Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม 15 การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลพิการซ้อน

เล่ม 15 การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลพิการซ้อน

Published by boonsong kanankang, 2019-10-05 16:40:53

Description: การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลพิการซ้อน

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 7 การจดั สภาพแวดลอ้ มเพื่อส่งเสริมการเขา้ ถงึ และใช้ประโยชน์ จากคาจากัดความบุคคลพิการซ้อน คือ บุคคลทีมีลักษณะความพิการมากกว่าหนึ่งความพิการเกิดข้ึน พร้อมกัน เช่น มีความบกพร่องทางสติปัญญา-ตาบอด บกพร่องทางสติปัญญา-บกพร่องทางร่างกาย ซึ่งการ เกดิ ขน้ึ พรอ้ มกนั ของความพิการนี้ได้ส่งผลต่อการเรียนรู้และการดารงชีวิตของคนพิการซ้อนอย่างรุนแรง ดังน้ัน การจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อให้บุคคลพิการซ้อนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ จึงเป็นสิ่งท่ีควรพิจารณา ตั้งแต่เริ่มต้นของการออกแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้และสภาพแวดล้อมท่ีเก่ียวของกับการ ดารงชวี ิตของแต่ละบคุ คล การออกแบบเพื่อให้ทุกคนสามารถเขา้ ถึงและใชป้ ระโยชน์ได้ (Universal Designed: UD) การออกแบบเพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ (UD) เป็นแนวทางสาหรับการ ออกแบบ สภาพแวดลอ้ มและผลิตภัณฑ์ที่ทกุ กลุ่มคนสามารถใช้ประโยชน์ได้โดยไม่ต้องมีการปรับหรือ ดัดแปลง รวมท้ัง วิธกี ารเขา้ ถึงแนวความคดิ และการเรียนร้เู ต็มศกั ยภาพสาหรบั นกั เรียนทุกคน ประวตั แิ ละการก่อเกดิ ของ UD ในการศกึ ษา แนวคิดของ UD มีต้นกาเนิดมาจากสาขาสถาปัตยกรรม สถาปนิกได้พยายามคิดค้นการออกแบบ อาคารและพ้ืนท่ีให้มีลักษณะทางกายภาพที่ทุกคนเข้าถึงได้รวมเข้าไว้ในการออกแบบของตน เช่น มีทางลาด สาหรับเก้าอี้ล้อเข็น ทางเดินท่ีมีทางลาดขึ้นลง ประตูอัตโนมัติ เป็นต้น กลุ่มสถาปนิกค้น พบว่า การนาความ ต้องการจาเป็นของกลุ่มคนที่หลากหลายเข้ามาสู่การพิจารณาในเบื้องต้นของการออกแบบจะช่วยให้ช้ินงาน ท่ีได้มีลักษณะของ UD กล่าวคือ สะดวกต่อการใช้งานและมีประโยชน์สาหรับทุกคนท้ังบุคคลพิการและผู้ท่ีมี ร่างกายปกติ (Orkwis and McClain, 1999) ตัวอย่าง การปรับขอบทางเท้าให้มีทางลาดโดยมีเปาหมายให้ ผู้ท่ีใช้เก้าอี้ล้อเข็นเดินทางได้สะดวกแล้ว ยังช่วยให้ผู้ที่ขับข่ีจักรยาน หรือคุณแม่ที่เข็นรถเด็กอ่อนไปตาม ทางเท้าได้สะดวกด้วยเชน่ กนั กว่า 20 ปีท่ีผ่านมา นักการศึกษาได้เริ่มนาแนวคิดเกี่ยวกับ UD เข้ามาประยุกต์ใช้ในโรงเรียนและ ช้นั เรยี น เพื่อเป็นหลักประกันไดว้ ่าการเรยี นการสอน ส่อื ส่ิงอานวยความสะดวก สภาพแวดล้อมทางการ ศึกษา

ตรงกับความต้องการจาเป็นท่ีหลากหลายของนักเรียนทุกคน กุญแจสาคัญของ UD ประกอบด้วย ความ คลอ่ งตวั /ยดื หยุ่นในการใชง้ าน (Flexibility) และการปรับ/ดดั แปลง (Adaptation) ตรงกับความ จาเป็นเฉพาะ และคุณลักษณะของแต่ละคน โดยพ้ืนฐานแล้ว UD สาหรับการศึกษา เป็นหลักประกันว่านักเรียนทุกคนมี ทางเลอื กในการเรียนรู้จากสื่อ และการเรียนการสอนเหมาะสมกับความสามารถและรูปแบบการเรียนรู้ของแต่ ละคนในแตล่ ะสถานการณ์ และส่ิงอานวยความสะดวกที่เออ้ื ตอ่ ความจาเปน็ ท่ีหลากหลายของนักเรยี น Center for Universal Design at North Carolina State University และ Center for Applied Special Technology (CAST) เป็นองค์การท่ีนาด้านแนวคิดของ UD มาประยุกต์ใช้ทางการศึกษา โดย Center for Universal Design ได้พัฒนาหลักการพื้นฐาน 7 ประการ สาหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์และ สภาพแวดล้อมท่ีมีลักษณะของ UD ในลักษณะของหลักการมิได้ช้ีเฉพาะด้านการศึกษา แต่นักวิจัย ทางการศึกษาและผู้ปฏิบัติได้นาหลักการดังกล่าวมาใช้เป็นพื้นฐานสาหรับการนา UD มาใช้ในสถานศึกษา หลกั การดงั กลา่ วประกอบดว้ ยดงั น้ี 1. ความเท่าเทียม (Equitable) เพื่อให้แน่ใจว่าการออกแบบน้ันใช้ประโยชน์ได้และเป็นท่ีต้องการ สาหรบั ทกุ คนในทกุ ระดบั ความสามารถ 2. ความคล่องตัว/ยืดหยุ่นในการใช้งาน (Flexibility) การใช้งานเพ่ือตอบสนองต่อความพึงพอใจและ ความสามารถที่แตกตา่ งหลากหลายของผูใ้ ช้ 3. ใช้งานได้ไม่ซับซ้อนและเข้าใจง่าย (Simple and Intuitive) การใช้ผลิตภัณฑ์หรือสภาพแวดล้อม นั้นง่ายต่อการทาความเขา้ ใจ 4. เป็นข้อมูลท่ีรับรู้หรือเข้าใจได้ (Perceptible Information) ข้อมูลน้ันต้องส่ือสารอย่างได้ผลโดย ไมจ่ ากัดอยู่ท่ปี ระสาทการรับร้หู รือความสามารถทางกายร่างกายของผใู้ ช้ 5. ความผิดพลาดที่ยอมได้ (Tolerance for Error) ช่วยลดผลกระทบของส่ิงที่เกิดโดยบังเอิญ หรือ การกระทาทไี่ ม่ไดต้ ้งั ใจ 6. การออกแบบท่ีใช้แรงกายเพียงเล็กน้อย (Low Physical Effort) การใช้ผลิตภัณฑ์ และ สภาพแวดลอ้ มใช้ได้อยา่ งสะดวกสบาย โดยใชพ้ ลงั กายเพยี งเล็กนอ้ ย 7. การออกแบบขนาดและพื้นท่ีสาหรับการเข้าไปใช้งาน (Size and Space for Approach) คือ การ ช่วยในการเข้าถึงการบริการ โดยท่ีขนาดร่างกาย ลักษณะท่าทาง หรือความสามารถในการเคลื่อนไหว ไมเ่ ป็นข้อจากดั ในการเขา้ ถึง/ใช้ผลติ ภณั ฑ์และสภาพแวดลอ้ ม สานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ (พก. 2555) กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ และหน่วยปฏิบัติการวิจัยสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับผู้สูงอายุและคนพิการ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จดั ทาข้อมูล “ตวั อย่างท่ีดีในการจัดสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการและคน ทุกวัย” ข้ึน เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและกระตุ้นให้หน่วยงาน/องค์การทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานประกอบการ จัดทาสิ่งอานวยความสะดวกให้คนพิการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ตามสิทธิท่ีกฎหมายกาหนดตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 ท่ีกาหนดให้คนพิการมีสิทธิเข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้ และเพื่อให้สิ่งอานวยความสะดวกในอาคารสถานที่ท่ีหน่วยงานท้ังภาครัฐและภาคเอกชน

