ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี โดย นางสาวดาราพร กลิ่นถือศีล ม.5/12 เลขที่25
ประวัติส่ วนตัว ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิ ทวงศ์ เสนี นามเดิม ชื่อ แผ้ว นามสกุลเดิม คือ สุทธิบูรณ์ เกิด เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2466 และ ถึงแก่อนิ จกรรมเมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ การสมรส สมรสกับ หม่อมราชวงศ์ ตัน สนิ ทวงศ์ (พลตรี หม่อมสนิ ทวงศ์ เสนี ) การศึ กษา พ.ศ. 2454 เมื่ออายุได้ 8 ปี ได้เข้า ถวายตัวในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอเจ้าฟ้ าอัษฎางค์ เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา โดยในชั้นต้นได้เข้า ฝึ กหัดนาฏศิ ลป์ ต่อครู บาอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในราช สำนั กขณะนั้ น ได้ออกแสดงเป็ นตัวเอก ในการแสดง ถวายทอดพระเนตรหน้ าพระที่นั่ ง ในพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวหลายครั้ง พื้นความรู้วิชาสามัญ จบการศึ กษาตามหลักสูตรของโรงเรียนในวังสวน กุหลาบ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า อยู่หัว
ประวัติส่ วนตัว ด้านความรู้ทั่ วไปเกี่ยวกับสั งคมในต่างประเทศ ได้เคยติดตามร่วมไปกับพลตรี หม่อมสนิ ทวงศ์ เสนี (ม.ร.ว.ตัน สนิ ทวงศ์ ) เมื่อครั้งไปรับราชการเป็ นทูต ทหาร ณ ประเทศฝรั่งเศส อังกฤษ อิตาลี และ โปรตุเกส ความรู้ทางนาฏศิ ลป์ ได้รับการฝึ กหัดอบรมจากครู นาฏศิ ลป์ ในราชสำนั ก เช่น เจ้าจอมมารดาวาด (ท้าววรจันทร์) ในรัชกาลที่ 4 เจ้าจอม มารดาเขียน (ร.4) เจ้าจอมมารดาทับทิม (ร.5) หม่อมแย้ม (อิเหนา) ในสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริวงศ์ หม่อม อึ้ง ในสมเด็จพระบัณฑูรฯ จนมีความชำนาญและแสดงเป็ น ตัวเอกในการแสดงถวายทอดพระเนตรหน้ าพระที่นั่ งหลาย เรื่อง เช่น เป็ นตัวอิเหนา และนางดรสา ในเรื่องอิเหนา เป็ นตัวทศกัณฐ์และพระพิราพในเรื่องรามเกียรติ์ เป็ น ตัวนางเมขลาฯลฯ การรับราชการ เข้ารับราชการเป็ นลูกจ้างชั่วคราว ในตำแหน่ งผู้เชี่ยวชาญ นาฏศิ ลป์ ไทย กองการสังคีต กรมศิ ลปากร กระทรวง ศึ กษาธิการ เป็ นอาจารย์ที่ปรึกษาฝ่ ายวิชานาฏศิ ลป์ ของ สถาบันการศึ กษา องค์การ และเอกชนอื่นๆ
ผลงาน ผลงานเกี่ยวกับการแสดงศิ ลปะนาฏกรรม เช่น ท่ารำของ ตัวพระ นาง ยักษ์ ลิง และตัวประกอบ การแสดงโขน ละครชาตรี ละครนอก ละครใน ละครพันทาง และ ระบำฟ้ อนต่างๆ เป็ นผู้คัดเลือกการแสดง จัดทำบทและ เป็ นผู้ฝึ กสอน ฝึ กซ้อม อำนวยการแสดงถวายทอด พระเนตรหน้ าพระที่นั่ ง ในวโรกาสต้อนรับพระราช อาคันตุกะ อาคันตุกร และงานของรัฐบาล หน่ วยงาน องค์กรต่างๆ จัดต้อนรับเป็ นเกียรติแก่แขกผู้มาเยือน ประเทศไทย เป็ นผู้คัดเลือกตัวละครให้เหมาะสมตาม บทบาทในการแสดงต่างๆ เป็ นผู้คัดเลือกการแสดงวางตัว ศิ ลปิ นผู้แสดงต่างประเทศเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรี และ เผยแพร่ศิ ลปวัฒนธรรมไทยเป็ นผู้ฝึ กสอนและอำนวยการ ฝึ กซ้อมในการแสดงโขน ละคร การละเล่นพื้นเมิง ระบำ รำฟ้ อนต่างๆ ที่กรมศิ ลปากรจัดแสดงแก่ประชาชน ณ โรงละครแห่งชาติ สังคีตศาลา ในต่างจังหวัดและทาง สถานี โทรทัศน์ ต่างๆ ตลอดทั้งร่วมในงานของหน่ วย ราชการ องค์กร สถาบันการศึ กษา และเอกชน เป็ น วิทยากรบรรยายและตอบข้อซักถามในการอบรมวิชา นาฏศิ ลป์ และวรรณกรรม และเป็ นที่ปรึกษาในการสร้าง นาฏกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นด้วย
ผลงาน ในด้านบทวรรณกรรมสำหรับใช้แสดง ได้ค้นคิดปรับปรุ ง เสริมแต่งให้เหมาะสมกับยุคสมัย ดำเนิ นไปโดยถูกต้อง ตามระเบียบแบบแผนอันมีมาแต่ดั้งเดิม เช่น บทละครเรื่อง อิเหนา ตอนเข้าเฝ้ าท้าวดาหา ตอนลมหอบ ตอนอุณากรรม ชนไก่ ตอนบุษบาชมศาล ตอนศึ กกระหมังกุหมิง ตอนประ สันตาต่อนั ก เรื่องสังข์ทอง ตอนเลียบเมือง ตอนเลือกคู่ หาปลา ตอนตีคลี ตอนนางมณฑาลงกระท่อม เรื่องขุนช้าง ขุนแผน ตอนพลายเพชรพลายบัวออกศึ ก ตอนพระไวย แตกทัพ เรื่องไกรทอง ตอนที่ 1 ตะเภาแก้ว ตะเภาทอง และบริวารไปเล่นน้ำ ตอนที่ 2 ตามนางวิมาลากลับไปถ้ำ เรื่องพระอภัยมณี ตอนพบนางละเวง ตอนนางละเวงพบดิน ถนั น ตอนหนี นางผีเสื้อสมุทร เรื่องไชยเชษฐ์ ตอนนางสุ วิญชาถูกขัน ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 เรื่องมโนราห์ บาง ตอนเกี่ยวกับพรานบุญ เรื่องรถเสนบาง เรื่องแก้วหน้ าม้า ตอนถวายลูก เรื่องสังข์ศิ ลป์ ชัย ตอนท้าวเสนากุฏเข้าเมือง เรื่องเงาะป่ า เรื่องคาวี ตอนได้นางใจกลองศึ ก เรื่องสุวรรณ หงส์ ตอนเสี่ ยงว่าว-ชมถ้ำ บทโขน ตอน ปราบกากนาสูร ตอนไมยราพสะกดทัพ ตอนศึ กบรรลัยกัลป์ ตอนปล่อยม้า อุปการ
ผลงาน นอกจากนี้ ยังได้คิดประดิษฐ์กระบวนท่ารำขึ้นใหม่ไว้ อีกมาก เช่น กระบวนท่าร่ายรำในการแสดงโขนเรื่อง รามเกียรติ์ พระราชนิ พนธ์ในรัชกาลที่ 1-2 กระบวน ท่าร่ายรำในการแสดงนาฏกรรมของกรมศิ ลปากร และ กระบวนท่าร่ายรำชุดต่าง ๆที่กรมศิ ลปากรจัดแสดง ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฏีมาลา เข็มศิ ลปวิทยา เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 การสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะ เป็ นผู้รอบรู้ใน ศิ ลปวิทยาการด้านนาฏศิ ลป์ เสมือนศูนย์รวมศิ ลป วัฒนธรรมไทย ผู้เชี่ยวชาญในตำราฟ้ อนรำ สืบมา แต่สมัยโบราณ และมีความเชี่ยวชาญพิเศษในการ คิดค้นประดิษฐ์ลีลาท่ารำ ให้เหมาะสมกับยุคสมัย และดำเนิ นไปโดยถูกต้องตามระเบียบแบบแผน อันมีมาแต่โบราณ ไม่ว่าจะเป็ นท่วงท่า ท้าวพญามหา กษัตริย์ ขุนนาง และบุคคลสำคัญ ตลอดจนท่าทาง ของสัตว์ต่างๆ โดยสามารถคิดลีลาท่ารำได้อย่าง งดงาม และเหมาะสมกับบทบาท นอกจากนี้ ยังมีผล งาน การประพันธ์บทสำหรับแสดง ทั้งโขนและ ละคร
ผลงาน ระบำมิตรสัมพันธ์มั่นใจ ไทย-เกาหลี ประดิษฐ์ท่ารำ โดยท่านผู้หญิงแผ้ว สนิ ทวงศ์ เสนี การแสดงนาฏศิ ลป์ ไทย \"ลาวกระทบไม้\" ซึ่งลีลาท่ารำส่วน หนึ่ ง เป็ นการคิดประดิษฐ์ของท่านผู้หญิงแผ้ว สนิ ทวงศ์ เสนี
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: