ ไดร้ บั บาดเจ็บทางสมอง หรอื ความผิดปกติทางกายภาพอื่น ๆ 2. สาเหตุทางจิตวิทยา เป็นสาเหตุเฉพาะตัวบุคคล อาจไม่สามารถปรับอารมณ์และปรับตัวให้เข้ากับ สงั คมได้ 3. สาเหตุมาจากสภาพแวดล้อม ไม่สามารถปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สงั คมได้เช่นคนอ่นื ๆ สภาพครอบครวั ไม่อบอุ่น แตกแยก ขาดความสุข การอบรมเลี้ยงดู ขาดการเอาใจใส่หรือรังเกียจ เด็กมีความคับข้องใจ มีความเก็บกดทาง อารมณ์ตงั้ แต่เกิด ปลอ่ ยให้คนอ่นื ดูแล ทอดทงิ้ 4. โรค Hyper Active และ Autism ไม่รู้สาเหตุ (อรอนงค์ เย็นอุทก: 2536, อ้างถึงใน กรมสามัญ ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง วิชาการศึกษาพิเศษ เร่ือง การจัดการศึกษาสาหรับ บุคคลท่มี ปี ัญหาทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ เลม่ ที่ 10. 2550) 5. โรคสมาธิสั้น (อ้างถึงในกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง วิชา การศกึ ษาพเิ ศษ เร่อื ง การจัดการศึกษาสาหรับบคุ คลสมาธสิ น้ั เล่มที่ 17 : 2550) พันธุกรรม มกี ารถ่ายทอดถึงลกู หลาน สารส่อื ประสาท ทางานไมส่ มบูรณ์ สมองส่วนหน้าทางานผิดปกติ มีผลทาให้ควบคุมสมาธิยาก ขาดการคิดก่อนทา ควบคุมการ หุนหันพลันแลน่ ไม่ได้หรอื เป็นไปอยา่ งยากลาบาก สมองถูกทาให้เสียหาย เช่น การขาดออกชิเจน การติดเชื้อในระหว่างต้ังครรภ์ การบาดเจ็บ ระหวา่ งคลอด เย่อื ห้มุ สมองอักเสบเหลา่ น้ี เป็นตน้ การไหลเวียนของโลหติ ในสมองผิดปกติ โดยเฉพาะในส่วนทีเ่ ก่ียวกับสมาธิ คลื่นไฟฟา้ ในสมองผิดปกติ หรือไมส่ มดลุ สารเสพติดทุกประเภท พ่อแม่ที่'ใช้สารเสพติดเป็นประจาก่อนการต้ังครรภ์หรือระหว่าง ตงั้ ครรภ์ สิง่ แวดลอ้ มเปน็ พิษ สาเหตุอน่ื ๆ เชน่ มารดาเครียดหรอื ไมส่ มบรู ณร์ ะหวา่ งต้ังครรภ์ เป็นตน้

ตารางแสดงลกั ษณะของบุคคลทม่ี ีความบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ลักษณะของพฤติกรรม ความรุนแรงของพฤตกิ รรม ปานกลาง มาก (รนุ แรง) 1. การกา้ วร้าว-ก่อกวน ชกตอ่ ย ทาร้ายร่างกาย โกรธจดั ฝ่าฝนื ทารา้ ยตนเอง ทาร้ายรา่ งกาย กฎระเบยี บ ขม่ ขู่ คุกคามผู้อ่ืน ไมเ่ คารพ ผู้อื่น ทาลายข้าวของเสยี หาย ยาเกรง ทาลายข้าวของ 2. การเคลือ่ นไหวผดิ ปกติ อยู่นิง่ ไมไ่ ด้ ลุกลลี้ ุกลน ขาดความสนใจ มกี ารเคล่ือนไหวท่ีแปลก ๆ ในบทเรยี นหรอื ส่ิงท่ีอยูร่ อบตัว ตดิ ตาม และ ซา้ ๆ ในลกั ษณะเดิม มาดว้ ยการกา้ วร้าว และก่อกวนสมาธิ ของผู้อน่ื 3. ความวิตกกังวล ปมดอ้ ย ขาดความเช่ือมัน่ ในตนเอง หลีกเล่ียง แสดงความผดิ หวังอยา่ งรุนแรง สถานการณบ์ างอย่าง รอ้ งไห้บอ่ ย ๆ ตอ่ ความเปลย่ี นแปลงเพียง มีความวิตกกังวลสงู ความสามารถ เลก็ น้อย ดา้ นทักษะเสอ่ื มลง 4. การหนีสงั คม ไมพ่ ูดคยุ กับเพื่อนหรอื ผูใ้ กล้ชดิ ไม่ยอมพบ เหมือนกนั กบั ข้อความดา้ นซา้ ย เพอื่ นหรือผูใ้ กล้ชดิ ปฏเิ สธทกุ คนท่ีเก่ียวข้อง เพยี งแตร่ นุ แรงกวา่ 5. ความผิดปกติ ผลการเรยี นตา่ ลงทกุ วชิ า ความสามารถ สมองเฉื่อยชา ความจาเส่ือม ทางการเรยี น ทางสมองเสอ่ื มลง มคี วามบกพร่องทางภาษา ประวัติความเป็นมาทางการศกึ ษา บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ถ้าหากไม่มีความบกพร่องอื่นซ้อน จะไม่ปรากฏ ความบกพร่องทางกายที่ทาให้คนท่ัวไปมองเห็นถึงความผิดปกติ ต่อเมื่อแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมาแล้วจึง จะเห็นได้ชัดว่ามีปัญหาพฤติกรรมท่ีมีปัญหามีมากมายหลายรูปแบบท่ีทาให้ตนเองและคนรอบข้างได้รับ ความเดือดร้อน หากปล่อยให้พฤติกรรมเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้รับการแก้ไข อาจกลายเป็นพฤติกรรม ทร่ี ุนแรงยากแกก่ ารชว่ ยเหลือได้ อนั เป็นอุปสรรคตอ่ การเรยี นรู้ ในประเทศไทยยังไม่มีโรงเรียนท่ีจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรือ อารมณ์โดยเฉพาะ ดังน้ันบุคคลเหล่านี้จึงแทรกอยู่ท่ัวไปในโรงเรียน จึงเป็นหน้าที่ของครูทุกคนที่จะต้องศึกษา ปัญหาของเด็กในช้ันเรียน พร้อมท้ังหาทางช่วยเหลือเพื่อลดพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหาของเด็ก โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลาย ๆ วธิ รี วมกันใหเ้ ด็กสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางทีด่ ีขนึ้ ตามลาดบั อนั จะเกิดประโยชน์แก่ท้ังตัว เด็กเอง และประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนของครูด้วย (สานักนิเทศและพัฒนามาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ: 2541 : อ้างถึงในกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง วิชาการศึกษาพิเศษ เร่ือง การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลท่ีมีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เล่มที่ 10. 2550)

หนว่ ยที่ 2 หลักการ เทคนคิ วธิ ีการชว่ ยเหลือและการจัดการศกึ ษา สาหรับบคุ คลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมหรอื อารมณ์ การประเมิน คัดกรองเบือ้ งตน้ เพอ่ื ทราบปญั หาและสาเหตขุ องปญั หา วางแผนชว่ ยเหลอื เด็กจะต้องได้รับการทดสอบทางพฤติกรรม ผู้ทดสอบอาจเป็นนักจิตวิทยา ครูการศึกษาพิเศษ หรือ ครแู นะแนว โดยใช้เครื่องมือเดียวหรอื หลายเคร่ืองมอื ก็ได้ 1. Devereux Rating Scale 2. Quay-Peterson Behavior Problem Checklist 3. Ottawa School Behavior Checklist 4. Walker Problem Behavior Identification Checklist 5. Child Behavior Rating Scale 6. Recorded Teacher Observations เม่ือครูได้ข้อมูลการทดสอบแล้ว สามารถคัดแยกเพี่อดูว่าเด็กมีปัญหาหรือไม่ โดยมีวิธีการคัดแยก หลายวธิ ี ดงั น้ี 1. การสังเกต 2. การบนั ทึกพฤตกิ รรม 3. การศกึ ษาประวตั ิเด็ก 4. การใหเ้ ด็กเขยี นอตั ชวี ประวตั ิ 5. การสมั ภาษณ์ 6. การทดสอบหรอื การสอบ นอกจากนี้เดก็ จะต้องได้รับการทดสอบ ดังตอ่ ไปนด้ี ้วย 1. การตรวจสุขภาพโดยแพทย์แผนปัจจุบนั 2. การทดสอบทางสายตา 3. การทดสอบทางการได้ยนิ 4. การทดสอบทางภาษาและการพดู 5. การทดสอบทางจิตวิทยา ไดแ้ ก่ การทดสอบสตปิ ัญญา การวดั บคุ ลิกภาพ 6. การทดสอบทางการศึกษา ไดแ้ ก่ การทดสอบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 7. การทดสอบทางจติ แพทย์

หลกั การให้ความช่วยเหลือระยะแรกเรม่ิ /แรกพบ และเทคนิควิธีการในการช่วยเหลือ หลักการให้ความช่วยเหลือระยะแรกเร่ิม/แรกพบ และเทคนิควิธีการในการช่วยเหลือสาหรับบุคคล ทีม่ คี วามบกพร่องทางพฤตกิ รรมหรอื อารมณ์ มีดงั น้ี การปรบั พฤตกิ รรม การปรบั พฤตกิ รรม (Behavior Modification) เปน็ ขบวนการในการปรับปรงุ เปล่ียนแปลง พฤติกรรม ของเด็ก จากพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ตลอดจนการสร้างพฤติกรรมใหม่ ที่พงึ ประสงค์ วิธปี รับพฤตกิ รรม การปรบั พฤตกิ รรมมีหลายวธิ ี แต่จะกล่าวพอสังเขป เพียง 10 วธิ ี ดังตอ่ ไปน้ี 1. แรงเสรมิ เชิงบวก (Positive Reinforcement) แรงเสริมเชิงบวก หมายถึง ขบวนการที่ส่งเสริมพฤติกรรมของบุคคล เพื่อให้บุคคลแสดงพฤติกรรม ท่ีพึงประสงค์ซ้าอีก เมื่อได้รับคาชมเชยหรือรางวัล ตัวอย่างเช่น เมื่อเด็กทาส่ิงใดสิ่งหนึ่งสาเร็จ ครูพูดว่าเก่ง ดี วิเศษ ยอดเยี่ยม ดีมาก เป็นต้น อุปกรณ์เสริมแรงท่ีเป็นส่ิงของอาจได้แก่ อาหาร เช่น ลูกกวาด อมยิ้ม เป็นต้น ของเล่น เช่น ตุ๊กตา ลูกหิน ดินน้ามัน เป็นต้น การให้แรงเสริมควรให้อย่างสม่าเสมอในตอนแรก ควรลดแรง เสรมิ ลงและใหแ้ รงเสรมิ เปน็ คร้ังคราวเท่านน้ั เม่อื พฤติกรรมคงทีแ่ ล้ว 2. แรงเสรมิ เชิงลบ (Negative Reinforcement) แรงเสริมเชิงลบ หมายถึง ขบวนการท่ีส่งเสริมพฤติกรรมของบุคคล เพ่ือให้บุคคลแสดงพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ซ้าอีก เด็กแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพ่ีอต้องการหลีกเลี่ยงสภาวะที่เด็กไม่พึงพอใจ ตัวอย่างเช่น “ครูบอกกับนักเรียนว่า แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์มี 2 ตอนหากใครทาตอนแรกถูกหมด ก็ไม่ต้องทา แบบฝึกหัดตอนที่ 2 นักเรียนจึงตั้งใจทาแบบฝึกหัดตอนแรกถูกหมด และทาอย่างดีให้คาตอบถูกหมด เพ่ือ หลีกเลยี่ งการทาแบบฝกึ หดั ตอนที่ 2 ดังนนั้ แบบฝึกหัดตอนที่ 2 เปน็ แรงเสริมเชงิ ลบ เพราะเป็นสิง่ ท่ีเด็กต้องการ หลกี เลี่ยง แต่แบบฝึกหัดตอนท่ี 2 น้ี ทาให้เดก็ แสดงพฤติกรรมท่พี ึงประสงค์ 3. การหยดุ ยง้ั (Extinction) เป็นการงดให้รางวัล งดให้ความสนใจต่อพฤติกรรมของเด็ก ซ่ึงเป็นพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ครู ควรให้แรงเสริมแก่พฤติกรรมที่พึงประสงค์ควบคู่กันไปด้วย เช่น เมื่อเด็กลุกจากท่ีน่ัง ครูแสดงอาการไม่สนใจ แตเ่ มอื่ เดก็ น่ังเรียบร้อยครูจะชม เป็นต้น การเพิกเฉยของครูเหมาะสาหรับพฤติกรรมที่ไม่รุนแรงเท่าน้ัน วิธีนี้ไม่ เหมาะสาหรบั พฤติกรรมท่ีรุนแรง เช่น การชกต่อย ซง่ึ ครูควรหยดุ พฤตกิ รรมนี้ทนั ที 4. เบย้ี อรรถกร (Token Economy) เหรียญรางวัล เป็นการสะสมเหรียญหรือคะแนน เพื่อให้นักเรียนมีสิทธ์ิได้รับรางวัลอย่างใด อย่างหนึ่ง หรือกระทากิจกรรมที่นักเรียนชอบ โดยครูกาหนดคะแนนหรือเหรียญเป็นระดับต่าง ๆ แต่ละระดับ มีรางวลั แตกต่างกัน เช่น ครูจะใหค้ ะแนนแก่นกั เรียนทุกครั้งท่ีทางานเสร็จภายในเวลาที่กาหนดให้ และให้อีก 1 คะแนน หากนักเรียนไม่ลุกออกจากที่นั่งในเวลาที่กาหนด ถ้าใครสะสมคะแนนได้ 10 คะแนน ครูจะมีรางวัลให้

เป็นรูปลอก 1 แผ่น หากนักเรียนสะสมคะแนนได้ 20 คะแนน จะได้สมุด 1 เล่ม 30 คะแนน ครูให้เล่นเกมใน ช่ัวโมงว่าง และ 40 คะแนน เด็กจะได้ดูวีดีโอในเวลาพิเศษ เป็นต้น การให้รางวัลควรจัดตามระดับความสาคัญ ของรางวัล และการใหค้ ะแนนควรให้สาหรบั พฤติกรรมทเี่ ด็กสามารถทาได้ 5. การแกไ้ ขให้ถูกต้องเกนิ กวา่ ท่ีทาผดิ (Overcorrection) เป็นการแก้ไขผลการกระทาของเด็ก และแก้ไขให้ถูกต้องเกินกว่าที่ทาได้ เช่น เด็กคนหน่ึงคว่า โต๊ะเรียนในห้องเรียน จนโต๊ะเรียนระเกะระกะเต็มไปหมด ครูจึงส่ังให้เด็กจัดต้ังโต๊ะให้เป็นระเบียบเหมือนเดิม ยิ่งไปกว่าน้ันครูยังให้นักเรียนคนน้ีทาความสะอาดโต๊ะทุกตัวอีกด้วย จะเห็นได้ว่าเทคนิคการปรับพฤติกรรมน้ี มี 2 ข้ันตอน ข้ันตอนแรกคือ เด็กจะต้องแก้ไขผลการกระทาของตนเสียก่อน เช่น จัดโต๊ะเข้าที่ให้เรียบร้อย ส่วนขั้นที่ 2 เป็นการให้เด็กทาในสิ่งท่ีดีแต่เด็กอาจไม่ชอบ เช่น การทาความสะอาดโต๊ะเรียนทุกตัวในห้องเรียน เปน็ ตน้ การให้เดก็ กระทาเช่นน้ี เป็นการลงโทษสถานเบา 6. การใช้เวลานอก (Timeout) เป็นการให้รางวัลในช่วงเวลาจากัด เช่น นักเรียนท่ีคุยกันจะถูกตัดสิทธ์ิไม่ให้เล่นเกมคอมพิวเตอร์ ในชั่วโมงเรียนคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เด็กท่ีร้องไห้ไม่หยุดอาจจะถูกส่งเข้าไป “ขัง” ไว้ในห้องนอนเป็นเวลา 5 นาที หรือจนกวา่ จะหยุดรอ้ งไห้ เปน็ ต้น การงดให้รางวัลควรกระทาให้เหมาะสม ควรงดในส่ิงที่เด็กชอบ และ ไม่ควรงดนานจนเกนิ ไป 7. การทาสญั ญากับเดก็ (Behavioral Contract) เปน็ การเซ็นสญั ญาระหวา่ งครกู บั นักเรยี นในลักษณะที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น นักเรียนสัญญากับ ครูว่าจะไม่ขโมยของของเพื่อนอีก ตลอดระยะเวลา 2 เดือน เป็นต้น สิ่งท่ีจะให้เด็กทาสัญญาควรเป็นส่ิงท่ี นกั เรียนสามารถทาได้ ระยะเวลาในสัญญาไม่ควรนานเกินกว่าท่ีเด็กจะทาได้ มีการตรวจสอบตลอดเวลาว่าเด็ก ปฏิบตั ิตามสัญญาหรือไม่ หากผิดสญั ญาควรมีการลงโทษ หากปฏิบัตติ ามสัญญาครบถ้วนควรใหร้ างวัลแก่เดก็ 8. การลงโทษ (Punishment) เป็นขบวนการในการขจัดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ที่เด็กแสดงออกและไม่ให้เด็กแสดงพฤติกรรม เช่นนี้อกี ในอนาคต การลงโทษอาจเป็นการลงโทษด้วยวาจา เช่น การตาหนิ หรือการลงโทษทางกาย เช่น การ เฆีย่ นตี เป็นต้น ครพู งึ ระวังว่า การลงโทษเป็นการหยุดพฤติกรรมไม่ใช่เป็นการเสริมพฤติกรรม หากลงโทษแล้ว เดก็ ยงั แสดงพฤตกิ รรมดงั เดิมอกี แสดงวา่ การลงโทษเปน็ วธิ ีปรับพฤตกิ รรมทีไ่ ม่มปี ระสทิ ธิภาพสาหรับเดก็ คนนนั้ 9. การหล่อหลอมพฤตกิ รรม (Shaping) เปน็ การเลือกให้แรงเสริมเฉพาะพฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงค์เท่าน้ัน เช่น ห้องเรียน ครูชมนักเรียนที่ต้ังใจ ฟงั ครู ส่วนเดก็ ท่คี ุยกันนั้นครไู ม่ตาหนิแต่ครูจะแสดงอาการไม่สนใจ การเลือกชมเฉพาะพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ จะช่วยให้เด็กแสดงพฤติกรรมนั้นซา้ อีก 10. การเป็นแบบอย่างทด่ี ี (Modeling) ครคู วรเป็นตวั อย่างทดี่ แี กเ่ ด็ก เด็กอาจยดึ ครูเป็นแบบอย่างในหลายด้านในการปรับพฤติกรรม หาก ครูไม่สามารถเป็นแบบอย่างได้ อาจใช้นักเรียนเป็นแบบอย่างก็ได้ เช่น ตัวอย่างของการพูดจาไพเราะ การ มีสมั มาคารวะต่อครู การขยันหม่นั เพียร การรบั ผิดชอบสงิ่ ทีค่ รมู อบหมายให้ เป็นตน้

ความตอ้ งการพิเศษของบคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ เนื่ องจ า ก บุค ค ลที่ มี ค วา ม บก พร่ อง ท าง พฤ ติก ร รม ห รื ออา รม ณ์ เ หล่ า น้ีมี ค ว าม ส าม า ร ถจ า กัด ก ว่ า เด็กท่ัว ๆ ไป ดังน้ันครูต้องคานึงว่า เด็กมีความต้องการอะไรบางอย่างเป็นพิเศษกว่าเด็กธรรมดา ครูจึงต้องมี ความรถู้ งึ ความต้องการพเิ ศษของเด็กดว้ ย ความตอ้ งการพเิ ศษมดี ังน้ี 1. ความตอ้ งการความปลอดภยั และมั่นคง 1.1 ความม่ันคงในครอบครัว คือ ต้องการมีพ่อแม่ท่ีให้ความรัก ความเข้าใจตนและครอบครัวท่ีไม่มี ความแตกแยกกนั 1.2 ความปลอดภัยในสถานท่ีที่เด็กต้องไปเกี่ยวข้องและคุ้นเคย ดังน้ันโรงเรียนท่ีสอนเด็กเหล่านี้ ตอ้ งทาใหเ้ ดก็ เกดิ ความอบอนุ่ ใจ และม่ันใจว่าเด็กมคี วามปลอดภัยขณะที่จะมาเรยี นหรืออยู่ในโรงเรียน 1.3 ต้องการความมั่นคงและปลอดภยั ขณะที่อยูก่ ับครูและเพอื่ น ๆ 1.4 ตอ้ งการความมนั่ คงในกิจวัตรประจาวัน เชน่ ตอ้ งการทาอะไรดว้ ยตนเองได้ 2. ต้องการได้รับความรักและเป็นผู้ให้ความรัก บุคคลท่ีมีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์มีความ คานึงถึงความรักมากกว่าปกติ เพราะเด็กจะถามครูอยู่ทุก ๆ วัน ว่ารักเขาไหม และจะไม่ยอมถ้าครูบอกว่า ไม่รัก เป็นต้น ถ้าเด็กรักครูหรือเพ่ือนคนใดจะพยายามหาส่ิงของต่าง ๆ มาให้ เพี่อให้ครูและเพื่อนรักตนด้วย นอกจากนี้ยังตอ้ งการความสนใจเป็นพิเศษ โดยเฉพาะเด็กท่ีมีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ท่ีพ่อแม่ทอดท้ิง จะมคี วามต้องการความรกั จากครแู ละเพื่อนเพิ่มข้นึ อกี เปน็ ทวีคูณ 3. ต้องการเป็นที่ยอมรับในกลุ่มเพื่อนฝูง ต้องการให้เพื่อนยอมรับเป็นสมาชิกของกลุ่ม ถ้าเพื่อน ๆ ไม่ยอมรับเข้ากลุ่ม เด็กจะเสียใจมาก บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ส่วนมากจะไม่เป็น ที่ยอมรับของเพ่ือนฝูง ทั้งน้ีเพราะพูดกับเพื่อน ๆ ที่เป็นเด็กปกติไม่รู้เร่ือง คาพูดก้าวร้าว บุคลิกภาพผิดปกติ ขาดวุฒิภาวะ นอกจากนี้มักจะมีพฤติกรรมต่าง ๆ ที่แสดงออกในทางที่ไม่ดีให้เป็นที่ยอมรับของเพ่ือน กล่าวคือ มีความกล้าท่ีจะไปตีรันฟันแทงคนอ่ืน มีความกล้าท่ีจะหยิบฉวยของคนอื่น ๆ เป็นต้น ทั้งน้ีเพื่อเพียงแต่ให้ เพอื่ น ๆ ยอมรับเขา้ กลุ่มเท่านั้น 4. ต้องการไดร้ ับความยกย่องนับถือว่าเป็นคนมีความสามารถ เรื่องน้ีเป็นการยากมากสาหรับบุคคล ทมี่ คี วามบกกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ แต่เพ่ือสนองความต้องการพิเศษท่ีจาเป็นต้องยกย่องชมเชยเด็ก เมื่อสามารถทาบางส่ิงบางอย่างสาเร็จ แม้จะเห็นว่าเป็นส่ิงง่าย ๆ ครูต้องชมเด็กทุกครั้งที่เด็กสามารถตอบ คาถาม แมจ้ ะเพียงเลก็ นอ้ ยก็ตาม ครจู ะต้องพดู ตดิ ปากเสมอวา่ เก่ง ดี ดีมาก วาดรูปได้สวย ทาถูกต้องแล้ว น่ารัก ขยัน เป็นต้น หากครูไม่เข้าใจ แต่กลับใช้ถ้อยคาท่ีทาให้เด็กท้อถอย เด็กเหล่านี้จะไปแสดงออกในทางท่ีไม่ดี นอกโรงเรียน เช่น ขโมยของผอู้ ื่น ท้งั นี้เพอ่ื ทดแทนคาพดู ของเพื่อน ๆ เทา่ นั้น 5. ต้องการความเป็นอิสระและต้องการเป็นผู้รับผิดชอบในกิจกรรมต่าง ๆ บ้าง ท้ังน้ีเพราะบุคคล ที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ต้องคอยอาศัยคนอ่ืน ๆ อยู่ตลอดเวลาไม่ค่อยเป็นตัวของตัวเอง ดังน้ัน หากเด็กเหล่านี้ต้องการความเป็นอิสระบ้าง ครูควรจัดให้โดยครูเป็นผู้ให้คาแนะนา ไม่ใช่คอยควบคุม เพอื่ ใหเ้ ด็กได้ทาอะไรได้ด้วยตนเอง และฝึกให้มคี วามรบั ผดิ ชอบงานท่ีไดร้ บั มอบหมายอกี ด้วย

6. ต้องการประสบการณ์แปลก ๆ ใหม่ ๆ และกิจกรรมใหม่ ๆ บ้าง ส่ิงเหล่านี้ เด็กปกติสามารถ คิดค้นและสร้างสรรค์ได้ แต่เด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ไม่สามารถทาได้ ดังน้ันครูที่สอนต้อง พยายามจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนให้เดก็ เหลา่ นี้ได้มปี ระสบการณใ์ หม่ ๆ แปลก ๆ เพื่อเป็นการฝึกหัดให้เด็ก คดิ บา้ ง การจดั การพฤตกิ รรมของบคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมหรอื อารมณ์ การจัดการพฤติกรรมของบุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ มีเทคนิคและวิธีการ ท่ีหลากหลาย ดังนี้ เทคนิคการสอนเชิงพฤตกิ รรมสาหรบั บคุ คลท่มี ีความบกพร่องทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ เพื่อช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้และลดพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์สู่พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ ควรใช้ เทคนคิ การสอนเชงิ พฤตกิ รรมดงั น้ี 1. การให้แรงเสริมหรอื รางวัล การเรยี นรู้เกดิ ข้ึนจากผลกระทบท่มี ีตอ่ พฤตกิ รรมของเด็กในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ถ้าผลกระทบนั้น เปน็ ที่น่าพึงพอใจสาหรับเด็ก เด็กก็มักชอบกระทาส่ิงน้ันซ้าอีก แต่ถ้าผลท่ีเกิดตามมาไม่น่าพึงพอใจ เด็กก็จะลด การกระทาหรือทาพฤตกิ รรมซ้า ๆ นอ้ ยลง ในท่ีนเี้ ราจะกลา่ วถงึ เฉพาะผลท่ีตามมาในทางที่น่าพึงพอใจ เพ่ือที่จะ พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ผลที่เกิดขึ้นในทางน่าพึงพอใจนั้นมีช่ือเรียกว่า “แรงเสริมทางบวก” และมักจะ หมายถงึ รางวลั (Rewards) รางวัล คือ บางสิ่งบางอย่างท่ีเด็กจะพยายามทางานเพ่ือให้ได้มา เช่น ทางานเพ่ือหวังให้ได้คาชม หรือขนม สิ่งของที่แตกต่างกันนั้นจะใช้เป็นรางวัลสาหรับเด็กในกรณีต่าง ๆ กัน ผู้ใช้จะต้องรู้จักเลือกแรงเสริม ที่จะเหมาะสมกับเด็ก การชมว่า “เก่ง” อาจจะใช้ได้ผลดีกับเด็กคนหน่ึงแต่อาจจะใช้ได้ผลไม่ดีกับเด็กอีกคนหนึ่ง ผู้ใช้ต้องสังเกตว่า การให้รางวัลชนิดไหนมีประสิทธิภาพที่สุด และจะต้องถูกใช้ทันทีที่เด็กแสดงพฤติกรรมที่พึง ปรารถนาออกมา 2. การกระตนุ้ เตอื น (Prompting) เป็นเทคนิคสาคัญประการหน่ึงที่ใช้ในการช่วยเหลือเด็กให้เกิดการเรียนรู้ ได้แก่ การกระตุ้นเตือน ทางกาย คอื การจับมอื ของเด็กให้ทางาน การกระตุ้นด้วยท่าทาง คือ การสาธิตหรือแสดงวิธีปฏิบัติงานให้เด็กดู และเลียนแบบกับการช้ีแนะ อาจด้วยน้ิว หรือด้วยใบหน้า สายตา และการกระตุ้นด้วยวาจา คือ การออกคาสั่ง ซา้ หรือชแ้ี จงด้วยคาพูด 3. การวิเคราะหง์ าน (Task Analysis) คือ การแตกงานออกเป็นขั้นตอนเล็ก ๆ ที่เด็กสามารถกระทาได้สาเร็จ ซึ่งแต่ละขั้นตอนของงาน จะนาไปสู่พฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค์ได้ 4. การตะล่อมกลอ่ มเกลา (Shaping) คือ การสอนพฤติกรรมที่ยุ่งยากซ้าซอ้ นดว้ ยวิธีการดังน้ี 4.1 การสอนแบบเดนิ หน้า คือ การสอนตามลาดับข้นั ตอนของการวิเคราะหง์ าน

4.2 การสอนแบบถอยหลัง คือ การนาข้ันตอนสุดท้ายของงานมาสอนก่อน และจะต้องให้รางวัลทุก ครง้ั แก่การตอบสนองในข้ันตอนทเ่ี ด็กกระทาได้ ซ่ึงขั้นตอนเหล่านนั้ จะตอ่ เน่ืองไปสู่พฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ 5. การเลยี นแบบ โดยจากกริยาทา่ ทางและคาพดู ซึ่งช่วยใหเ้ ด็กคุน้ เคยกบั แบบอยา่ งที่ผู้อื่นแสดงออก และจะ สามารถ เลยี นแบบอยา่ งของพฤติกรรมใหม่ ๆ ไดต้ อ่ ไป การจัดการเรียนร้สู าหรบั บุคคลท่มี ีความบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ หลกั สูตร หลักสูตรหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ควรมีลักษณะสอดคล้องกับปัญหา และความต้องการของเด็กประเภทนี้ จึงมีความจาเป็นในการปรับปรุงหลักสูตรสาหรับนักเรียนทั่วไปให้ เหมาะสมกบั เด็กประเภทน้ี โดยเฉพาะหลักสูตรสาหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ควร มเี นอ้ื หาครอบคลุม ดังนี้ 1. วิชาสามัญ 2. การพัฒนาความคิดรวบยอดต่อตนเอง 3. พฤติกรรมทางสงั คมท่ีเหมาะสม 4. กลวธิ ใี นการจดั การกบั ความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ การจัดหลักสูตรสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษจะต้องสอดคล้องกับปรัชญาของการจัดการศึกษา พเิ ศษ ปรัชญาการศกึ ษาพเิ ศษข้อหนึ่งระบุว่า ในการจัดการศึกษาพิเศษน้ัน ควรจัดเพ่ือสนองความต้องการและ ความสามารถของเด็กและเพ่ือแก้ไขข้อบกพร่องของเด็ก หากข้อบกพร่องของเด็กได้รับการแก้ไขแล้ว ควรส่ง เด็กเข้าเรียนร่วมกับเด็กท่ัวไปโดยเร็วท่ีสุด ดังนั้นหากเด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์สามารถเรียน ร่วมกับเด็กทั่วไปได้ ควรส่งเด็กเข้าเรียนร่วมกับเด็กท่ัวไปเต็มเวลา และมีบริการอ่ืนเพ่ือช่วยขจัดข้อบกพร่อง ของเด็ก เด็กที่เรียนร่วมกับเด็กทั่วไปได้นั้นเรียนหลักสูตรเดียวกันกับหลักสูตรสาหรับเด็กท่ัวไป แต่ถ้าหากเด็ก มีพฤติกรรมที่รุนแรงจนกระท่ังไม่สามารถเรียนร่วมกับเด็กท่ัวไปได้เด็กเหล่านี้ จึงควรเรียนในหลักสูตรพิเศษ จนกระทั่งเด็กมีพฤติกรรมเป็นท่ียอมรับมากขึ้นพอที่จะเรียนร่วมกับเด็กทั่วไปได้ จึงส่งเด็กเข้าเรียนร่วมกับเด็ก ท่ัวไป ดังนั้นหลกั สูตรสาหรับบคุ คลท่ีมีปญั หาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์อาจมี 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรสาหรับ เด็กทั่วไป และหลักสตู รพิเศษ หลักสูตรพิเศษสาหรับบุคคลท่ีมีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เป็นหลักสูตรที่มีเนื้อหาและวิธีการ ท่ีมุ่งขจัดความบกพร่องทางพฤติกรรมของเด็ก หลักสูตรดังกล่าวจึงควรเน้นทักษะทางสังคม เน่ืองจากบุคคล ที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ขาดทักษะทางสังคม ซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อการเรียนของเด็ก ทักษะ ทางสังคม หมายถึง พฤติกรรมที่เก่ียวข้องกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับเพ่ือนและผู้อ่ืน หลักสูตรที่จะกล่าวถึง ตอ่ ไปนม้ี ี 2 หลกั สูตร เปน็ หลกั สตู รพเิ ศษสาหรบั เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมในระดับประถมศึกษาและ มธั ยมศึกษา

1. หลักสูตรในระดับประถมศึกษา หลักสูตรท่ีจะกล่าวถึงต่อไปนี้มีช่ือว่า ACCEPTS ซ่ึงย่อมาจาก A Curriculum for Children's Effective Peer and Teacher Skill (Walker, et.al., 1983, อ้างถึงใน กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง วิชาการศึกษาพิเศษ เร่ือง การจัดการ ศึกษาสาหรบั บคุ คลที่มปี ัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เลม่ ท่ี 10. 2550) หลักสตู รนม้ี จี ุดม่งุ หมายสาคัญ คือ เพ่อี เตรียมบุคคลท่มี คี วามบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ต้ังแต่ระดับอนุบาล จนถึงช้ันประถมศึกษา ปีที่ 6 ให้มีความพร้อมที่เรียนร่วมกับนักเรียนทั่วไป เนื้อหาของหลักสูตรเก่ียวกับการฝึกให้นักเรียนมีทักษะใน การปรับตัวให้เป็นที่ยอมรับของเพ่ือน ๆ ในหลักสูตรท่ีมีทักษะที่นักเรียนจะต้องเรียนท้ังหมด 28 ทักษะ แบ่ง ออกเปน็ 5 หมวด คอื 1. ทักษะในช้นั เรียน 2. ทกั ษะเบอ้ื งต้นในการติดต่อกบั ผอู้ ่นื 3. ทกั ษะในการคบเพ่ือน 4. ทกั ษะในการรกั ษาความเป็นมิตรกับผูอ้ ่ืน 5. ทักษะในการแกป้ ัญหา ทักษะในชัน้ เรียนเปน็ ทกั ษะทีจ่ าเป็น ทีจ่ ะชว่ ยให้นกั เรียนสามารถเรียนหนังสือได้ เช่น ทักษะในการฟัง คาสัง่ คาสอนของครูด้วยความต้งั ใจ ทักษะในการปฏิบัติตามคาส่งั ครู เปน็ ต้น ส่วนทกั ษะอ่ืน ๆ เป็นทักษะในการ ปฏบิ ัตติ ่อเพื่อนและผอู้ น่ื 2. หลักสูตรในระดับมัธยมศึกษา หลักสูตรท่ีจะกล่าวถึงต่อไปนี้มีช่ือว่า Structured Learning Curriculum (Golstien. et al. 1980, อ้างถึงในกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ชุดเอกสารศึกษา ด้วยตนเอง วิชาการศึกษาพิเศษ เรื่อง การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เล่มท่ี 10. 2550) เป็นหลักสูตรในระดับมัธยมศึกษาที่มีความคล้ายคลึงกับหลักสูตรแรก แต่มีเน้ือหาต่างกัน หลักสตู รน้ีประกอบดว้ ยทกั ษะทจ่ี าเปน็ 50 ทักษะ จาแนกไดเ้ ปน็ 6 หมวด คอื 1. ทกั ษะเบอื้ งต้นทางสังคม 2. ทกั ษะความก้าวหน้าทางสงั คม 3. ทักษะเกยี่ วกับความรสู้ ึกนกึ คิด 4. ทกั ษะในการขจัดความกา้ วร้าว 5. ทักษะในการขจัดความเครียด 6. ทักษะในการวางแผน หลักสตู รนี้มจี ดุ ม่งุ หมายเฉพาะแตล่ ะพฤติกรรมมีวธิ ฝี ึกทักษะตลอดจนวิธีประเมินผล เมื่อนักเรียนเรียน จบหลกั สูตรนแ้ี ลว้ จะถูกส่งไปเรยี นรว่ มกบั เด็กทัว่ ไป หลักสูตรท้ังสองน้ี ได้นามาทดลองแล้ว ปรากฏว่าเป็นหลักสูตรท่ีมีผลต่อพฤติกรรมของนักเรียนเป็น อยา่ งดี แต่ยังไมส่ ามารกแกป้ ญั หาพฤติกรรมของนักเรียนได้ทุกปัญหา จึงมีข้อเสนอแนะว่า ในการใช้หลักสูตรน้ี ควรใช้วธิ ีการปรบั พฤติกรรมของนักเรียนควบคู่กนั ไปด้วยจงึ จะไดผ้ ลสมบรู ณ์

วิธกี ารจัดการเรยี นการสอนสาหรับบุคคลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ การจัดการเรยี นการสอนอาจกระทาได้ในลักษณะใดลักษณะหน่ึงต่อไปน้ี 1. จดั ให้เรียนในช้นั พิเศษ และได้รบั ความช่วยเหลอื เพม่ิ เติมในด้านการปรบั พฤติกรรม 2. จดั ให้เรียนในช้ันพิเศษในโรงเรียนท่ัวไป โดยนักเรยี นอยใู่ นชนั้ พเิ ศษตลอดเวลา 3. จัดให้เรียนในช้ันพิเศษในโรงเรียนท่ัวไป โดยให้เด็กมีโอกาสไปเรียนร่วมกับเด็กท่ัวไปในชั้นปกติ ในบางเวลา 4. จัดใหเ้ รยี นในชน้ั พิเศษในโรงเรียนพเิ ศษหรอื ศนู ย์การศึกษาพิเศษ 5. จัดให้ครูการศึกษาพิเศษไปสอนตามบ้าน โดยเฉพาะในกรณีท่ีนักเรียนมีปัญหาทางพฤติกรรม ในขน้ั รนุ แรง มิอาจเขา้ รับการบริการทางการศึกษาจากโรงเรยี นได้ ชั้นพิเศษควรเป็นชนั้ เลก็ ๆ มนี กั เรียนไม่มากนกั และควรมคี รผู ชู้ ่วยอย่างนอ้ ย 1 คน สาหรบั เด็ก 1 กลมุ่ ในการเรียนการสอนครูควรนากลวิธีในการปรับพฤติกรรมมาใช้กับนักเรียน เพ่ีอให้นักเรียนเปล่ียนแปลง พฤติกรรมจากพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์มาเป็นพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้นักเรียนมีโอกาสประสบความสาเร็จในการเรียน นักเรียนจะได้รับการกระตุ้นให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทลี ะนอ้ ย และตามลาดับข้นั โดยเนน้ ความสาเรจ็ ของนกั เรยี นเปน็ หลกั การเรียนการสอนควรมีทั้งการสอนเป็นรายบุคคล และสอนเป็นกลุ่มย่อย ๆ เม่ือนักเรียนมีพัฒนาการ อยู่ในเกณฑ์ท่ีดีพอที่จะสอนเป็นกลุ่มย่อยได้ ควรสอนเป็นกลุ่มย่อย ท้ังน้ีเพ่ือให้นักเรียนมีโอกาสฝึกและพัฒนา ทกั ษะทางสังคมและการเข้ากับเพ่ือน กอ่ นทีจ่ ะกลบั เขา้ ไปเรียนในโรงเรยี นทัว่ ไป นกั เรยี นทกุ คนควรมีแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคลและแผนการสอนเฉพาะบุคคล การประเมินผล ความก้าวหน้าของนักเรียนจะต้องเป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ในแผนน้ี จุดม่งหมายที่กาหนด แผนการ จัดการศึกษาเฉพาะบุคคลควรเน้นความสาเร็จทางการเรียน การสร้างทัศนคติที่ถูกต้องต่อตนเอง พัฒนาการ ทางสังคม ตลอดจนการรู้จักปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั คนอน่ื และสงิ่ แวดล้อม นวัตกรรมและเทคโนโลยี สิง่ อานวยความสะดวก สื่อ บริการและความชว่ ยเหลืออ่นื ใดทางการศึกษา การใช้ส่อื สง่ เสริมพฒั นาการเรยี นรูข้ องบุคคลที่มคี วามบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ สื่อ หมายถึง เครื่องมือต่าง ๆ ที่ครูนามาใช้ประกอบการสอนเพ่ือช่วยถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ จากนามธรรมสรู่ ปู ธรรมไปสู่นกั เรียน ทาให้นกั เรยี นเกดิ การเรยี นรูต้ ามจุดมงุ่ หมายอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การเรียนรู้ต่าง ๆ ของบุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ต้องเรียนรู้จากส่ิงท่ีเป็น รูปธรรม ดังนั้นจึงมีความจาเป็นอย่างมากสาหรับนักเรียนกลุ่มน้ี การเรียนรู้ที่จะให้ได้ผลดีท่ีสุด คือ การเรียนรู้ จากประสบการณ์ นกั เรียนได้ลงมือปฏบิ ตั ิกิจกรรมโดยประสาทสัมผัสท้งั 5 ส่อื จะต้องเป็นส่ิงเร้าท่ีทาให้นักเรียน เกดิ ความสนใจอยากที่จะสัมผัส สื่อท่ีดีต้องเป็นสื่อท่ีส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลายทักษะ สาหรับนักเรียน ประเภทนี้ โดยทั่วไปแล้วครูสามารถส่งเสริมพัฒนาการ เช่นเดียวกับนักเรียนทั่วไป แต่ขั้นตอน ในการสอน อาจจะแบ่งยอ่ ยเปน็ หลายข้นั ตอน

สือ่ สาหรับบุคคลท่ีมคี วามบกพร่องทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ 1. เป็นสือ่ ของจริง สื่อธรรมชาติ 2. เป็นสอ่ื ทีผ่ เู้ รยี นคุน้ เคย พบเหน็ บอ่ ย ๆ 3. เปน็ ส่ือทม่ี ีความปลอดภัยตอ่ ตวั นักเรยี น 4. เป็นสอื่ ที่พัฒนานกั เรียนในด้านต่าง ๆ ใหค้ รบทุกดา้ น ประเภทของส่ือและรายละเอียดทเี่ ก่ียวกับสื่อ 1. สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นสื่อเอกสารประเภทต่าง ๆ ท่ีช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ผู้สอนได้ใช้ศึกษา หาความร้แู ละเป็นเครือ่ งมอื ในการจัดการเรยี นการสอนและผู้ปกครอง มีความรูค้ วามเขา้ ใจในการพัฒนา ทักษะ พ้ืนฐาน ส่งเสริมการเรียนของบุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เช่น หนังสือเรียน คู่มือครู คูม่ อื ผ้ปู กครอง แผน่ พบั หรือโปสเตอร์ โปรแกรมการฝึกการประเมนิ เป็นตน้ 2. ส่ือวัสดุอุปกรณ์ เป็นสื่อและอุปกรณ์ในการพัฒนาทักษะพ้ืนฐานและส่งเสริมการเรียนรู้และ การเตรียมความพร้อมทักษะพ้ืนฐานด้านอาชีพของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เช่น ของจริง หุน่ จาลอง เกมการศึกษา ของเล่นท่ีพัฒนาทักษะ บัตรคา บัตรภาพ พรอ้ มค่มู อื การใช้สื่ออุปกรณ์ เป็นตน้ 3. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นส่ือการเรียนของผู้เรียน ส่ือในการจัดการเรียนการสอนของครูและเป็นส่ือ ท่ีให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะขั้นพ้ืนฐานและการเรียนรู้ของบุคคลท่ีมีความบกพร่อง ทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยหรือจากการศึกษาทางไกล เช่น รายการ วทิ ยุ รายการโทรทศั น์ เทปเสียง วดี ีทัศน์ คอมพิวเตอร์ เปน็ ต้น 4. ส่ือประสม เป็นชุดการเรียนการสอนสาเร็จรูป ที่ประกอบด้วยเอกสาร วัสดุสื่ออุปกรณ์ และสื่อ อเิ ล็กทรอนิกส์ 5. การเรียนรู้ด้วยตัวเอง (Self Access Learning Center) การเรียนรู้ด้วยตนเองของเด็กจากส่ือ อิเลก็ ทรอนิกส์ เอกสาร หรืออ่ืน ๆ ทั้งนี้ผู้เรียนจะต้องมีพ้ืนฐานภาษา การอ่าน การเขียนหรือพ้ืนฐานในเรื่องนั้น ๆ แล้ว หรือไดร้ บั การสอน การแนะนา การฝึกฝนให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ตารางแสดงลกั ษณะสอื่ แตล่ ะประเภท ประเภทส่ือ ลักษณะสื่อ ตวั อยา่ ง 1. สื่อส่งิ พิมพ์ 1. สอ่ื สง่ เสรมิ พฒั นาการเรยี นรู้และภาษา - หนังสือนิทานตา่ งๆ 2. สื่อสง่ เสริมทักษะการเตรยี มความพร้อมด้านอาชีพ - หนงั สอื เรียน ของจริง ภาพ 3. สื่อส่งเสรมิ พฒั นาทักษะการชว่ ยเหลอื ตนเอง - โปสเตอร์ หนงั สือของจริง 4. คมู่ ือการใช้สื่อแต่ละประเภท - หนังสือ / แผ่นปลิว 2. สอ่ื วัสดุ อุปกรณ์ 1. ส่ือส่งเสรมิ พัฒนาการกล้ามเนอ้ื มดั ใหญ่ - บนั ได กระดานทรงตวั 2. สื่อส่งเสริมพฒั นาการกลา้ มเนือ้ มดั เล็ก - กรรไกร ลูกปัด เกม 3. สื่อส่งเสริมพฒั นาการทางภาษา - เกมการศกึ ษา หุ่น ของเลน่ 4. สอ่ื สง่ เสรมิ พัฒนาการเรยี นรู้ - ของจรงิ ฯลฯ 5. สอ่ื ส่งเสริมพัฒนาการดา้ นประสาทสัมผสั - ของเล่น ของจริง 6. ส่ือกายภาพบาบัด - อ่างนา้ วน ลูกบอลยกั ษ์ 7. สอ่ื กจิ กรรมบาบัด - เกม / ของเล่น 8. สอ่ื สง่ เสรมิ ทกั ษะด้านสังคมนสิ ยั - เกม / ของเลน 9. สื่อสง่ เสริมพัฒนาการด้านการชว่ ยเหลือตนเอง - ของจริง หนุ่ จาลอง ของเล่น 10. สื่อสง่ เสรมิ ทักษะการเตรียมความพร้อม - ของจรงิ หุ่นจาลอง ของเล่น 3. สือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ 1. วีดีทศั น์ - เกม สารคดี นิทานภาพยนตร์ 2. สื่อคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน - เกม / บทเรียน / โปรแกรม 3. สื่อสง่ เสรมิ พฒั นาการทางภาษา - เกม โปรแกรม 4. ส่อื ประสม ชดุ การเรียนร้ดู ้วยตนเอง - ชดุ การเรียนตา่ ง ๆ ข้ันตอนการใชส้ ือ่ การใช้สือ่ ประกอบการเรียนการสอนของครู สามารถใช้ได้ทุกขั้นตอนหรือ ส่ือบางชนิดอาจใช้ได้เฉพาะ ตอนใดตอนหนงึ่ เทา่ นนั้ สื่ออาจใชไ้ ดต้ ามขนั้ ตอนตอ่ ไปนี้ 1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจอยากที่จะรู้เรื่องราวต่อไป หรือโยง เนอื้ หาทเ่ี รยี นมาแลว้ ใหต้ ่อเนือ่ งกัน เชน่ เทปเพลง เทปนทิ าน รปู ภาพ เป็นตน้ 2. ขั้นดาเนินการ เป็นการสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจในเน้ือหา ของจริง หรือสิ่งที่ นักเรียนต้องการจะรู้ นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงกับส่ือนั้น ๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสท้ังห้า เช่น เครื่องมือทดลอง ตา่ ง ๆ พืชผกั ผลไม้ เครื่องมือเครื่องใชต้ ่าง ๆ เป็นตน้ 3. ขั้นสรุป เป็นการใช้สื่อสรุปเน้ือหาสาคัญในเวลาสั้น ๆ เช่น บัตรภาพ บัตรคา เทปคาคล้องจอง เทปเพลง แบบทดสอบ เป็นตน้

การประเมินส่ือ ในการใช้ส่ือการเรยี นการสอนตอ้ งมกี ารประเมนิ สอ่ื ทุกชิ้นท่ีนามาใช้ ไม่ว่าจะเป็นส่ือสาหรับครู หรือสื่อ สาหรบั นกั เรยี น เพือ่ ดวู า่ สอ่ื ทใ่ี ช้มีปัญหาอยา่ งไร เมือ่ นาไปใช้แล้วมีผลสัมฤทธิ์อย่างไร บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ หรอื ไม่ สาหรับนาผลทีไ่ ดไ้ ปปรับปรุงพัฒนาส่อื ให้มีประสิทธิภาพยงิ่ ขนึ้ ขัน้ ตอนการประเมนิ การใช้สื่อ ก่อนใช้ ระหวา่ งใช้ หลงั ใช้ ก่อนใช้ สภาพส่ือเป็นอย่างไร ระหว่างการใช้ เปน็ ไปตามข้นั ตอนหรอื กระบวนการทต่ี ั้งไวห้ รือไม่ หลงั ใช้ เกดิ การเรียนรู้มากนอ้ ยเพียงใด (กองการศึกษาเพอี่ คนพิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ : 2535 .43-45) การจัดสภาพแวดลอ้ มสาหรับบุคคลท่ีมคี วามบกพร่องทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ การจัดควรพิจารณาถึงองค์ประกอบทางด้านสภาพแวดล้อมในปัจจุบันของแต่ละคน อาทิ ท่ีพักอาศัย สภาพแวดล้อมในโรงเรียน/ที่ทางาน และในชุมชน โดยอาศัยการสังเกตว่าสภาพแวดล้อมน้ัน เอื้ออานวยหรือ เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัตติ นอย่างไร และให้จัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมทมี่ ลี กั ษณะสาคัญ 3 ประการ คอื 1. ใหโ้ อกาสในการดารงชวี ิตการศึกษาตลอดจนการใชเ้ วลาวา่ งและนันทนาการ 2. ส่งเสรมิ ให้มคี วามเปน็ อยู่ทีด่ ี ทัง้ ทางกาย จิตใจ วตั ถแุ ละสังคม 3. สง่ เสริมความมัน่ คง เพม่ิ พนู ความรู้ มติ รภาพ และการให้การชว่ ยเหลอื ทางสังคม

สาหรับการจัดสงิ่ แวดลอ้ มทโี่ รงเรียน โดยเฉพาะห้องเรียน มหี ลายอยา่ ง ท่ีจะชว่ ยปรับปรุงปญั หาได้ ดังนี้ เด็กควรน่ังใกล้โตะ๊ ของครใู ห้ครมู ี ส่ิงทท่ี ำให้เขาไขว้เขวควรมนี อ้ ยทสี่ ดุ เดก็ ควรนั่งข้างหน้าหอ้ งและหัน โอกาสได้รับรวู้ ่าเด็กทาอะไร เชน่ พัดลม หนา้ ตางหรือประตทู ่ี หน้าให้คนอืน่ และควบคมุ เขา เปิดบ่อยๆ สถานท่ีท่ีมีรถตดเยอะๆ เด็กควรอย่กู บั นักเรียนอื่นหลาย การเปลยี นโรงเรียนหรือความ ครตู ้องสนใจเด็กเมื่อเขาทา คนทีเ่ ป็นตวั อยา่ งท่ีดี เปลยี่ นแปลงในโรงเรียนเป็นเวลา ที่ กจกรรม ไม่ตอ้ งสนใจเด็กเมอ่ื เขา ให้เดก็ มีปัญหามาก ครตอ้ ง เข้าใจสิ่ง วนุ่ วาย เทา่ นนั้ น้ี และช่วยเหลอื เดก็ เมอ่ื ครอู อกคาสง่ั กับเดก็ ครต้อง คาส่ังทใี่ ชป้ ระจาและสงที่ ครคู วรให้รางวัลมากกว่าการ จ้องตาเด็กและบอกคาสั่งทช่ี ดั เจน คาดหมายเอาไว้ของครูควรมี ลงโทษ ใหเ้ ด็กมีโอกาสคิดเกยี่ วกบั และส้นั กระทดั ร ใหแ้ กเ่ ดก็ ความคงที่ ตนเอง (โปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษสถาบันราชภัฏสวนดุสิต, อ้างถึงในกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง วิชา การศึกษาพิเศษ เร่ือง การจัดการศึกษาสาหรับบุคคล ทม่ี ีปญั หาทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ เล่มท่ี 10. 2550)

การวัดผลประเมนิ ผล การวัดผลประเมินผลการเรียน เป็นสิ่งหนึ่งท่ีจะพัฒนาความก้าวหน้าของนักเรียน สาหรับบุคคลท่ีมี ความบกพร่องทางพฤตกิ รรมหรอื อารมณ์ควรคานึงถงึ การวัดผลประเมนิ ผลดังน้ี 1. หลักการวัดผล ประเมินผลการเรียน 1.1 ใหม้ ีการวดั ผล ประเมินผลในแตล่ ะกจิ กรรมทีเ่ ป็นการสง่ เสริมพัฒนาการ 1.2 ใหม้ ีการวัดผล ประเมินผลก่อน ระหว่าง และส้ินสดุ การจัดกจิ กรรม 1.3 การวัดผล ประเมินผลการจัดกิจกรรม ให้ดาเนินทุกขั้นตอนของการจัดกิจกรรม เพี่อดู ความก้าวหน้าของพฒั นาการและการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมของนักเรียน 2. จุดมุ่งหมายของการวดั ผล ประเมนิ ผล 2.1 การวัดผล ประเมินผลก่อนการจัดกิจกรรม เพ่ือประเมินความพร้อมและความรู้พ้ืนฐานของ นักเรียน เพ่ือวางแผนการจดั กจิ กรรมให้มคี วามเหมาะสมในแตล่ ะรายบคุ คล 2.2 การวัดผล ประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรม เพื่อทราบความก้าวหน้าในการเรียนของ นกั เรียนและปรับปรุงการจัดกจิ กรรมใหม้ ีความเหมาะสมมากยงิ่ ขึ้น 2.3 การวัดผล ประเมินผล เม่ือส้ินสุดการจัดกิจกรรม เพ่ีอประเมินความก้าวหน้าพัฒนาการของ นักเรียน 3. การวดั ผล ประเมนิ ผล 3.1 ตอ้ งประเมินพฒั นาการของผู้เรียนครบทุกดา้ นเป็นรายบคุ คลอย่างสม่าเสมอตอ่ เน่ืองตลอดปี 3.2 เน้นการประเมินตามสภาพความเป็นจริงจากการสังเกตพฤติกรรม การบันทึกข้อมูล การใช้ แบบประเมินผลพัฒนาการ แฟ้มสะสมงานที่แสดงถึงความสามารถหรือพัฒนาการแต่ละทักษะของนักเรียนเป็น รายบคุ คล 4. วิธกี ารวัดผล ประเมนิ ผล การวัดผล ประเมินผลการจัดกิจกรรม ให้ประเมินจากสภาพจริงของการจัดกิจกรรม (Authentic- Assessment) ซ่ึงต้องคานงึ ถงึ ประเด็นดังนี้ 1. วิธีการวัดผล วิธีการวัดผลอาจทาได้หลายวิธี โดยผู้สอนเลือกใช้ให้เหมาะสมกับนักเรียน ธรรมชาตขิ องวิชาและจดุ ประสงค์การเรียนร้ใู นแต่ละรายวชิ า ซึ่งวิธกี ารวดั ผลอาจใช้ดงั นี้ วธิ ีท่ี 1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รียน โดยใช้แบบสารวจรายการและแบบบนั ทึกพฤติกรรม ก. แบบสารวจรายการ (Checklists) จะช่วยบันทกึ พฤติกรรมการเรยี นรู้ของผเู้ รียนโดยเน้นการ พัฒนาการเรียนรู้ตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดจุดประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา หรือจุดประสงค์การเรียนรู้ ในแต่ละเน้ือหา ข. แบบบันทึกพฤติกรรม ครูจะต้องใช้บันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกคนในแต่ละ ระดับช้ันเรียน และทุกเรื่องที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร แล้วนาคะแนนที่ประเมินได้จากการสารวจมา หาคะแนนเฉล่ยี ของนกั เรียนแตล่ ะคน