สถานประกอบการ ได้จัดให้คนพิการสามารถใช้ประโยชน์และเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ทาให้คนพิการมีคุณภาพชีวติ ดีข้ึน โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี ทางลาด 1. จัดให้มีทางลาดเข้าสู่อาคารโดยมีขนาดความกว้างเท่ากับประตูและต้องกว้างมากกว่า 90 เซนติเมตร วัสดุ พ้ืนผิวและความชันท่ีเหมาะสม และปลอดภัยพื้นผิวของจุดต่อเน่ืองระหว่างพื้นกับทางลาดต้องเรียบ ไม่สะดุด 2. ระดบั พื้นหา่ งกันไม่เกิน 2 เซนติเมตร ต้องมกี ารปาดมมุ พื้นทสี่ ่วนต่างระดับกนั ไม่เกิน 45 องศา 3. มรี าวจบั ทาด้วยวสั ดเุ รยี บ มนั่ คง ไมล่ ่ืน ตดิ ตั้งบริเวณทางลาด 4. พื้นผวิ วสั ดไุ มล่ ่นื และไม่มรี ่องและตะแกรงระบายนา้ ไม่มกี ารเซาะรอ่ งที่พ้ืน 5. ความชนั ไม่เกิน 1:12 คือความสงู ตอ่ ความยาว (5 องศา) 6. ทางลาดมคี วามยาวโดยรวมไม่เกิน 600 เซนตเิ มตร ต้องมคี วามกวา้ งไม่น้อยกวา่ 90 เซนตเิ มตร 7. ปลายทางลาดต้องทาดว้ ยคอนกรีตเสรมิ เหล็กตรงจุดเริ่มต้นและจดุ ส้นิ สดุ ทางลาดตอ้ งมสี ภาพดี เชอื่ มตอ่ กบั พ้นื เดิมระยะทางยาว 150 เซนตเิ มตรทางลาดชั่วคราวท่ที าจากเหล็ก ความยาวไมค่ วรเกนิ 180 เซนติเมตร กว้างไม่น้อยกวา่ 90 เซนติเมตรท่มี ีความม่ันคงปลอดภยั 8. ถ้าทางลาดยาวตง้ั แต่ 250 เซนตเิ มตรข้นึ ไป ต้องมีราวจบั ท้งั 2 ขา้ ง 9. ทางลาดมีความยาวทุกชว่ งรวมกันตั้งแต่ 600 เซนตเิ มตร ขนึ้ ไป ตอ้ งมีความกวา้ งไม่นอ้ ยกวา่ 150 เซนตเิ มตร 10. ในกรณีท่ีทางลาดยาวเกิน 600 เซนติเมตร ทางลาดท่ีมีการเปลี่ยนทิศทาง 90 องศา และ เปล่ียน ทศิ ทาง 180 องศา ต้องจัดให้มีชานพักกว้างไมน่ ้อยกวา่ 150 เซนติเมตร 11. ทางลาดทไ่ี ม่มผี นงั ก้ัน ต้องมีราวหรือยกขอบ ไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตรขอบทางลาดไม่มีร่อง และ ตะแกรงระบายนา้ ห้องน้า หอ้ งสว้ ม 1. หอ้ งส้วมอยู่ในตาแหน่งที่สามารถเข้าถึงไดส้ ะดวก 2. มีห้องส้วมคนพกิ ารทจี่ ัดให้คนพกิ ารสามารถใช้ได้และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน อยู่ระหว่างกลางเพิ่ม จากหอ้ งสว้ มสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป 3. หากมหี อ้ งส้วมสาหรบั คนทั่วไปมากกวา่ 1 จุด ทกุ จุดที่มหี อ้ งส้วมสาหรับคนทั่วไป มีห้องส้วมสาหรับ คนพิการอย่างนอ้ ย 1 ห้อง 4. ห้องส้วมคนพิการควรมีประตใู กล้ทางเข้าออก (ถา้ เปน็ ไปไดค้ วรแยกชายหญิงอย่างละหอ้ ง) 5. วสั ดุปูพนื้ ผวิ ไม่ล่นื 6. พ้ืนทีว่ า่ งภายในมีเส้นผ่านศูนยก์ ลางไม่น้อยกว่า 150 เซนตเิ มตร 7. ไมม่ นี ้าขังบนพื้น โดยพนื้ ห้องน้าต้องมีความลาดเอยี งเพียงพอไปยังช่องระบายน้าทิง้ 8. พื้นห้องส้วมมรี ะดับเสมอพ้ืนภายนอก ถา้ เป็นพื้นต่างระดับต้องมลี ักษณะเป็นทางลาด

ประตูหอ้ งนา้ -ห้องส้วม 9. ประตูที่เหมาะสมท่ีสุด คือ ประตูบานเลื่อน หากเป็นบานเปิด ควรจัดให้อยู่ในลักษณะเปิดออกสู่ ทางด้านนอก ท้ังนี้ในขณะที่ประตูห้องน้าเปิดออกเต็มท่ีต้องเปิดค้างได้ไม่น้อยกว่า 90 องศา และไม่ควรติดตั้ง ตวั ปิดประตูอัตโนมัติ (โชค้ อพั ประตู) 10. ช่องประตูควรมีความกว้างอย่างน้อย 90 เซนติเมตร พร้อมมือจับแบบก้านโยกท่ีใช้งานสะดวกใน กรณีท่ีมีธรณีประตู ความสูงของธรณีประตูต้องสูงไม่เกิน 2 เซนติเมตรและให้ขอบท้ังสองด้านมีความลาดเอียง 1 : 2 เพ่อื ให้เก้าอีเ้ ข็นคนพกิ าร (Wheelchair) หรอื คนพิการทใ่ี ช้อปุ กรณช์ ว่ ยเดนิ สามารถข้ามไดส้ ะดวก 11. ควรจะมีมือจบั ประตูทั้งภายในและภายนอกห้อง เพ่อื ใหก้ ารเปิดปดิ ประตสู ะดวก 12. ไมค่ วรมสี ิ่งของกีดขวางอยู่ในบริเวณ 75 เซนตเิ มตร จากระยะทีป่ ระตูเปิด 13. ประตูควรล็อคหรือใสก่ ลอนได้จากภายใน แต่ก็สามารถปลดได้จากภายนอกในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน ติดต้ังสูงจากพ้ืนไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร แต่ไม่เกิน 90 เซนติเมตร และอยู่ถัดจากบานพับประตู 13 เซนติเมตร 14. ประตหู ้องน้าเปิดใชไ้ ด้โดยไมม่ ีการปดิ ล็อค อุปกรณ์เปิดปิดประตู 15. อุปกรณ์เปิดปดิ ประตู เป็นชนดิ กา้ นบดิ หรือแกนผลกั อยู่สงู จากพืน้ ไม่น้อยกว่า 100 เซนติเมตร แต่ ไม่เกิน 120 เซนติเมตร มีมือจับท่ีมีขนาดเท่ากับราวจับมาตรฐาน ในแนวด่ิงทั้งด้านในและด้านนอกของประตู ซึ่งมีปลายบนสุดสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 100 เซนติเมตร และปลายด้านล่างไม่เกิน 80 เซนติเมตร ในกรณีท่ีเป็นประตูบานเปิดออก ให้มีราวจับตามแนวนอนด้านในประตูมีความยาวอย่างน้อย 60 เซนติเมตร และในกรณีท่ีเป็นประตูบานเปิดเข้า ให้มีราวจับตามแนวนอนด้านนอกประตู มีความยาวอย่างน้อย 14 เซนติเมตร ติดอยู่ในตาแหน่งใกล้กับกลอนประตู ราวจับดังกล่าวให้สูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร แตไ่ ม่เกิน 90 เซนตเิ มตร ยาวไปตามความกว้างของประตู อา่ งล้างมอื 16. ควรมพี ื้นทห่ี น้าอ่างล้างมอื อยา่ งน้อย 90 x 120 เซนติเมตร เพอ่ื การเข้าถึงไดโ้ ดยไมม่ สี ่งิ กีดขวาง 17. อ่างล้างมือ มีความสูงจากพื้นถึงขอบบนของอ่าง ไม่น้อยกว่า 75 เซนติเมตร แต่ไม่เกิน 80 เซนตเิ มตร 18. มรี าวจับในแนวนอนแบบพบั เก็บได้ในแนวด่ิงทง้ั สองขา้ งของอา่ ง 19. ระยะห่างจากเส้นผ่านศูนย์กลางของอ่างล้างมือกับกาแพงด้านข้าง ควรจะไม่น้อยกว่า 45 เซนตเิ มตร ตาแหน่งท่ีต้ังของอ่างลา้ งมือ อาจตดิ ตงั้ ขอบอา่ งล้างมือใหห้ ่างออกมาจากกาแพงได้ในระยะระหว่าง 15 - 20 เซนติเมตร 20. ใต้อ่างควรเป็นท่ีว่าง (Knee clearance) สูงอย่างน้อย 55 เซนติเมตร สาหรับผู้ท่ีใช้เก้าอ้ีเข็น คน พิการ (Wheelchair) สามารถเข้าถึงได้เน้ือที่ใต้อ่างสาหรับผู้ใช้เก้าอ้ีเข็นคนพิการ และอุปกรณ์ส่วนเกิน ใด ๆ เช่น ท่อนา้ ควรมีการห่อหุ้มเพอ่ื ปองกันการจบั แตะไม่ควรมชี ้ันวางของอยู่เหนืออ่างลา้ งมือ

21. มีกระจกแผ่นยาว สามารถมองเห็นเต็มตัวมีกระจกบริเวณอ่างล้างมือ โดยขอบล่างของกระจก สูง ไมเ่ กนิ 100 เซนติเมตร 22. ก๊อกน้าเป็นชนิดก้านโยก หรือก้านกด หรือก้านหมุน หรือระบบอัตโนมัติช่องว่างระหว่างก๊อกน้า กับผนัง หรือกาแพงไม่ควรจะน้อยกว่า 3.5 เซนติเมตร ช่องว่างระหว่างก๊อกน้า สองก๊อกไม่ควรจะน้อยกว่า 20 เซนตเิ มตร โถส้วมและราวจับ 23. โถสว้ มชนิดนง่ั ราบ สงู จากพ้นื 45-50 เซนตเิ มตร และมพี นกั พงิ ท่มี ั่นคง 24. ราวจับบริเวณชักโครก ย่ืนลา้ ออกมาจากด้านหน้าโถส้วมไม่นอ้ ยกว่า 25-30 เซนตเิ มตร 25. ราวจับบรเิ วณชกั โครกแนวนอน สูงจากพ้ืน 65-70 เซนตเิ มตร และแนวดง่ิ มคี วามยาวไมน่ อ้ ย กว่า 60 เซนติเมตร 26. ระยะกึ่งกลางของโถส้วมหา่ งจากผนงั 45-50 เซนติเมตร 27. ทปี่ ล่อยน้าโถส้วมเป็นแบบชนดิ คนั โยก หรือชนิดอื่นที่คนพิการใชง้ านไดส้ ะดวก 28. ราวจับแบบพับเก็บได้ ในกรณีที่ด้านข้างของโถส้วมทั้งสองด้านอยู่ห่างจากผนังเกิน 50 เซนติเมตร ต้องมีราวจับที่มีลักษณะติดผนังแบบพับเก็บได้ในแนวราบหรือแนวด่ิง เมื่อกางออกให้มี ระบบล๊อคท่ีคนพิการ หรือทุพพลภาพและคนชราสามารถปลดลอ็ กได้ง่าย มีระยะห่างจากขอบของโถส้วม ไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร แตไ่ มเ่ กิน 20 เซนตเิ มตรและมคี วามยาวไม่น้อยกว่า 55 เซนติเมตร 29. มีสายชาระหรอื ระบบฉีดน้าชาระอัตโนมตั ิ ใชง้ านไดแ้ ละสะดวก 30. ในกรณที ีเ่ ปน็ หอ้ งส้วมสาหรับผชู้ าย (ไม่แยกห้องสาหรบั ผูส้ ูงอายุและคนพิการ/ผู้สูงอายุ) จัดให้มีโถ ปัสสาวะชายทม่ี รี ะดบั เสมอพน้ื อยา่ งนอ้ ย 1 ที่ เพอ่ื ใหผ้ ู้ใช้ทกุ วยั สามารถใช้งานไดอ้ ยา่ งสะดวกยิง่ ขนึ้ 31. โถปสั สาวะชายมรี าวจับดา้ นขา้ งท้งั สองข้างสงู ไมน่ ้อยกว่า 80 เซนติเมตรแตไ่ ม่เกิน 100 เซนติเมตร ยน่ื ออกมาจากผนังไมน่ ้อยกว่า 55 เซนติเมตร แตไ่ ม่เกนิ 60 เซนตเิ มตร 32. โถปัสสาวะชายมีราวจับในแนวนอนอยู่ด้านบน ยาวไม่น้อยกว่า 50-60 เซนติเมตร ติดต้ังสูงจาก พ้ืน 120-130 เซนติเมตร พื้นท่ีหน้าโถปัสสาวะควรมีท่ีว่างอย่างน้อย 90 x 120 เซนติเมตร เพื่อการเข้าถึง ดา้ นข้างทงั้ สองด้านของโถปัสสาวะควรเป็นที่โลง่ คนั กดชักนา้ ควรตดิ ตง้ั อยูท่ ี่ 110 เซนตเิ มตร เหนือพื้นราบหรือ อาจใช้ระบบอตั โนมัติ 33. ตดิ ตัง้ ระบบสัญญาณแสงและเสียงทีแ่ จ้งเหตจุ ากภายนอกสู่ภายใน 34. ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินขอความช่วยเหลือจากภายในสู่ภายนอกโดยต้องใช้งานได้ สะดวก สูงจากพ้นื 90 เซนตเิ มตร อปุ กรณ์เสริมต่างๆ 35. อุปกรณ์เสริมต่าง ๆ เช่น ที่ใส่สบู่ ผ้าเช็ดตัว ควรติดตั้งหรือวางอยู่ระดับความสูงไม่ต่ากว่า 120 เซนติเมตร จากพ้ืนควรจดั เตรียมกระดาษชาระไว้ โดยตดิ ต้ังทีใ่ สก่ ระดาษชาระใตห้ รอื เหนือราวจับ และจัดให้อยู่ สูงจากพ้ืนที่ระดับความสูงระหว่าง 55-120 เซนติเมตร ควรติดตั้งโทรศัพท์แบบมีสายยาวอย่างน้อย 150 เซนติเมตร ใกล้กับอ่างอาบนา้ หรอื ห้องอาบน้า และควรตัง้ อยใู่ นระดบั ความสูงระหว่าง 120 เซนติเมตร ถึง 180