วิธที ่ี 2 แฟ้มสะสมผลงาน แฟ้มสะสมผลงาน คือ การประเมินความสาเรจ็ ของนักเรียนจากผลงานท่ีเป็นช้ินงานดีท่ีสุด หรือ งาน ที่แสดงความก้าวหน้าที่นักเรียนเก็บสะสมในแฟ้ม สมุด กล่อง หรือกระเป๋า แล้วแต่ลักษณะของงานอาจมี หนง่ึ ชิ้นหรือมากกวา่ ซง่ึ เพียงพอทีจ่ ะแสดงถึงความพยายาม ความก้าวหน้าและผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนใน เรื่องท่ี มอบหมายตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. การประเมินผลการเรียนจากแฟ้มสะสมผลงาน การประเมินผลการเรียนจากแฟ้มสะสม ผลงาน สามารถประเมนิ ได้จากแฟ้มสะสมของนักเรียนแตล่ ะคน และจากแฟ้มสะสมผลงานกลุ่ม 2. การประเมนิ ค่าผลงาน เป็นการประเมินเพ่อื ดคู วามพยายามและพัฒนาการส่วนบุคคลมากกว่า ท่ีจะไปเปรียบเทียบกับ คนอนื่ ๆ และให้คะแนนของงานทุกช้นิ เพ่ีอเป็นการประเมนิ สะสมการเรยี นของนกั เรียน 2. เกณฑ์การประเมินผล 2.1 เกณฑ์การประเมนิ จุดประสงคก์ ารเรยี นรใู้ นแต่ละรายวิชา อาจใชร้ ะดบั การประเมินดังนี้ แบบที่ 1 ประเมินผลการเรยี นรู้แต่ละจุดประสงค์ โดยกาหนดชว่ งคะแนนเปน็ ร้อยละ ผลการประเมนิ จดุ ประสงค์ ความหมาย ชว่ งคะแนนเปน็ ร้อยละ 4 ผลการเรียนดีมาก ผสู้ อนสามารถกาหนดช่วงคะแนน 3 ผลการเรียนดี ตามความเหมาะสมกับนักเรียน 2 ผลการเรยี นปานกลาง ธรรมชาตขิ องวชิ าและจุดประสงค์ 1 ผลการเรียนผา่ นเกณฑข์ ั้นตา่ ท่ีกาหนด การเรยี นรู้ 0 ผลการเรียนทต่ี ่ากวา่ เกณฑ์ แบบท่ี 2 ประเมนิ ผลการเรียนร้แู ตล่ ะจุดประสงค์ โดยประเมนิ ค่าพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ผลการประเมินรายจุดประสงค์ ความหมาย 4 ทาไดถ้ กู ต้องดว้ ยตนเองทง้ั หมด 3 ทาไดเ้ กอื บถกู 2 ทาไดบ้ า้ ง ไมไ่ ด้บ้าง 1 ครกู ระต้นุ เตอื นทง้ั หมด (ทางกาย ท่าทาง วาจา) 0 นกั เรียนไมต่ อบสนองหรอื ทาไม่ถูก

การกาหนดเกณฑ์การประเมินผลผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้แต่ละวิชาต้องให้สอดคล้องกับ ผู้เรียนและ ลักษณะธรรมชาติ ดังน้ี 1. รายวิชาท่ีกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนเกิดทักษะความรู้ และความจา เช่น นักเรียน รจู้ ักภาชนะทีใ่ ช้รบั ประทานอาหารหรือนกั เรียนบอกประโยชน์ของพืชได้ อาจใช้เกณฑ์การประเมินแบบที่ 1 ซ่ึง ถ้าได้ผลการเรยี นระดับ 1 ขน้ึ ไปถือวา่ ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรียนรทู้ ี่กาหนด 2. รายวชิ าทีก่ าหนดจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนเกิดทักษะปฏิบัติ และทักษะความชานาญการ เช่น นกั เรยี นทาความสะอาดภาชนะรับประทานอาหารได้สะอาด หรือนักเรียนแปรงฟันได้ถูกวิธี หรือ นักเรียน ทาไข่เค็มได้ ผู้เรียนจาเป็นต้องผ่านจุดประสงค์ท่ีกาหนดในระดับที่ดี สามารถปฏิบัติด้วยตนเองได้ อันเป็น พ้ืนฐานที่สามารถไปเรียนรู้ทักษะที่สูงขึ้น หรือสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมและประกอบอาชีพได้ จึงควรใช้ วธิ กี ารประเมนิ แบบท่ี 2 ซ่งึ ผเู้ รียนได้ผลการเรียนระดับ 4 จานวนกค่ี รัง้ ขึ้นอยู่กบั ปจั จัย ดงั น้ี ผู้เรียน หากผู้เรียนมีความบกพร่องมากถึงระดับรุนแรง อาจกาหนดให้ผู้เรียนได้ระดับ 4 ติดต่อ หลาย ๆ ครั้ง เพ่ือให้แนใ่ จวา่ ผเู้ รยี นเรยี นรูแ้ ละเกดิ ทกั ษะนนั้ ๆ จริง เช่น ได้ผลการเรียนในจุดประสงค์ท่ีกาหนด ระดับ 4 ตดิ ต่อกนั 6 ครัง้ จึงจะผา่ นและไปเรยี นในจุดประสงคต์ อ่ ไป เปน็ ตน้ หากผ้เู รยี นมีความบกพร่องไม่มาก นัก และเรียนรไู้ ด้เรว็ อาจกาหนดใหไ้ ดร้ ะดบั 4 ตดิ ต่อกัน 2 คร้งั ถอื ว่าผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีกาหนดให้หากเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ียากหรืออันตราย เช่น นักเรียน สามารถใช้กาต้มน้าไฟฟ้าได้ ควรกาหนดให้ผู้เรียนได้ระดับ 4 ติดต่อกันหลาย ๆ ครั้ง จึงจะให้ผ่านจุดประสงค์ การเรียนรู้ เพือ่ ความปลอดภัยและใหแ้ น่ใจวา่ ผ้เู รยี นผา่ นจุดประสงคก์ ารเรยี นรูน้ นั้ ๆ จริง 2.1 เกณฑ์การประเมนิ ผลรายวิชา กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ผลรายวิชาดงั นี้ ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย ชว่ งคะแนนเป็นรอ้ ยละ 4 ผลการเรยี นดีมาก 80-100 3 ผลการเรยี นดี 70-79 2 ผลการเรียนปานกลาง 60-69 1 ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ขัน้ ตา่ ท่กี าหนด 50-59 0 ผลการเรยี นตา่ กวา่ เกณฑข์ ัน้ ต่า 0-49 (กศก, มปป: อา้ งถึงในกรมสามัญศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ชดุ เอกสารศกึ ษาดว้ ยตนเอง วิชา การศึกษาพิเศษ เรอื่ ง การจดั การศึกษาสาหรับบุคคลทมี่ ีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เล่มที่ 10. 2550)

การวัดผลประเมินผลตามวิธีการที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) การวัด และ ประเมนิ ผลแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล เป็นการรายงานผลการใช้แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลว่า บรรลุเป้าหมายระยะยาว 1 ปี โดยสถานศึกษาดาเนินการ ดังน้ี 1. ผูร้ บั ผดิ ชอบนาผลการประเมินการใชแ้ ผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคลเสนอต่อคณะกรรมการ 2. คณะกรรมการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล พจิ ารณา ศกึ ษา วเิ คราะห์ จากแบบสรุปผล การประเมนิ ในประเด็น ดังต่อไปนี้ 2.1 เปา้ หมายระยะยาว 1 ปี / จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม / เกณฑ์การประเมิน 2.2 ผลการประเมนิ การพัฒนาความสามารถผู้เรียนตามเกณฑ์ทีก่ าหนดของผูเ้ รยี นแตล่ ะคน 2.3 กาหนดแนวทางการพัฒนาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคลเพ่ือการส่งต่อ 3. ผรู้ บั ผิดชอบทบทวน ปรับปรุง แก้ไข แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล ในกรณีท่ีผู้เรียนไม่สามารถ เรียนตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม กิจกรรมการเรียนการสอน เกณฑ์การประเมิน เทคโนโลยี ส่ิงอานวยความ สะดวก สอ่ื บรกิ ารอื่นใดทางการศึกษาพรอ้ มจัดทารายงานผล ปีละ 2 ครง้ั

กรณีศกึ ษา กรณีศึกษาเดก็ อารมณ์สับสนแปรปรวน : ความร้ายในความรัก (ศรีเรือน แก้วกังวาล. 2545 เก็บความ จากสยามรัฐ ฉบับวนั พฤหัสบดที ี่ 15 กรกฎาคม 2542 (ช่ือทใ่ี ช้ไมใ่ ช่ชื่อจรงิ )) สุดสยองขวัญเหลือที่จะกล่าวสาหรับคดีที่นายเติมศักด์ิ นักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหน่ึงฆ่านายโชคชัย เพื่อนรักที่อยู่อีกมหาวิทยาลัยหนึ่งด้วยการรัดคอ เอาผ้าเทปปิดปากปิดจมูก ใส่กุญแจมือไพล่หลัง แล้วยัดศพ เพอื่ นใส่ทา้ ยรถเกง๋ ของผ้ตู ายนาไปจอดท้ิงไว้ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งย่านปทุมธานี คล้อยหลังอีก 3 วัน คดีจึงเร่ิมต้น โดยตารวจทเ่ี ดนิ ผ่านรถคันนั้นรู้สึกประหลาดใจทมี่ ีกล่ินเหม็นโชยมาอยา่ งรนุ แรงจากรถทีไ่ ม่มีเจ้าของที่จอดท้ิงไว้ เม่ือเปดิ ประตูทา้ ยรถออกมา ทุกคนต่างตกตะลึง เม่ือพบศพชายวัยรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี นอนอยู่ในช่องเก็บของ ทา้ ยรถ สภาพศพ ศีรษะถูกคลุมด้วยถุงขยะสีดา มีเทปกาวมัดติดแน่นหนา ส่วนมือท้ังสองข้างถูกสวมกุญแจมือ ไพล่หลังเอาไว้ เทา้ ทั้งสองขา้ งถกู มัดแนน่ ดว้ ยผ้าเทปและมถี งุ ขยะสีดาสวมทับอีกชนั้ ตารวจใช้ความพยายามไม่นานนักก็สามารถจับกุมนายเติมศักดิ์ ซึ่งยอมรับสารภาพว่าเป็นผู้ลงมือ สังหารเพ่ือนสนิทด้วยตนเอง ก่อนจะนาศพไปยัดใส่ท่ีท้ายรถและขับไปท้ิงอาพรางคดี โดยมีสาเหตุจากความหึง หวงแฟนเก่าทหี่ ันไปคบหากับผู้ตายเพื่อนรักที่สนิทสนมกันมาต้ังแต่เรียนอยู่โรงเรียนมัธยม ซ่ึงในท่ีสุดกลายเป็น “เพื่อนแค้น” นายเติมศักดิ์ได้บอกพ่อแม่ว่าท่ีทาไปเพราะความโมโห ส่วนการฆาตกรรมนั้น ได้เตรียมการและ ลงมอื ฆา่ เพียงคนเดียว