เซนติเมตร จากพ้ืน เพอ่ื ความสะดวกในการใช้งาน 36. อุปกรณ์อานวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น ช้ันวางของควรอยู่ในระยะที่มือเอื้อมถึง ถังขยะควร จดั เตรยี มไว้เพ่ือใหส้ ามารถใชส้ อยและเปิดปิดฝาถังขยะได้อยา่ งสะดวก ทางเดินเชอ่ื ม 1. พน้ื ผวิ ทาจากวัสดไุ มล่ ่ืน 2. ไมม่ สี ิ่งกีดขวาง 3. มีความกวา้ ง ไม่น้อยกวา่ 150 เซนติเมตร 4. ต้องมีผนังหรือราวกันตกท้ัง 2 ด้าน หากมีร่องระบายน้าด้านข้างทางเดิน ต้องลึกไม่เกิน 2 เซนติเมตร กว้างไม่เกิน 5 เซนติเมตร และให้ขอบท้ังสองด้านของร่องระบายน้าด้านข้างทางเดิน มีความลาด เอียง 1: 2 5. อยูใ่ นระดับเดียวกับพน้ื ทีภ่ ายนอก 6. ถ้าเป็นทางลาด มคี วามชันไมเ่ กนิ 1: 12 7. หากมีฝาท่อระบายน้า ต้องมีขนาดรูช่องตระแกรงห่างไม่เกิน 1.3 เซนติเมตร หรือมีแผ่นโลหะปิด อยา่ งมนั่ คง 8. รชู ่องตระแกรงไมข่ นานแนวทางเดิน 9. ปายและสิง่ กีดขวางท่ีอยเู่ หนือทางเดนิ ตอ้ งสงู กวา่ พน้ื ทางเดนิ อย่างน้อย 200 เซนติเมตร 10. บริเวณทางแยกตอ้ งมพี ้นื ผวิ ต่างสัมผสั 11. กรณีท่ีมสี ่งิ กดี ขวางทจ่ี าเปน็ บนทางเดนิ มกี ารจัดให้อยู่ในแนวเดยี วกัน โดยไม่กีดขวางทางเดินและ จัดใหม้ พี ้นื ผิวตา่ งสัมผัส หรือมกี ารกั้นเพ่ือให้ทราบกอ่ นถึงสิ่งกีดขวาง อยหู่ ่างจากสิ่งกีดขวางไมน่ ้อยกว่า 30 เซนติเมตร ราวจบั 1. มีราวจับทาด้วยวสั ดุเรียบ มนั่ คง ไม่ลืน่ สภาพดีพร้อมใช้งานติดตั้งบริเวณที่เป็นอันตราย เช่น บันได ทางลาดและห้องน้า 2. ราวจบั มีความยาวต่อเนื่อง 3. มีลกั ษณะกลม เสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 3-4 เซนตเิ มตร 4. ติดต้ังห่างจากผนัง 5 เซนติเมตร สูงจากจุดยึด 12 เซนติเมตร ผนังที่ติดตั้งราวจับควรต้องเรียบ ไม่มีคม 5. ให้ใช้สที ่ีเด่นสาหรับราวจับเพื่อให้คนพิการทางการมองเหน็ ได้รับรู้อย่างชดั เจน 6. ราวจับสงู จากพน้ื 80 – 90 เซนตเิ มตร 7. ปลายราวจับ ยื่นจากจุดสิ้นสุด 30 เซนติเมตร ขนานกับพ้ืน จุดเริ่มต้นและส้ินสุดปลายราวจับต้อง เป็นปลายมน

การปรับสภาพแวดลอ้ มของบ้าน และชุมชน ความต้องการจาเป็นในการปรับสภาพแวดล้อมของบ้านจะขึ้นอยู่กับประเภทความพิการ ระดับความ รุนแรง อายุ และขนาดของบุคคลพิการ David Werner (1999) กล่าวว่า การปรับสาหรับคนตาบอดจะมีความ แตกต่างกับบุคคลท่ีเป็นอัมพาต และใช้เก้าอี้ล้อเข็น บุคคลพิการท่ีจาเป็นต้องพ่ึงพาผู้อ่ืน จาเป็นต้องได้รับ เคร่ืองช่วยความพิการและการปรับเพ่ือช่วยให้ครอบครัวสามารถช่วยเหลือดูแลและเคล่ือนท่ีให้เขาได้ โดยเฉพาะเม่ือบุคคลพิการเติบโตและมีน้าหนักมากข้ึน อย่างไรก็ตาม บุคคลพิการซ้อนบางคนสามารถดูและ ช่วยเหลือตนเองได้มาก อาจต้องการการปรับเพื่อช่วยให้เขาช่วยเหลือตนเองและทางานท่ีบ้านได้ง่ายข้ึน นอกจากน้ี ชนิดของการปรับยังขึ้นอยู่กับความเป็นอยู่ในชุมชน รูปแบบของบ้าน และประเพณีหรือวัฒนธรรม ของทอ้ งถน่ิ ตวั อยา่ ง

การปรบั สภาพแวดลอ้ มของบา้ นสาหรบั เดก็ ท่ีกาลงั หดั เดิน และฝึกการทรงตวั ราวจับทีม่ ลี กั ษณะเหมอื นบนั ได การติดเสาร์ทมี่ มุ โต๊ะ ช่วยให้เด็กสามารถดงึ ตนเองขึ้น ช่วยใหยนื ทีโ่ ต๊ะได้ ยนื ได้ บา้ นที่มพี ื้นเปน็ ดนิ อาจตดิ ตัง้ เก้าอีท้ ีม่ ีคานพาดระหว ง เสาเพ่ือใชเ้ ปน็ ที่วางราวจบ ขาทงั้ สีช่ ่วยใหเ้ ด็กปีนขึน้ สาหรบั เดนิ ในบ้านได้ ไปนง่ั บนเก้าอไี้ ด้ มา้ น่ังทมี่ ีคาดตดิ เช่อื มระหวา่ งขามาน่งั จะชว่ ยใหค้ นพกิ ารทางานในครัวไดง้ า่ ย การตดิ ต้ังส่ือ และปรบั สภาพแวดลอ้ มในครวั สาหรบั คนพกิ ารที่เคล่ือนท่โี ดยการใช้การคลาน หรือกลงิ้ ตวั การจดั วางเสื่อหรอื พรมจะช่วยปองกันการ บาดเจบ็ ทีห่ วั เขา่ ของคนพิการได้ และยงั ช่วยให้คนพิการดสู ะอาดถ้าพ้นื บา้ นเป็นพ้ืนดิน ตดิ ตงสวิตซ์ไฟฟา ใช้มอื เปดิ ประตทู ่เี ปดิ ปดิ ง่าย อยรู่ ะดบั ต่า สาหรับบคุ คลทมี่ ปี ญั หาในการ ควบคุมการเคล่ือนไหวของมือ ตดิ ตงมือเปดิ ประตใู นระดบั ต่าสาหรับ บุคคลพิการทเ่ี คล่ือนทโ่ี ดยการคลาน จดั วางเหยือกนา้ และถวยให้ ใกลก้ บั พ้นื สาหรบั บคุ คลพิการ ทเ่ี คลือ่ นทโ่ี ดยการคลาน

การปรับสภาพแวดล้อมในชุมชน ในหลายๆ หมู่บ้าน บุคคลพิการมีความยากลาบากในการเดินทางไปยังสถานท่ีต่าง ๆ ภายในชุมชน เน่ืองจากหมู่บ้านมีถนนที่ขรุขระเป็นก้อนหินหรือทราย นอกจากนี้ ร้านค้า โรงภาพยนตร์ วัด โรงเรียน หรือ สถานีอานามัยชุมชน ทางข้ึนเป็นบันไดที่มีข้ันสูง ๆ ดังน้ันการดาเนินการปรับสภาพแวดล้อมในชุมชนให้คน พิการสามารถเข้าถึงและใช้ระโยชน์ได้ จาเป็นต้องอาศัยผู้นาชุมชนรวมทั้งองค์กรคนพิการในท้องถ่ินร่วมกัน กระตุ้นให้สถานทดี่ งั กลา่ วปรบั พ้นื ทใ่ี ห้คนพกิ ารสามารถเขา้ ไปใชบ้ รกิ ารหรอื รว่ มกิจกรรมกบั ชมุ ชนได้ ตัวอยา่ ง “ท้องถิน่ องค์กรคนพิการ ร่วมกันขอให้ร้านค้าจัดทาทางลาดเพ่ือช่วยให้เก้าอี้ล้อเข็นสามารถ เข้าไปใช้บริการในร้านค้าได้ ถ้าร้านค้าใดให้ความร่วมมือก็ช่วยกันสนับสนุนสินค้าของร้านดังกล่าว แต่ถ้าร้านค้า ใดไม่ยอมปรบั เปลยี่ นกร็ ว่ มกันไมซ่ อ้ื สนิ ค้าจากรา้ นนั้น” ทางลาด RAMPS ทางลาดท่ีมีความลาดเอียงมากเท่าไรก็จะช่วยให้คนพิการท่ีใช้เก้าอ้ีล้อเข็นสามารถข้ึนลงทางลาดได้ สะดวก การสรา้ งทางลาดให้มคี วามลาด/ชนั มากเทา่ ไรจะขน้ึ อยกู่ ับใครเป็นคนใช้ ทางลาดท่มี ีความชันมาก (1 ต่อ 6) จะเหมาะกับเกา้ อล้ี อ้ เข็นไฟฟา หรอื มีคนช่วยเข็น ทางลาดที่มีความชนั พอใชไ้ ด้ (1 ตอ่ 10) จะเหมาะกับผูใ้ ช้เก้าอี้ลอ้ เข็นที่มีแขนแข็งแรง ทางลาดที่มคี วามชันเหมาะสมที่สดุ (1 ตอ่ 14) เหมาะสาหรบั ผใู้ ชเ้ กา้ อล้ี ้อเข็นทวั่ ไป และเป็นขนาดทเี่ หมาะสมกับการนาไปติดตงั้ ในสถานทสี่ าธารณะ หรือศนู ยฟ์ นื้ ฟูสมรรถภาพ

การปรบั ทางเดินและเสน้ ทางภายในชุมชนใหด้ ีขน้ึ นักการศึกษาพเิ ศษ ผนู้ าชุมชน องค์กรคนพกิ าร ครอบครวั คนพกิ าร และเด็ก ๆ ในหมู่บ้านอาจ ร่วมกัน จัดการปรับเส้นทางหรือทางเดินในชุมชนของตนเองเพื่อให้คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่ต้องเข็นของ ผู้ที่ใช้เก้าอ้ีล้อ เข็นสามารถเดินทางไปยังสถานท่ีต่าง ๆ ภายในหมู่บ้าน เช่น สนามภายในหมู่บ้าน ร้านค้า สถานที่ทากิจกรรม ของหมู่บ้านหรือวัดได้สะดวก โดยการติดตั้งราวจับบนพื้นท่ีต่าง ๆ ภายในหมู่บ้าน โดยเฉพาะหมู่บ้านที่อยู่บน พื้นท่ีสูง ทีมฟ้ืนฟูสมรรถภาพในชุมชนอาจร่วมกันวางแผนติดต้ังราวจับเพ่ือช่วยให้คนท่ีมีปัญหาในการเดิน คน ตาบอด และผสู้ งู อายสุ ามารถเดินทางภายใน หรือขึ้น-ลงพน้ื ที่ตา่ ง ๆ เพื่อเข้ารว่ มกิจกรรมของหมบู่ า้ นไดส้ ะดวก การออกแบบสภาพแวดล้อมเพ่ือให้ทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งทุกคนหมายถึง บุคคล พิการและบุคคลท่ัวไป เพ่ือเป็นหลักประกันว่าการเรียนการสอน ส่ือ สิ่งอานวยความสะดวก สภาพแวดล้อม ทางการศกึ ษาตรงกบั ความต้องการจาเป็นท่ีหลากหลายของนักเรียนทุกคน

หนว่ ยที่ 8 การฟ้ืนฟสู มรรถภาพบุคคลพกิ ารซอ้ น ชุดศึกษาดว้ ยตนเองฉบับนี้ ได้ตระหนกั ถึงการทางานฟ้ืนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ซึ่งเป็นรากฐานสาคัญ ในการให้บริการฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการที่ย่ังยืน โดยเฉพาะการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลพิการซ้อน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในชนบทหรือหมู่บ้านท่ีห่างไกล ดังน้ันคนพิการจึงไม่ค่อยรู้จัก “ผู้เช่ียวชาญเร่ืองการฟื้นฟู สมรรถภาพ” หรือ “นักกายภาพบาบัด” แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าคนพิการจะไม่ได้รับการ “บาบัด” หรือ “ฟื้นฟู” เช่นคนพิการในเมือง สมาชิกในชุมชนท่ีคนพิการอาศัยอยู่ไม่ว่าจะเป็นช่างไม้ หมอนวดแผนโบราณ หรือตัวคนพิการเอง อาจมีวิธีง่าย ๆ ท่ีสามารถช่วยเหลือให้คนพิการเคลื่อนไหวหรือเดินทางได้ในหมู่บ้าน ของเขาได้อย่างอิสระ ดังนั้นเอกสารฉบับน้ี จึงได้นาเน้ือหาบางส่วนในคู่มือการฟ้ืนฟูสมรรถภาพในชุมชนช่ือ “Disabled Village Children” ของเดวิด เวอร์เนอร์ มาประกอบในชุดศึกษาด้วยตนเองฉบับน้ี เพ่ือให้ผู้รับ การฝึกอบรมสามารถนาความรู้และทกั ษะทท่ี ่านจะพบในเอกสารชุดนไี้ ปใช้ในการปฏิบตั หิ น้าที่ได้ David Werner (1999) กล่าวว่า ครูการศึกษาพิเศษหรือนักกายภาพบาบัด อาจเคยเห็นช่างไม้ ช่างเยบ็ หนังและช่างเหล็กกาลังช่วยกันทาไม้เทา้ รถเขน็ ขาไม้ และเคร่ืองช่วยเหลืออ่ืน ๆ สาหรับคนพิการ โดย ใช้วัสดุง่าย ๆ ท่ีหาได้ในหมู่บ้าน บ่อยครั้งที่เราเห็นพ่อแม่ของเด็กหลายคนมีวิธีช่วยให้นักเรียนที่พิการสามารถ ช่วยเหลือทางานในไร่นาหรือแม้กระทั่งงานบ้านได้ และในขณะเดียวกันเด็กก็ยังได้รับการบาบัด-ฟื้นฟูตามที่ เด็กต้องการอีกด้วย บางครั้งวิธีการฟ้ืนฟูท่ีคิดค้นโดยพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชนนั้น เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ไม่ว่าในบ้านหรือในชุมชนของคนพิการมากกว่าและดีกว่าท่ีแนะนาโดยผู้เช่ียวชาญ ต่อไปน้ีคือ ตัวอย่าง 2 ตวั อยา่ งทสี่ นับสนนุ คาพดู นค้ี าสองคาท่เี รามักพบและใช้กันเสมอในแวดวงผู้ทางานเก่ียวข้องกับคนพิการ น่ันคือ “การฟ้ืนฟ”ู (Rehabilitation) และ “การบาบัด” (Therapy) การฟื้นฟู หมายถึง การชว่ ยให้คนพิการมคี วามสามารถในการทากิจวตั รท่เี คยทาได้ก่อนท่ีจะพิการ การบาบัด หมายถึง การรกั ษาโดยการทากายภาพบาบัด (Physical Therapy) และกจิ กรรมบาบดั (Occupational Therapy) กายภาพบาบัดนั้นเป็นศลิ ปะเร่ืองของการปรับปรุงท่าทาง การเคล่ือนไหว การสร้างความสมดุล ความ แข็งแรง และการควบคุมร่างกาย กายภาพบาบัดเป็นศิลปะที่ช่วยให้คนพิการได้เรียนรู้การทากิจกรรม ทม่ี ปี ระโยชน์และอยา่ งมคี วามสขุ David Werner (1999) มีความเห็นว่าการบาบัดเป็น “ศิลปะ” มากกว่าเป็น “วิทยาศาสตร์” เพราะ การบาบัดน้ันต้องอาศัยความเชื่อและการลองผิดลองถูกกับคนและความรู้สึกของแต่ละคน จินตนาการและ ความยืดหยุ่นเป็นเรือ่ งสาคญั ท่ีสุดในการคดิ แนวทางและแผนการบาบัดเด็กพิการแต่ละบุคคล นอกเหนือจากส่ิง อ่ืนใด พ่อแม่หรือผู้ปกครองของเด็กต้องทาความเข้าใจเสียก่อนว่าทาไม “การบาบัด” จึงมีความจาเป็นสาหรับ เด็ก ซงึ่ ถ้าเกดิ ความเข้าใจอยา่ งถ่องแทแ้ ละผปู้ กครองหรือพ่อแม่ของเด็กอาจใช้จินตนาการของตนเอง เพื่อสร้าง แนวทางการทา “การบาบัด” ใหน้ กั เรียนได้อย่างเหมาะสม