สรุปสาระสาคัญ การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์นั้น การศึกษาพฤติกรรม ของเด็กอาจกระทาได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความสนใจ โดยเริ่มจากการประเมิน คัดกรอง เบ้ืองต้น เพ่ือให้ ทราบปัญหาและสาเหตุ จึงวางแผนช่วยเหลือโดยใช้เทคนิควิธีการต่าง ๆ ท่ีหลากหลายในการช่วยเหลือและ จดั การพฤตกิ รรมของบคุ คลท่ีมีความบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรืออารมณ์เพื่อให้สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้ อยา่ งมีความสุข

แหล่งข้อมลู เพ่มิ เติมทต่ี อ้ งศกึ ษา สาหรับผู้ที่ศึกษาข้อมูลการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ นอกจากหนังสือชุดการศึกษาด้วยตนเองแล้ว ผู้ศึกษาเองนั้นควรหาข้อมูลความรู้เพิ่มเติม เพื่อให้เข้าใจและมี ความรู้เกยี่ วกบั การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ลักษณะของบุคคล ท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ การวางแผนการช่วยเหลือ นวัตกรรมและเทคโนโลยี สิ่งอานวย ความสะดวก สือ่ บรกิ าร และความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา เพราะปัจจุบัน การศึกษาสาหรับคนพิการได้ มีการพัฒนาองค์ความรู้ด้านต่าง ๆ ไปมาก ผู้ศึกษาจึงควรหาความรู้เพิ่มเติม เพ่ือให้ทันต่อเหตุการณ์ แหลง่ ข้อมูลเพม่ิ เตมิ ท่ีต้องศึกษา เช่น 1. พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2556 2. เวบ็ ไซต์ สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ http://special.obec.go.th/special 3. เวบ็ ไซต์ กระทรวงศึกษาธกิ าร www.moe.go.th 4. เว็บไซต์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ www.edu.ku.ac.th 5. เวบ็ ไซต์ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต http://education.dusit.ac.th 6. เว็บไซต์กจิ กรรมบาบัด ศนู ยก์ ายภาพบาบัด คณะกายภาพบาบัด มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล http://www.pt.mahidol.ac.th/ptclinic 7. ศูนย์วิชาการเพอ่ื การพัฒนาเด็กและวยั รนุ่ www.happyhomeclinic.com ซึ่ ง ห นั ง สื อ แ ล ะ เ ว็ บ ไ ซ ต์ เ ห ล่ า น้ี จ ะ ส า ม า ร ถ ห า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ส า ห รั บ บุ ค ค ล ที่ มี ความบกพร่อง ดังนี้ ข้อมูลสาคัญเกีย่ วกับบุคคลท่มี ีความบกพร่องทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ การจัดการศกึ ษา การจดั การเรยี นการสอน กฎหมายที่เกีย่ วขอ้ งกับการจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพิการ หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาท่ีเกีย่ วข้องกบั การจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการ

หนงั สอื ที่น่าสนใจเกย่ี วกับการจดั การศึกษาพเิ ศษ ชอ่ื หนังสือ E BOOK เดก็ สมาธิส้ัน : คมู่ อื สาหรับพอ่ แม/่ ผูป้ กครอง ผู้เขยี น สถาบนั ราชานุกูล ปที ี่พิมพ์ พ.ศ. 2555 รายละเอียด: คู่มอื เล่มนี้เป็นการรวบรวมความรทู้ ัง้ จากตาราและจากข้อมูลที่ได้จากการสัมมนา แลกเปล่ียน เรยี นรู้ประสบการณร์ ะหว่างผปู้ กครอง ครูและครกู ารศึกษาพิเศษทมี่ ีประสบการณ์กับเด็กสมาธิส้ัน โดยรวบรวม ลักษณะอาการที่พบได้บ่อย ปัญหาพฤติกรรมรวมถึงแนวทางการดูแลแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีง่ายต่อการปฏิบัติ จริง ชือ่ หนงั สือ คู่มอื ครสู าหรับชว่ ยเหลือนักเรียนที่มปี ัญหาสุขภาพจติ ผู้เขยี น สถาบันราชานกุ ูล ปีทพี่ มิ พ์ พ.ศ. 2551 รายละเอยี ด: เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการในเด็กช่วงวัยรุ่นมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อ บคุ ลกิ ภาพในชว่ งวยั ผใู้ หญ่ ความสามารถตระหนักรูต้ นเอง ภาคภูมิใจในตนเอง สามารถจัดการกับอารมณ์ และ ความเครียดได้ดี สร้างสัมพันธภาพท่ีเหมาะสมกับบุคคลอ่ืน และพัฒนาศักยภาพในการแก้ปัญหา อยู่ใน สถานการณ์ทางสงั คมท่มี ีปัญหาได้อย่างเป็นสุขและมคี วามสาเรจ็ ในชีวิต

บรรณานุกรม กรมสามัญศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). ชุดเอกสารศึกษาดว้ ยตนเอง วชิ า การศึกษาพเิศษิ เรอ่ื งการจัดการศิึกษาสาหรับบุคคลท่ีมปี ัญหาทางพฤตกรรมหรอื อารมณ์ เล่มที่ 10 : กรงุ เทพฯ. . (2550). ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง วชา การศึกษาพเิศษิ การจัดการศกึิ ษาสาหรับบุคคลสมาธสั้น เล่มที่ 17: กรุงเทพฯ. กระทรวงศึกษาธิการ. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธการิฉบบั ทิี่ 11. พ.ศ.2555-2559. กองการศึกษาเพอ่ื คนพิการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2535). คมู่ ือครสู าหรบั ผทู้ ่ีมีความบกพรอ่ ง ทางสตปญั ญาระดับประถมศึกษา. ม.ป.ท. คณติ เวชสุนทรเทพ. (2539). รายงานการศึกษาค้นคว้าิความรู้เรือ่ งภาวะปัญญาออ่ นิร่นุ ท่ี 15. (เอกสารอัดสาเนาเป็นเล่ม) . ทัศนีย์ จันทนะกูล. (2539). รายงานการอบรมครูิการศึิกษาพิเศษเพ่ืิอรัิบวุิฒิบิัตร เร่ือง เดิกท่ิีมีิปัิญหาิ ทางพฤตกรรมในสถานสงเคราะห์ิ.ม.ป.ท. ประเสริฐ ตันสกลุ .( 2556). เฮเดน,ทอร่ี ร้ิอยประเมนหรอื จะสู้ิ...ครคู นหน่ึง. กรงุ เทพฯ: แปลนสารา. ผดุง อารยะวิญญู. (2536). การศกึิ ษาสาหรับเดกที่มคีิ วามต้องการพเศษ . กรงุ เทพฯ. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : ราชกจจานเุ บกษา เลม่ ที่ 116 ตอนที่ 74 ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545 : ราชกจจานุเบกษา เลม่ ที่ 119 ตอนท่ี 128 ก. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอานาจกั รไทย พ.ศ. 2550 : ราชกจจานุเบกษา เล่มท่ี 124 ตอนที่ 47 ก. ศรีเรอื น แก้วกงั วาน. (2545). จตวิทยาเดกทีม่ ลี กั ษณะพิเศษ.กรงุ เทพฯ : หมอชาวบ้าน. สุขพัชรา ซ้ิมเจริญ. (2542). คมู่ ืิอการเรยี นร่วมสาหรับครูแกนนาทส่ี รา้ งนักเรยี นเรียนร่วมกับิ เดิก ทมี่ คิี วามบกพร่องทางสตปญั ญา . กรุงเทพฯ . . (2536). การจดั การศิึกษาพเิศษ การจัดการศึกษาแบบเรยี นร่วม . กรุงเทพฯ. สมโรจน์ เอ่ียมสุภาษิต. (2549). ทฤษฎีและเทคนคการปรับพฤตกรรม. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. หนว่ ยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา. (2535). หลกั สตู รพเศษการประเมนเทคนคการสอน เชงพฤตกรรม. กรุงเทพฯ. Torey L. Hayden.(1981). One Child, Avon Books : New York . (USA Paper Back). Walker, et.al.,(1983). Exceptional Lives : Special Education in Today’s Schools.

แบบทดสอบทา้ ยบท ชุดเอกสารศกึ ษาด้วยตนเอง วชิ าความรพู้ ื้นฐานด้านการจดั การศึกษาสาหรบั คนพกิ ารหรือผู้เรยี นที่มีความต้องการจาเปน็ พิเศษ เลม่ 13 การจัดการศึกษาสาหรับบคุ คลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ 1. ลักษณะพฤติกรรม ทารุณสัตว์ ชกต่อย ทาร้ายร่างกายตนเองและผู้อ่ืน จัดอยู่ในกลุ่มพฤติกรรมใดในลักษณะ ของบุคคลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ ก. การก้าวร้าว – กอ่ กวน ข. การหนสี ังคม ค. ความผดิ ปกติในการเรยี น ง. ความวติ กกังวลและปมด้อย 2. ลักษณะพฤติกรรมไม่กล้าพูดไม่กล้าแสดงออกในช้ันเรียน บางคนมีความประหม่าอย่างเห็นได้ชัดเมื่อ จาเป็นต้องออกไปรายงานหน้าช้ันเรียน จัดอยู่ในกลุ่มพฤติกรรมใดในลักษณะของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทาง พฤตกิ รรมหรืออารมณ์ ก. การกา้ วรา้ ว – กอ่ กวน ข. การหนีสงั คม ค. ความผิดปกตใิ นการเรยี น ง. ความวติ กกังวลและปมด้อย 3. ลักษณะพฤติกรรม ไม่พูดคุย ไม่เล่นกับเพ่ือน ไม่ร่วมกิจกรรมที่ทางโรงเรียนจัดข้ึน ขาดความเช่ือม่ันในตนเอง จดั อยู่ในกลุ่มพฤตกิ รรมใดในลกั ษณะของบคุ คลทีม่ ีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ ก. การกา้ วร้าว – กอ่ กวน ข. การหนสี งั คม ค. ความผิดปกติในการเรยี น ง. ความวิตกกังวลและปมดอ้ ย 4. ข้อใดคอื สาเหตทุ ี่จะทาใหบ้ คุ คลมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ก. สภาพครอบครัวแตกแยก ข. ไมส่ ามารถปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับสังคมได้ ค. การถกู ทอดทิ้ง ง. ถกู ทกุ ข้อ 5. เด็กชายสุดหล่อ พ่อรวย แสดงพฤติกรรมคว่าโต๊ะเรียนในห้องจนโต๊ะระเกะระกะเต็มไปหมด ครูจึงส่ังให้ เด็กชายสุดหล่อ พ่อรวย จัดโต๊ะให้เป็นระเบียบเหมือนเดิม ย่ิงไปกว่านั้นครูยังสั่งให้ทาความสะอาดโต๊ะทุกตัวอีก ดว้ ย วธิ ปี รับพฤติกรรมทคี่ รใู ช้เปน็ วธิ ีการวิธีใด ก. แรงเสรมิ เชิงลบ (Negative Reinforcement) ข. การลงโทษ (Punishment) ค. การแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งเกินกว่าท่ีทาผดิ (Overcorrection) ง. การหยุดยัง้ (Extinction)

6. เด็กชายรูปงาม นามเพราะ มีพฤติกรรมชอบลุกออกจากที่นั่ง ครูแสดงอาการไม่สนใจแต่เม่ือเด็กน่ังเรียบร้อย ครูจะใหค้ าชม วิธีปรบั พฤตกิ รรมท่คี รูใชเ้ ป็นวิธกี ารใด ก. แรงเสริมเชงิ บวก (Positive Reinforcement) ข. การหยดุ ย้ัง (Extinction) ค. เบี้ยอรรถกร (Token Economy) ง. การหล่อหลอมพฤติกรรม (Shaping) 7. เด็กหญิงน้าใส ใจจริง ทางานส่งทันตามเวลาท่ีกาหนด ครูให้สติ๊กเกอร์ดาว ๑ ดวง เละเม่ือเด็กหญิงน้าใส ใจ จริงน่ังเรียนจนจบคาบโดยไม่ลุกออกจากโต๊ะ ครูให้สต๊ิกเกอร์ดาวเพ่ิมอีก ๑ ดวง วิธีปรับพฤติกรรมที่ครูใช้เป็น วิธีการใด ก. แรงเสรมิ เชิงบวก (Positive Reinforcement) ข. การทาสญั ญากับเด็ก (Behavioral Contract) ค. การเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี (Modeling) ง. เบ้ยี อรรถกร (Token Economy) 8. ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในช้นั เรียน ครูชมนักเรียนท่ีต้ังใจฟังครู ส่วนเด็กที่คุยกันนั้นครูไม่ตาหนิแต่ ครูจะแสดงอาการไมส่ นใจ การเลือกชมเฉพาะพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ เปน็ การปรับพฤตกิ รรมดว้ ยวธิ กี ารใด ก. การเปน็ แบบอย่างทด่ี ี (Modeling) ข. การหล่อหลอมพฤติกรรม (Shaping) ค. การหยดุ ย้งั (Extinction) ง. การทาสญั ญากับเด็ก (Behavioral Contract) 9. การจดั การเรียนการสอนสาหรับบุคลทีค่ วามบกพร่องพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ควรจดั ในลกั ษณะใด ก. จดั ให้เรียนในชน้ั เรยี นพเิ ศษและได้รับความชว่ ยเหลอื เพิม่ เติมในด้านปรับพฤติกรรม ข. จดั ให้เรียนในช้ันเรียนพิเศษในโรงเรียนปกติ โดยให้เด็กมีโอกาสไปเรียนร่วมกับเด็กปกติในชั้นปกติใน บางเวลา ค. จัดให้ครูการศึกษาพิเศษไปสอนตามบ้าน ง. ถูกทุกขอ้ 10. พฤตกิ รรมใดไมจ่ ัดอยู่ในกลุ่มลกั ษณะพฤติกรรม ก้าวร้าวก่อกวนเปน็ อันตรายแก่ตนเองและผ้อู ่ืน ก. ประทุษร้ายทางเพศ ข. ข่มขู่ คกุ คาม หวีดรอ้ ง กระทืบเทา้ ค. กอ่ กวนเพือ่ ง. โหดรา้ ยทารณุ รงั แกสตั ว์

11. พฤติกรรมใดไม่จัดอยู่ในกลุ่มลักษณะพฤติกรรม มีปัญหาปรับตัวทางสังคม มีการฝ่าฝืนกฎเกณฑ์ท่ีเป็นท่ี ยอมรบั ของสังคม ก. ทาลายสาธารณสมบตั ิ ข. ลกั ขโมย ค. ชกตอ่ ย ทาร้ายร่างกายตนเองและผู้อน่ื ง. ไม่เคารพ ไมเ่ ชอ่ื ฟัง ครแู ละพ่อแม่ ผ้ปู กครองอย่างรนุ แรง 12. พฤติกรรมใดไมจ่ ัดอยใู่ นกลุม่ ลกั ษณะพฤติกรรม มีความร้สู กึ วติ กกงั วลและปมดอ้ ย อย่างรนุ แรงสม่าเสมอ ก. ไม่กลา้ พดู ไมก่ ล้าแสดงออก ข. แยกตัวอยคู่ นเดียว ทางานคนเดยี วตลอดเวลา ค. เจ็บป่วยทางการเมอื่ มาโรงเรยี น ง. มอี าการประหม่าอย่างมากเมอ่ื ให้ออกไปแสดง เช่น รายงาน 13. เมื่อใช้แบบคัดกรองแล้วพบว่าเด็กมีลักษณะหรือพฤติกรรมท่ีตรงกับลักษณะหรือพฤติกรรมน้ันๆต้ังแต่กี่ข้อข้ึน ไป แสดงวา่ มีแนวโน้มทจ่ี ะเปน็ บุคคลทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ ก. ๑ ใน ๕ ข้อ และตอบใช่ ๑ ข้อยอ่ ยในขอ้ ใดหน่งึ ข. ๑ ใน ๕ ข้อ และตอบใช่ ๒ ขอ้ ย่อยในข้อใดหนง่ึ ค. ๒ ใน ๕ ขอ้ และตอบใช่ ๓ ขอ้ ยอ่ ยในข้อใดหนึ่ง ง. ๓ ใน ๕ ข้อ และตอบใช่ ๒ ขอ้ ย่อยในขอ้ ใดหน่ึง 14. ข้อใดเป็นการจัดส่ิงแวดล้อมในห้องเรียนท่ีไม่เหมาะสมกับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรือ อารมณ์ ก. จัดใหเ้ ด็กนงั่ ใกลโ้ ต๊ะครูให้ครมู ีโอกาสไดร้ บั รวู้ ่าเดก็ ทาอะไร ข. สงิ่ ท่ีทาใหเ้ ด็กไขวเ้ ขวควรมีน้อยทีส่ ุด เชน่ พดั ลม หนา้ ตา่ ง หรือประตูท่ีเปดิ บ่อยๆ ค. จัดใหเ้ ดก็ อยู่กบั นกั เรียนอน่ื หลายคนที่เปน็ แบบอย่างท่ีดี ง. จดั ใหเ้ ด็กทางานร่วมกับเพ่อื นทม่ี ีปญั หาพฤติกรรมเหมือนกนั 15. วธิ ีการสง่ เสรมิ พฤติกรรของบคุ คล เพื่อให้บคุ คลแสดงพฤติกรรมที่พงึ ประสงคซ์ า้ อีก เมอ่ื ได้รับคาชมหรือ รางวลั เรียกวา่ ก. การเสรมิ แรงทางบวก ข. การเสริมแรงทางลบ ค. เบยี้ อรรถกร ง. การหล่อหลอมพฤติกรรม

16. การแตกงานออกเปน็ ขน้ั ตอนเล็กๆ ทเี่ ด็กสามารถกระทาไดส้ าเรจ็ ซ่ึงแตล่ ะข้นั ตอนของงานจะนาไปสู่ พฤติกรรมอนั พึงประสงค์ เรียกวา่ ก. การวิเคราะห์งาน ข. การกระตนุ้ เตอื น ค. การใหแ้ รงเสริม ง. การทาสญั ญากับเด็ก 17. ขอ้ ใดจดั เปน็ สือ่ ที่ไมเ่ หมาะสมกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ก. ส่ือของจริง สื่อธรรมชาติ ข. สื่อที่ผเู้ รียนไม่คนุ้ เคย พบเหน็ บ่อย ข. ส่อื ท่ีเป็นนามธรรม ง. สือ่ ท่มี คี วามปลอดภัยต่อตัวผู้เรียน 18. ข้อใดไมใ่ ช่ความต้องการพิเศษของบคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ ก. การเป็นทยี่ อมรบั ในกลมุ่ เพื่อนฝูง ข. การไดร้ บั ความยกย่องวา่ เป็นคนมคี วามสามารถ ค. การมคี นคอยควบคุมดแู ลตลอดเวลา ง. การไดร้ ับความรักและเป็นผใู้ ห้ความรัก 19. ข้อใดไมใ่ ช่กล่มุ โรคที่มโี อกาสพบในบุคคลท่ีมคี วามบกพร่องทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ ก. โรคซมึ เศร้า ข. โรคสมองเสอ่ื ม ค. โรคจิตเภท ง. โรคสมองพิการ 20. ข้อใดไม่ใช่อาการของโรคสมาธสิ ้นั ก. รอคอยไม่เปน็ ข. ซุกซนมากกว่าปกติ ค. ควบคมุ ตนเองให้อยใู่ นกฎกติกาได้ ง. วอกแวกงา่ ย

เฉลยแบบทดสอบทา้ ยบท ข้อ 1 ก. ขอ้ 11 ค. ขอ้ 2 ง. ข้อ 12 ข. ข้อ 3 ข. ข้อ 13 ข. ขอ้ 4 ง. ขอ้ 14 ง. ข้อ 5 ค. ข้อ 15 ก. ข้อ 6 ข. ข้อ 16 ก. ขอ้ 7 ง. ขอ้ 17 ข. ขอ้ 8 ข. ขอ้ 18 ค. ขอ้ 9 ง. ขอ้ 19 ง. ข้อ 10 ก. ข้อ 20 ค.

แบบเขียนสะท้อนคิด (Reflection Paper) ----------------------------------------- คำชแี้ จง : โปรดใชค้ ำถำมต่อไปนใี้ นกำรเขียนสะท้อนคดิ จำกกำรศึกษำดว้ ยตนเอง ไมเ่ กิน 2 หนำ้ กระดำษ 1. ทำ่ นได้ทรำบอะไรจำกกำรศกึ ษำชดุ เอกสำรศึกษำด้วยตนเองฉบบั น้ี? 2. หำกทำ่ นไดร้ ับผดิ ชอบจัดกำรเรียนกำรสอนแก่บุคคลทมี่ ีควำมบกพรอ่ งทำงพฤติกรรมหรืออำรมณ์ ในห้องเรียน ท่ำนจะนำควำมรู้ท่ีได้ ไปประยุกต์ใชอ้ ย่ำงไร 3. ท่ำนเคยมีประสบกำรณ์หรือมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ยี วกับกำรจัดกำรศกึ ษำสำหรบั บุคคลทมี่ คี วำม บกพร่องทำงพฤติกรรมหรืออำรมณ์ อยำ่ งไร 4. ทำ่ นวำงแผนจะนำควำมรู้เกย่ี วกบั กำรจัดกำรศึกษำสำหรับบคุ คลท่มี ีควำมบกพร่องทำงพฤติกรรม หรอื อำรมณ์ ไปปฏิบัติอย่ำงไร ในอนำคต

ภาคผนวก