กายภาพบาบัดและเทคนิควิธีการฟื้นฟูสมรรถภาพนั้นเกิดและคิดค้นในเมือง แต่ในความเป็นจริง ทตี่ รงกันข้ามคือ เด็กพิการส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในไร่นาในหมู่บ้านที่ห่างไกล พ่อแม่ของเด็กเหล่าน้ีมีแต่เวลาทามา หากินเพ่ือปากเพ่ือท้องของครอบครัวไปวันหน่ึง วันหนึ่งการบาบัดฟ้ืนฟูเด็กพิการจึงเป็นเรื่องท่ีค่อนข้าง ยากลาบากสาหรับครอบครัว แต่การบาบัดฟื้นฟูที่ทาได้โดยครอบครัวมักจะเป็นวิธีการท่ีตรงกับความต้องการ ของครอบครวั และเด็กหลากหลาย และต่ืนเต้น กรณีตวั อยำ่ งของกำรปรบั วธิ ีกำรบำบดั ฟื้นฟใู หเ้ ข้ำกบั วถิ ีชวี ิตในหมู่บ้ำน มาริเซียอาศัยอยู่ในหมู่บ้านริมแม่น้า เธออายุ 4 ขวบเป็นเด็กสมองพิการที่เริ่มฝึกเดิน ขณะท่ีฝึกเดิน เข่าสองข้างของมาริเซียมักจะชนกันเวลาก้าวขา ทาให้เธอไม่ชอบจะฝึกเดินเท่าไหร่นัก แขนขาจึงอ่อนแรงและ ใช้การไม่ดีเท่าทค่ี วร ครอบครัวเก็บเงินได้ก้อนหน่ึงเพื่อพามาริเซียมาท่ีศูนย์บาบัด-ฟ้ืนฟูในเมือง พ่อแม่ต้องเสียเวลารอ ผู้เชี่ยวชาญนานมาก ในท่ีสุดเม่ือพบผู้เชี่ยวชาญก็ได้รับคาแนะนาให้ฝึกการยืดกล้ามเน้ือต้นขาด้านใน (ขาพับ) ให้แกม่ ารเิ ซียเพื่อชว่ ยให้หัวเขา่ ทางานดขี นึ้ นอกจากนน้ั ยังไดร้ ับคาแนะนาใหท้ ากายภาพบาบดั แกม่ าริเซีย เพอื่ ชว่ ยให้กล้ามเน้ือมือและเท้าของเธอ แข็งแรง และผู้เช่ียวชาญยังแนะนาให้พ่อแม่ซ้ือของเล่นพิเศษให้แก่นักเรียนเพื่อฝึกการกามือเพิ่มกาลังให้แก่ กลา้ มเนื้อมือ ครอบครวั ของมารเิ ซียไมม่ เี งินพอท่ีจะซื้อของเล่นท่ีผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้นักเรียน เพราะราคาค่อนข้าง แพง ดังน้ันเมื่อกลับถึงบ้านพ่อจึงหาวัสดุเท่าท่ีจะหาได้มาทาเป็นอุปกรณ์ที่ใกล้เคียงกัน โดยเร่ิมแรกพ่อได้ทาท่ี นั่งจากไม้ ตอ่ มากท็ าท่นี ่ังให้ดีข้ึนโดยใชแ้ ผ่น กระดานและถังไม้เพื่อชว่ ยใหข้ าทง้ั สอง ขา้ งของนักเรยี นแยกออกจาก

หลงั จากนัน้ พ่อกห็ าแผน่ กระดานอีกแผ่นหนง่ึ มาวางเป็นโตะ๊ ไว้ด้านหน้า ใช้ซังข้าวโพดแห้ง ๆ และไม้ไผ่ ตัดเป็นปล่อง ๆ วงแหวน และทาของเล่นอื่น ๆ จากไม้ไผ่ เพื่อให้มาริเซียได้เล่นฝึกกาลังมือ และควบคุมมือ ของตนเอง วงกลมท าจากไมไ้ ผ่ ซังข้าวโพด แผน่ ไมรองพนื้ ตอนแรก ๆ มาริเซียตื่นเต้นมากที่เล่นและฝึกอุปกรณ์ที่พ่อทาให้ เธอจึงเล่นอยู่พักนึง ต่อมาก็รู้สึกเบื่อ และ อยากเล่นเหมือนเด็กคนอ่ืน ๆ อยากไปเท่ียวไร่ข้าวโพดกับพ่อและพ่ีชาย อยากช่วยแม่ทากับข้าว และ เป็นคนท่ที าประโยชนใ์ หค้ รอบครวั เหมอื นคนอืน่ ๆ บา้ ง มารเิ ซียจึงทาลายอุปกรณ์ที่พ่อทาให้และปฏิเสธที่จะนั่งในท่ีน่ังพิเศษสาหรับเธอ ทาให้พ่อแม่โกรธมาก มาริเซียกลับไปน่ังในแบบเดิมของเธอคือนั่งทับเข่าก้มหลังเป็นช่ัวโมงและไม่ค่อยฝึกเดินเพราะยังเป็นเร่ือง ที่ลาบาก สาหรบั เธอ พ่อแม่ได้ไปเย่ยี มศูนย์ฟ้นื ฟูเล็ก ๆ ในหม่บู ้านใกลเ้ คยี ง ก็ไดร้ บั การแนะนาจากชาวบ้านที่น่ันให้ลองหาวิธี อ่ืน ๆ ท่ีช่วยให้เข่าของมาริเซียแยกกัน วิธีที่ควบคุมแขนขาและมือ และวิธีที่คิดขึ้นน้ันต้องเป็นเร่ืองท่ีทั้ง ครอบครัวและมาริเซียได้ประโยชน์และสนุกด้วย และข้างล่างนี้คือตัวอย่างเวลาที่มาริเซียสบายดีไม่เจ็บไม่ไข้ พ่อจะให้เธอช่วยแยกเมล็ดข้าวโพดร่วมกับเด็กคนอื่น ๆ โดยพ่อได้ทาเคร่ืองแยกเมล็ดข้าวโพดแบบพิเศษให้ เป็นเครื่องแยกเมล็ดข้าวโพด ท่ีมีด้ามจับใหญ่และมีที่ขูดเมล็ดข้าวโพดออกจากฝักเน่ืองจากเธอมีปัญหาเรื่อง การใช้มอื และนิ้ว ทาชอ่ งให้เมล็ด ใบเล่ือยเก่ามา ข้าวโพดตกลง ยดึ ติดระหว่าง ในตะกร้า ไม้ 2 อนั ตดิ ตวั ยดใหแ้ ผ่น ตดั ไมเ้ ปน็ รปู ฝักขา้ วโพดแลว้ นาไมอกี ช้นิ ไม้ตดกับตะกร้า ติดตะปใู ห้มีปลายแหลมทะลอุ อกมา เลก็ นอ้ ยมาตดิ ปดด้านลา่ งเพอ่ื ใชย้ ึด ฝักขา้ วโพด

มาริเซียชอบการแยกเมล็ดข้าวโพดออกจากฝักมากถึงแม้ว่าจะเป็นงานท่ียากสาหรับเธอ พ่อจึงนา ตะกร้ามา วางไวร้ ะหวา่ งเข่าของมาริเซยี เพ่อื ช่วยให้เข่าของเธอแยกออกจากกัน และการให้มาริเซียปอกเปลือก ข้าวโพดช่วยให้มือของมาริเซียแข็งแรงขึ้น รวมทั้งการฝึกให้มาริเซียจับเมล็ดข้าวโพดจะช่วยให้มาริเซีย พัฒนาการควบคมุ และการประสานงานของมือดีข้ึน ปอกเปลือกข้าวโพด และแกะเมลด็ ขา้ วโพด ออกจากฝกั แม่ชอบชวนมาริเซียไปซักผ้าท่ีริมน้า มาริเซียจะช่วยแม่ซักผ้าท่ีริมตลิ่ง โดยมีหินซักผ้าวางอยู่ระหว่าง ขาทง้ั สองข้างเธอมีหน้าทีฟ่ าดผ้าลงกบั หินและบิดผา้ ตามที่แมส่ อน หินซักผ้าช่วยให้เขา่ ของมารเิ ซยี แยกออกจากกันการบิดและฟาดผ้าช่วยให้มือและแขนของเธอแข็งแรง ขึ้น ถงึ แม้ว่าการซกั จะเป็นงานทีค่ อ่ นข้างยากแต่มาริเซยี คิดว่าไม่เหน็ ยากเลย แถมสนกุ อกี ด้วย ระหวา่ งเดนิ ทางจากแม่น้ากลับไปบ้านมาริเซียจะต้องเดินเพราะถ้าคลานจะไกลมากแม่ให้มาริเซียช่วย ถือถัง ผ้าท่ีซักเสร็จแล้ว ซึ่งมาริเซียก็พยายามช่วยอย่างสุดความสามารถ ต่อมาเธอก็ค้นพบว่าการหิ้วถังผ้าซัก แลว้ ช่วยใหเ้ ธอรูว้ ธิ เี ดนิ หลังตรงโดยไม่แกว่งแขนมากเกนิ ไป พ่อช่วยทาหูหิ้วถังผ้าให้หนาข้ึนเพ่ือมาริเซียจะได้หิ้ว ได้งา่ ยข้ึน โดยใช้ยางในลอ้ รถจักรยานพันรอบหูหวิ้ หลายชัน้ และใช้เศษผ้าพันทบั อีกท่ีเพื่อปูองกันไมใ่ หห้ ูห้ิวลน่ื

ต่อมามาริเซียลองเทินถังผ้าบนศีรษะแล้วเดินเหมือนคนอ่ืน ๆ ซึ่งการฝึกเดินเทินของนี้ค่อนข้างยาก มาก มาริเซียต้องพยายามถ่างขาให้มากที่สุดเพ่ือจะได้ควบคุมการทรงตัว แม่ไม่ค่อยชอบให้เธอทาอย่างนั้น แต่มาริเซียเป็นเดก็ คอ่ นขา้ งร้นั เธอลองทาจนสามารถเดนิ เทนิ ถงั บนศรี ษะไดใ้ นทส่ี ดุ ต่อมาเธอก็ค้นพบวิธีท่ีช่วยไม่ให้น้ากระฉอกออกจากถัง โดยวางบวบแห้งหรือใบไม้แห้งลงบนน้าในถัง จากการลองทาหลาย ๆ วิธี ทาให้ครอบครัวและตัวมาริเซียเองได้เรียนรู้วิธีการบาบัดหลายวิธีและการทา อุปกรณ์ช่วยหลายอย่างที่มีประโยชน์ สนกุ และมีประสิทธิภาพ มาริเซียเดินได้ดีข้ึนและสามารถใช้มือและแขนทาอะไรต่ออะไรได้หลายอย่าง แต่กว่าจะทาได้เช่นนี้ เธอต้องใช้เวลาฝึกฝนมากจนบางคร้ังก็ทาให้เธอเกือบท้อหรือเลิกทาก็มี แต่เพราะแรงมานะและการท้าทาย จากน้องชายว่า “เธอทาไม่ได้แน่” ทาให้มาริเซียประสบความสาเร็จในท่ีสุด เพราะความที่มาริเซียเองก็เป็น เพยี งเด็กคนหนงึ่ ซง่ึ กเ็ หมอื นเด็กคนอ่นื ๆ คอื เบ่ือง่าย ทาให้พ่อแม่ต้องพยายามคิดค้นกิจกรรมใหม่ ๆ มาให้เธอ การคน้ หากิจกรรมใหม่ ๆ นี้ทาใหพ้ ่อแม่รู้สกึ ตน้ื เต้นและทา้ ทายเช่นกนั มาริเซยี ชอบมา้ เหมือนเด็กคนอืน่ ๆ พอ่ กด็ ดั แปลงเอาไม้ซุงเกา่ ๆ กิ่งไม้ และเชอื กม้าทาเป็นม้าโยกให้เธอเลน่ พอ่ ก็เลยทาท่วี างเทา้ พิเศษสาหรับมาริเซยี ขณะที่เล่นมา้ โยก ที่วางเท้าน้ที าใหเ้ ทา้ ของเธออยใู่ นทา่ ปกติ

ม้าโยกทาให้ขาของมาริเซียแยกออกจากกัน ทาให้แขนของเธอแข็งแรงข้ึนและช่วยเร่ืองการทรงตัว มาริเซียชอบเล่นม้าโยกมาก บางทีเธอเล่นได้เป็นชั่วโมง การเล่นม้าโยกช่วยทาให้เธอเดินได้เก่งขึ้น ต่อมา มาริเซียก็อยากขี่ม้าจริงหลังจากขี่ม้าโยกมาเป็นเวลานาน เธอขออนุญาตพ่อหัดข่ีม้าหลายครั้งจนวันหนึ่ง พ่อทนรบเร้าไม่ไหวก็เลยให้มาริเซียขี่ลาไปไร่ข้าวโพดด้วยกัน ทีแรกพ่อบอกให้เธอน่ังข้างหน้าพ่อ แต่มาริเซีย รบเรา้ ขอนั่งข้างหลงั เหมอื นเดก็ คนอ่ืน พอ่ กเ็ ลยต้องเอาทวี่ างเทา้ มาใส่ทหี่ ลังแล้วจงึ ให้มาริเซยี นง่ั ขา้ งหลังได้ การน่ังขี่หลังลาเป็นการบาบัดท่ีวิเศษ มันทาให้ขาของมาริเซียแยกออกจากกันและทาให้เธอต้องรู้จัก ควบคุม การทรงตัวอย่างระมัดระวัง ที่ไร่ข้าวโพดมาริเซียก็ช่วยพ่อและพี่ชายถอนหญ้าท่ีรกอยู่รอบ ๆ ต้นข้าวโพดอ่อน หลังจากขี่ลากับพ่อหลายครั้งมาริเซียก็ขอข่ีลาคนเดียว ซึ่งทาให้พ่อกังวลมากแต่ในที่สุดก็ลอง ให้เธอทาดู และเธอก็ทาได้เสียด้วย การข่ีลาคนเดียวทาให้เธอมีความมั่นใจมากข้ึน ต่อมาเธอก็ขี่ลาตามลาพัง เพ่ือเอาอาหารไปให้พ่อและพี่ชายท่ีไร่ข้าวโพด เดี๋ยวนี้มาริเซียพบว่าเธอสามารถทาอะไรได้หลายอย่างท่ีเธอ ไม่เคยคิดว่าจะทาได้ ถึงแม้ว่าท่าทางเธอจะดูตลกต้องใช้เวลามากในการฝึก และต้องคิดค้นวิธีการพิเศษต่าง ๆ ในการทากจิ กรรมกต็ าม เธอก็ทาอะไรได้ต้ังหลายอยา่ งมากกว่าท่ีต้องการเสยี อีก การบาบัดในแบบของมาริเซีย เป็นแบบอย่างท่ีไม่ควรลอกเลียนเอาไปใช้แต่ควรจะเรียนรู้จาก ประสบการณ์ ของครอบครัวนี้เพื่อนาไปปรับใช้ต่อไป ในความเป็นจริงแล้วไม่มีแบบอย่างของการฟื้นฟูแบบใด ทีส่ มควร ลอกเลยี นแบบหรือนาเอาไปใช้ทั้งหมด การทาความเข้าใจกับปัญหาของเด็กพิการแต่ละรายเป็นเรื่อง ท่ีควรทาเป็นอย่างย่ิง ท้ังนี้เพ่ือนาวิเคราะห์หาหนทางและวิธีในการบาบัดให้เหมาะสมภายใต้ข้อจากัด ความเป็นไปได้ของครอบครัว และชุมชนของเด็กแต่ละราย นอกจากน้ันเราควรจะหาวิธีการบาบัดสาหรับเด็ก แต่ละครั้งนนั้ เกิดประโยชนใ์ ช้ได้จริง และสนุก

เร็ว ๆ นี้มีกลุ่มท่ีทางานเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมได้พัฒนาอุปกรณ์เคร่ืองช่วยสาหรับ คนพิการท่ีทาจากวัสดุและอุปกรณ์ที่หาได้ในชุมชนไม่ว่าจะเป็นไม้ไผ่ ยางรถยนต์ ผ้า เป็นต้นแทนพลาสติก อลูมีเนียมหรือวัสดุท่ีแพงเพื่อจัดสรรให้แก่คนพิการที่ยากจนในชนบท อุปกรณ์บางอย่างที่ออกแบบและพัฒนา ออกมาน้ันดีมาก แต่อย่างไรก็ตามยังอยากจะเน้นว่าการทาอุปกรณ์เครื่องช่วยน้ันต้องเหมาะสมและแตกต่าง ไปตามวธิ ีการบาบัดและฟน้ื ฟูทค่ี ิดคน้ ข้ึนสาหรบั หมบู่ ้าน ไรน่ า หรอื บ่อปลา ในกรณีของมาริเซียทุกอย่างรอบตัวล้วนเป็น “อุปกรณ์ที่ใช้บาบัดท้ังสิ้น” ไม่ว่าจะเป็นตะกร้า ใส่ข้าวโพด ถัง ซักผ้า ม้าโยก หรือแม้กระทั่งลา อุปกรณ์เหล่านี้ไม่เพียงแต่ช่วยทาให้ขาของมาริเซียท่ีมีอาการ ข้อยึดติดน้ันแยกออกจากกันเท่านั้น แต่มันยังช่วยทาให้มาริเซียสามารถใช้ชีวิตอยู่ในชุมชนของเธอได้เหมือน อยา่ งคนอ่ืน เด็กพิการทุกคนไม่ได้มีความต้องการหรือมีความตั้งใจเหมือนมาริเซีย ตะกร้าข้าวโพด การซักผ้า บนก้อนหิน ซักผ้า หรือลา ก็อาจใช้ได้กับครอบครัวมาริเซียเท่าน้ัน ไม่สามารถเอาไปใช้กับครอบครัวอื่นได้ จึงอยากจะย้าอีกครั้งว่าเราควรจะสนับสนุนและให้กาลังใจครอบครัวให้สังเกตความต้องการที่แท้จริงของ นักเรียนที่มีความพิการ รวมทั้งความเป็นไปได้ในการฟื้นฟูหรือบาบัดเด็ก ทาความเข้าใจให้ถ่องแท้ ถึงความจาเป็นของการทาการบาบัดและหาแนวทาง หรือวิธีการที่จะปรับการบาบัดให้เข้ากับวิถีชีวิตของเด็ก และของครอบครวั

สรปุ สาระสาคัญ บุคคลพิการซ้อนจัดอยู่ในกลุ่มคนพิการที่ต้องการความช่วยเหลือในด้านการดา รงชีวิตท่ีครอบคลุม ในทุกด้านอย่างต่อเน่ือง เพื่อการอยู่รวมในชุมชนและมีความสุขกับคุณภาพชีวิตท่ีมีให้กับบุคคลท่ีพิการน้อยกว่า หรือไม่มีความพกิ าร ซึ่งบุคคลกลุ่มนี้จะมีความบกพร่องทางสติปัญญาเป็นลักษณะเฉพาะ บุคคลท่ีมีความพิการ รุนแรงทุกคนมีปัญหาทางด้านการสื่อสาร นอกจากนี้บุคคลกลุ่มน้ียังมีปัญหาทางการแพทย์หรือบกพร่อง ทางร่างกาย ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาทางการเคลอ่ื นไหว การเหน็ และการได้ยิน บุคคลพิการซ้อนสามารถเรียนรู้ได้ ดังนั้นทุกคนที่มีปฏิสัมพันธ์กับเขาต้องคิดอย่างรอบคอบเก่ียวกับ การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัยและน่าไว้วางใจ ทาให้เป็นสภาพแวดล้อมท่ีช่วยให้เขาพร้อมท่ีจะเริ่มต้น หรือกล้าท่ีจะออกไปสู่สังคมรอบ ๆ เขา รวมท้ังการจัดสถานการณ์ท่ีช่วยให้เด็กรู้สึกว่าเขาก็มีความสามารถ ซึ่งมีแนวทางมากมายท่ีจะช่วยให้เขาได้พัฒนาความรู้สึกว่าตนเองเป็นผู้ที่มีความสามารถ เป็นผู้นา และ เห็นคณุ คา่ ในตนเอง นอกจากน้ี บุคคลพิการซ้อนจาเป็นต้องได้รับโปรแกรมการศึกษาท่ีได้รับการออกแบบเป็นพิเศษ ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของนักเรียน พร้อมท้ังการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมนักเรียนให้มีความสามารถในการดาเนินชีวิตและพ่ึงพาตนเอง ได้ ท้ังในการปฏิบัติกิจวัตรภายในบ้าน และในชุมชนของตนเอง ผนวกกับการพัฒนาให้นักเรียนมีทักษะ ทางด้านอาชีพ มีทัศนคติ และนิสัยการทางาน เพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับการฝึกอาชีพในอนาคต และเป็นผู้ท่ี สามารถสรา้ งประโยชนใ์ ห้กบั สงั คม

แหล่งข้อมลู เพม่ิ เตมิ ทตี่ อ้ งศกึ ษา หมวดหนงั สือ 1. ตวั อย่างท่ีดีในการจดั สง่ิ อานวยความสะดวกสาหรบั คนพิการ และคนทกุ วัย ของสานกั งานส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการแหง่ ชาติ กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ครั้งท่ี 2, 2555) 2. Disabled Village Children. A guide for community health workers, rehabilitation workers, and families. The Hesperian Foundation P.O. Box 11577, Berkeley, CA. โดย David Werner (1999) 3. Teaching Students with Visual and Multiple Impairments: A Resource guide. Texas School for the Blind and Visually Impaired. โดย Smith, M., Levack, N. (1999). หมวดสือ่ อิเลคทรอนคิ ส์ 1. A report to the nation: The national agenda for the education of children and youths with visual impairments, including those with multiple disabilities. New York : American Foundation for the Blind Press. Curriculum. โดย Corn, A. L., and Huebner, K. M. (1998). http://www.cast.org/research/udl/index.html 2. Education for Students with Multiple Disabilities. http://www.Perkins.org 3. The Individuals with Disabilities Education Act (Improvement Act of 2004) http://www.ed.gov/policy/speced/guid/idea/idea2004.html 4. Universal Design for Learning. Center for Applied Special Technology : CAST. Research and development in Universal Design for Learning. http://www.cast.org/initiatives/national center.html 5. Webcast: http://www.Perkins.org

บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2546). คมู่ ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กอายุตา่ กวา่ 3 ปี พุทธศักราช2546. กรงุ เทพฯ: สานกั วิชาการสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551). พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาสาหรับคนพกิ าร พ.ศ. 2551. กรุงเทพมหานคร: สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. ประเวศ วะสี. (2547). สมุดปกฟา. คาบรรยายนา คาถาเด็กไทยรู้ทัน อนุสตเิ พื่อการป้องกนั เดก็ และ เยาวชนจากการครอบของลัทธิบริโภคนิยมโดยสื่อมวลชน. ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแหง่ ประเทศไทย. พัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์. (2555). ตวั อย่างที่ดีในการจัดสิ่งอานวยความสะดวกสาหรบั คนพิการ และคนทุกวยั . สานกั งานสง่ เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการแหง่ ชาติ: กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ (ฉบบั ปรับปรงุ คร้งั ที่ 2). งานดา้ นข้อมลู สารสนเทศ กลุ่มแผนและงบประมาณ สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ. (2561). ระบบสารสนเทศสาหรับการศึกษาพิเศษ, 1 เมษายน 2562. http://203.159.157.29/set_index/index.php) ภาษาองั กฤษ Bagley, S. (1997). How do you build the baby’s brain. In “Your child: from Birth to three,” Newsweek (Special Issue). Brambring, M., and Troster, H. (1992). On the stability of stereotyped behaviors in blind infants and preschoolers. Journal of Visual Impairment and Blindness. Browder, D., Spooner, F. (2004). Acontentanalysisofthecurricularphilosophiesreflectedinstates’ alternate assessment performance indicators. Research and Practice for Persons with Severe Disabilities. Brown, L. (1983).PlanningCurriculumforschools. [Online]. The National Centeron Accessingthe General. Available from: http://www.cast.org/initiatives/national center.html [2011, June2]. Center for AppliedSpecial Technology: CAST. (1999). UniversalDesign for Learning. [Online]. Research and development in Universal Design for Learnin http://www.cast.org/research/udl/index.html. Chen, D., (1999). The effects of early experience on brain development: Essential Elements in Early Intervention Visual Impairment and Multiple Disabilities.

Corn,A.L.,andHuebner,K. M. (1998). A reportto the nation:Thenationalagendafortheeducationof childrenandyouthswithvisualimpairments,includingthosewithmultipledisabilities.NewYork: AmericanFoundationfortheBlindPress.Curriculum.Availablefrom:http://www.cast.org/initiatives/national center.html[2011, June 2]. Crimmins, D.B., and Berotti, D. (1996). Supporting increased self-determination for individuals with Challenging behaviors. Baltimore: Brooks Publishing Co. Ferrell, K. A. (1998). Project PRISM: Longitudinal study of the developmental patterns of Children who are visually impaired. Executive summery. Greeley, CO: University of Northern Colorado. Gast, D. L., and Wolery, M. (1987). Maladaptive behaviors. (chap. 12.) Columbus: Charles E. Merrill. Hanson,M. J., and Lynch, E.W. (1995). Early intervention: Implementing child and family services for infants and toddlers who are at risk or disabled (2nd ed.). Austin, TX: Pro-ED. Heydt, K., and Allon, M. (1992). Motor development: Gross and fine motor skills. Perkins activities and resource guide (chap. 5). Watertown, MA: Perkins School for the Blind. Howley, T. (1998). Starting Smart: How early experiences affect brain development. Chicago: Ounce of Prevention Fund; Washington, DC: Zero to Three. Hughes, M. A., and Fazzi, D.L. (1993). Behaviormanagement. In Firststeps: A handbookfor teaching young childrenwho are visuallyimpaired(chap. 5) Los Angeles: Blind ChildrenCenter. IDEA, (2004). IDEA Close up :Transition Planning .[Online]. Available from: http://www.greatschools.net/LD/school-learning/idea-2004-close-up-transition- planning.gs?content=933 [2011, June 12]. IDEA (2004). Multiple Disabilities. Categories of Disability under IDEA. Individuals with Disabilities Education Act, USA. .[Online]. Available from: http://nichcy.org/wp- content/uploads/docs/gr3.pdf. Lee, M., and William, L., M., (1999).Takingaccount of individual learningstyles: School years: MDVI Royal BlindSchool,CanaanLane Campus,Edinburgh,Scotland.[Online]. Available from: http://www.icevi.org/publications/ICEVI-WC2002/papers/02-topic/02-macwilliam.htm. Mcletchie, A.B. (๒๐๐๔). Competencies for teachers of learners who are Deafblind: Perkins national deafblind training Project. Perkins School for the Blind. Meyer, L. H.,and Evans, I. M. (1989). The Application of sensory extinction procedures to self- injury. Analysis and Intervention in DevelopmentalDisabilities.

Moss.,K. .(1993).LookingatSelf-StimulationinthePursuitof LeisureOr I’mOkay,Youhavea Mannerism byP.S.NEWS!!,5 (3). Norshidah Mohdand Manisah Mohd Ali. (2007). Multiple Disabilities AmongStudents with Visual Impairments. Faculty of Education, Universities Kebangsaan: Malaysia. Rincover, A., Devvany, J. (1982). The application of sensory extinction: Procedures to self-injury. Analysis and intervention in Developmental Disabilities. Romanczyk, R. O., Kistner, J.A., and Plienis, A. (1982). Self-stimulatory and self-injurious behavior: Etiology and treatment. Royeen, C. B., and Lane, S. J. (1991). Tactile processing and sensory defensiveness. Theory and practice. Philadelphia, USA. Sacks, S.Z. and Silberman, R. K. (2008).Definitions of visual impairment: Educatingstudents who have visualimpairments with other disabilities. Baltimore: Paul H. Brookes. Seligman,M.E.P.(1991).Helplessness:OnDepression,Development,andDeathSecondedition.NewYork:W.H. Freeman. Smith, M., Levack, N. (1999). Teaching Students With Visual and Multiple Impairments: A Resource guide. Texas School for the Blind and Visually Impaired. Spungin, S. J., and Taylor, J. L. (1986). The teacher. In G. T. School (Ed.), Foundations of Education for blindandvisually handicappedchildrenandyouth: Theoryand practice. p.6. New York: American Foundation for theBlind. Stone, J. L., Smith, H. T., and Murphy,L. B. (1973). The competent infant. New York: BasicBooks.Werner D. (1999) Disabled Iillage Children. A guide for community health workers, rehabilitation workers, and families. The Hesperian Foundation P.O. Box 11577, Berkeley, CA. Westling, D.L., and Fox, L. (1995). Teaching students with severe disabilities per Saddle River. NJ: Prentice-Hall.

แบบทดสอบท้ายบท ชุดเอกสารศกึ ษาด้วยตนเอง วชิ าความรู้พนื้ ฐานดา้ นการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการหรือผู้เรียนที่มคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ เล่มที่ 15 การจดั การศกึ ษาสาหรับบคุ คลพิการซ้อน 1. ข้อใดหมายถึงบคุ คลพิการซ้อน (Multiple Disabilities) ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ ก. บคุ คลท่ีมลี ักษณะความพิการมากกว่าหนง่ึ ประเภทในบุคคลเดียวกัน ข. บคุ คลทม่ี ลี กั ษณะความพิการมากกวา่ หน่งึ ความพิการเกิดข้ึนพร้อมกนั ค. บุคคลทมี่ สี ภาพความบกพร่องหรอื ความพิการหนึ่งประเภทในบุคคลเดยี วกัน ง. บุคคลท่ีมสี ภาพความบกพรอ่ งหรือความพิการมากกวา่ หน่ึงประเภทในบุคคลเดยี วกัน 2. บคุ คลท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ และมีความบกพร่องทางการได้ยินรว่ มด้วย (Deaf Blind) ใน สหรฐั อเมรกิ าจัดเป็นคนพิการประเภทใด ก. บุคคลตาบอดสนทิ ข. บุคคลหูหนวกสนทิ ค. บคุ คลพิการซอ้ น ง. บคุ คลหูหนวกตาบอด 3. “Negative prenatal environmental influences” เป็นสาเหตขุ องความพกิ ารซ้อนตามข้อใด ก. ความผดิ ปกติของโครโมโซม ข. ความบกพรอ่ งของพัฒนาการทางสมอง ค. การคลอดก่อนกาหนดทเ่ี กดิ จากอทิ ธิพลของสภาพแวดลอ้ มในครรภ์ ง. โรคทางเมตาบอลิก 4. ชว่ งอายุทใี่ ช้เป็นหลกั เกณฑก์ ารวินจิ ฉัยว่าเดก็ มคี วามพกิ ารซ้อนหรอื ไม่คอื ข้อใด ก. 1-3 ปี ข. 2-4 ปี ค. 3-5 ปี ง. 4-6 ปี 5. คาว่า “Self-contained classroom” หมายถึงข้อใด ก. การรวมนักเรียนท่ีมคี วามพิการไวใ้ นชน้ั เรียนเดียวกนั ข. การรวมนักเรียนท่มี ีความพิการที่มรี ะดับความต้องการจาเป็นทเ่ี หมอื นกันไวใ้ นชนั้ เรียนเดียวกัน ค. การรวมนักเรยี นท่มี ีความพิการท่ีมรี ะดับความต้องการจาเปน็ ไว้ในชั้นเรียนเดียวกัน ง. การรวมนักเรียนทม่ี ีความพิการท่ีมีระดับความตอ้ งการจาเปน็ ท่ีแตกต่างกนั ไวใ้ นชนั้ เรียนเดียวกนั

6. ข้อใดคือแนวการจัดการศึกษาสาหรับบบุคคลพกิ ารซอ้ นในปจั จบุ นั ก. จดั ประสบการณ์การศึกษาดว้ ยหลกั การ Normalized ข. จัดการศึกษาตามแนวทางเชงิ พัฒนาการ (Developmental Approach) ค .จดั การศึกษาท่ีให้ความสาคัญกบั แนวทางเชงิ การนาไปใช้ในชวี ติ (Functional Approach) ง. จดั การศกึ ษาดว้ ยหลกั การ Self-contained classroom 7. บคุ คลขอ้ ใดทีม่ ีความสาคัญต่อการจดั การศึกษาสาหรับบุคคลพิการซ้อนมากท่ีสุด ก. ครผู ูส้ อน ข. นกั กิจกรรมบาบัด ค. พอ่ แมผ่ ูป้ กครอง/ครอบครัว ง. ผู้ดูแลบุคคลพิการซอ้ น 8. ข้อใดเป็นการจดั หลกั สูตรทเ่ี หมาะสมกบั บุคคลพิการซ้อนมากที่สุด ก. การเรยี นรกู้ ิจวตั รประจาวันในสภาพแวดลอ้ มที่โรงเรยี น ข. การเรยี นรูท้ ักษะส่ือสารในสภาพแวดล้อมทช่ี มุ ชนของเด็กและครอบครวั ค. การเรยี นรู้ทกั ษะสงั คมในสภาพแวดลอ้ มท่เี ป็นธรรมชาติของเด็กและครอบครัว ง. การเรียนรกู้ ิจวตั รประจาวันในสภาพแวดลอ้ มทีเ่ ปน็ ธรรมชาติของเด็กและครอบครวั 9. ขอ้ ใดคือการจัดการเรียนรู้ตามแนวหลักสตู รทสี่ มั พันธ์กับการดาเนนิ ชีวิตของครอบครัว (Daily Routine Curriculum) ก. การให้นักเรยี นพกิ ารซ้อนไดเ้ รยี นรงู้ านเฉลมิ ฉลองเทศกาลตา่ งๆ ในชมุ ชน ข. การให้นกั เรยี นพกิ ารซ้อนได้เรยี นรู้จากการไปเทย่ี วสวนสัตวท์ ม่ี ีสตั วห์ ลากหลายชนดิ ค. การให้นกั เรยี นพิการซ้อนไดเ้ รยี นรูจ้ ากการเดนิ ทางไปท่องเท่ยี วในสถานที่แปลกใหม่ ง. การให้นกั เรยี นพิการซ้อนไดเ้ รยี นรูก้ ิจกรรมประเพณสี าคัญๆ ของตา่ งประเทศ 10. ขอ้ ใดไมใ่ ชก่ ารจัดหลักสตู รสาหรับบุคคลพิการซอ้ นตามความหมายของ Unit Based or Theme Based Curriculum ก. การให้นักเรียนพกิ ารซ้อนเรียนรู้เร่อื งอาหารหลัก 5 หมู่ ข. การใหน้ กั เรยี นพิการซ้อนเรียนรเู้ ร่อื งสัตว์ปา่ ตามธรรมชาติ ค. การให้นกั เรียนพิการซ้อนเรยี นรูเ้ รอ่ื งวันเกิดของเด็กหรอื สมาชิกในครอบครวั ง. การใหน้ กั เรียนพิการซ้อนเรียนรเู้ รอ่ื งวนั ขึน้ ปีใหม่ วันลอยกระทง

11. เด็กทมี่ ีลักษณะของปากท่ีเปดิ หรือมีน้าลายไหลตลอดเวลาส่วนมากจะพบในเด็กกลมุ่ ใด ก. เด็กพิการซ้อนในกลมุ่ อาการดาวน์ (Down Syndrome) ข. เด็กพิการซอ้ นในกลมุ่ ออทิสตกิ (Autistic) ค. เดก็ พิการซอ้ นในกลมุ่ หหู นวกตาบอด (Deaf Blind) ง. เดก็ พกิ ารซอ้ นในกลุม่ พฤติกรรม (Hyperactive) 12. ข้อใดคือพฤติกรรมที่ไม่ถูกตอ้ งในการแกป้ ัญหาเด็กที่มีลักษณะเดก็ ที่มีลักษณะของปากทเ่ี ปดิ หรือมี น้าลายไหลตลอดเวลา ก. ใช้การกดหรอื แตะทีร่ ิมฝีปากบนเบา ๆ หรือกดเบา ๆ ท่ีริมฝปี ากล่างหลาย ๆ คร้งั ข. ใชก้ ารป้ายนา้ ผง้ึ ของหวาน หรอื อาหารเหนยี ว ๆ ท่ีเด็กชอบไวท้ ีด่ ้านบนของริมฝีปากบนและ ด้านล่างของริมฝปี ากล่าง ค. คอยบอกใหเ้ ด็กปิดปากทกุ คร้ังท่ีแสดงอาการปากเปดิ และน้าลายไหล ง. ใหเ้ ด็กไดใ้ ชล้ ้นิ เลียอาหารเหนียว ๆ จากชอ้ น หรือการดูดอมยม้ิ หรือให้เด็กได้ใชร้ ิมฝีปากทั้งสอง นาอาหารจากช้อนเขา้ ปาก 13. “Sensorineural Causes of Behaviors” เป็นพฤติกรรมที่มีสาเหตุจากขอ้ ใด ก. พฤติกรรมทีม่ ีสาเหตจุ ากประสาทรบั ความร้สู ึก ข. พฤตกิ รรมท่มี สี าเหตุจากร่างกายและสุขภาพ ค. พฤตกิ รรมทม่ี สี าเหตจุ ากงาน/กิจกรรม ง. พฤตกิ รรมทม่ี สี าเหตุจากการเคล่อื นไหวซา้ ๆ ที่ไร้ความหมาย 14. ข้อใดคือการเร่ิมตน้ การวางแผนแก้ไขพฤติกรรมการการทารา้ ยตนเอง ก. การบง่ ชพี้ ฤติกรรมการทาร้ายตนเองของเด็ก ข. การวิเคราะห์พฤติกรรมการทารา้ ยตนเองของเด็ก ค. การปรบั พฤตกิ รรมเด็กทันทเี ม่อื พบการทาร้ายตนเอง ง. การแทรงแซงพฤตกิ รรมเด็กทันทเี มอื่ พบการทาร้ายตนเอง 15. ข้อใดคอื เป้าสูงสดุ ของการจดั การศกึ ษาสาหรับบคุ คลพิการซอ้ น ก. การเตรียมความพร้อมด้านอาชีพ ข. การเตรยี มความพร้อมใหม้ ีชวี ติ อสิ ระพึง่ พาตนเองได้ ค. การเตรยี มความพร้อมด้านพฒั นาการร่างกาย ง. การเตรยี มความพร้อมด้านทักษะการส่ือสาร

16. ข้อใดหมายถงึ การจัดการเรยี นการสอนทักษะการดารงชีวิตสาหรบั บคุ คลพิการซ้อน ก. การสอนใหน้ ักเรยี นมที ักษะอาชีพ ข. การสอนใหน้ ักเรยี นมที ักษะการสื่อสาร ค. การสอนให้นกั เรยี นมที ักษะทางสงั คม ง. การสอนใหน้ ักเรียนมีทกั ษะในการทากจิ วตั รประจาวนั 17. ข้อใดคอื เทคนิคการสอนเพ่อื นาบุคคลพกิ ารซ้อนเข้ารว่ มทากจิ กรรมต่างๆ ก. เทคนิค Hand to Hand ข. เทคนิค Hand to Face ค. เทคนิค Face to Face ง. เทคนิค Mouth to Hand 18. ข้อใดคือวธิ ีการสอนท่เี หมาะสมทสี่ ดุ สาหรบั นักเรยี นพิการซอ้ น ก. การสอนทใี่ ช้การรับรู้หลายช่องทาง (Multisensory approach) ข. การสอนด้วยการวิเคราะห์งาน (Task Analysis) ค. การสอนด้วยการทากายภาพบาบดั (Physical Therapy) ง .การสอนให้นกั เรียนพิการมคี วามสามารถในการทากิจวัตรทเ่ี คยทาได้กอ่ นทีจ่ ะพิการ 19. ข้อใดไมใ่ ชห่ ลกั การของการออกแบบเพือ่ ให้ทกุ คนสามารถเขา้ ถึงและใชป้ ระโยชนไ์ ด้ (Universal Designed: UD) ก. เพือ่ ความเท่าเทยี ม (Equitable) ข. เพือ่ ความคลอ่ งตวั /ยดื หยุ่นในการใช้งาน (Flexibility) ค. เพื่อใชง้ านได้ไมซ่ ับซ้อนและเขา้ ใจงา่ ย (Simple and Intuitive) ง. เพื่อใหม้ ีความสวยงาม (Beautiful) 20. ขอ้ ใดหมายถงึ การฟ้นื ฟู . ก. การชว่ ยให้คนพิการมีความสามารถในการทากิจวตั รทเ่ี คยทาได้ก่อนท่จี ะพกิ าร ข. การรกั ษาโดยการทากายภาพบาบัด (Physical Therapy) ค. การรกั ษาดว้ ยกจิ กรรมบาบัด (Occupational Therapy) ง. การสอนนักเรียนพิการซ้อนด้วยวิธีการสอนท่ใี ช้การรับรหู้ ลายช่องทาง (Multisensory approach)

เฉลยแบบทดสอบทา้ ยบท ข้อ 1 ง. ขอ้ 11 ก. ขอ้ 2 ง. ข้อ 12 ค. ข้อ 3 ค. ข้อ 13 ก. ขอ้ 4 ค. ขอ้ 14 ก. ข้อ 5 ง. ข้อ 15 ข. ข้อ 6 ค. ข้อ 16 ง. ขอ้ 7 ค. ขอ้ 17 ก. ขอ้ 8 ง. ขอ้ 18 ก. ขอ้ 9 ก. ขอ้ 19 ง. ข้อ 10 ข. ข้อ 20 ก.

แบบเขยี นสะทอ้ นคดิ (Reflection Paper) ----------------------------------------- คำชี้แจง : โปรดใชค้ ำถำมต่อไปนีใ้ นกำรเขียนสะทอ้ นคิดจำกกำรศึกษำดว้ ยตนเอง ไม่เกนิ 2 หนำ้ กระดำษ 1. ท่ำนไดท้ รำบอะไรจำกกำรศึกษำชดุ เอกสำรศึกษำด้วยตนเองฉบับนี้? 2. หำกทำ่ นได้รบั ผดิ ชอบจัดกำรเรียนกำรสอนแก่บคุ คลพิกำรซอ้ นในห้องเรยี น ท่ำนจะนำควำมรู้ ที่ได้ ไปประยกุ ตใ์ ช้อยำ่ งไร 3. ทำ่ นเคยมีประสบกำรณ์หรือมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับกำรจัดกำรศกึ ษำสำหรบั บคุ คลพิกำรซ้อน อยำ่ งไร 4. ทำ่ นวำงแผนจะนำควำมรเู้ ก่ยี วกบั กำรจดั กำรศึกษำสำหรับบุคคลพิกำรซ้อนไปปฏบิ ตั ิอยำ่ งไร ในอนำคต

ภาคผนวก












Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook