Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัสดุงานโครงสร้างอาคารประเภทเหล็ก

วัสดุงานโครงสร้างอาคารประเภทเหล็ก

Published by ปัญญาวุธ ช่วยคง, 2021-06-06 15:47:39

Description: วัสดุงานโครงสร้างอาคารประเภทเหล็ก

Keywords: วัสดุก่อสร้าง,เหล็กเสริม

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 1 วัสดุงานโครงสร้ างอาคารประเภทเหล็ก อ.ปัญญาวุธ ช่วยคง แผนกช่างก่อสร้าง วทิ ยาลัยเทคนคิ สุราษฎร์ธานี

วัสดุงานโครงสรา งอาคารประเภทเหลก็ เหล็ก เปนโลหะท่ีใชในดานตางๆ มานาน สมัยโบราณใชทําอาวุธ เครื่องมือเกษตร เครื่องมือชาง ในสมัยตอมาใชทําเปนยานพาหนะ อุตสาหกรรมตางๆ และงานกอสราง เหล็กที่ถูกนํามาใชจึงตองมี คณุ ลกั ษณะทแ่ี ตกตางกัน เชน ความเหนยี ว ความแขง็ แกรง เหลก็ ไดมาจากการถลุงแรเหลก็ ตามธรรมชาติ มหี ลายชนดิ ดงั นี้ 1) เหล็กพิก 2) เหล็กเหนยี ว 3) เหล็กกลา 4) เหล็กหลอ 1. ชนดิ ของเหลก็ 1.1 เหล็กพิก (Pig Iron) เหล็กชนิดนี้ไดจากการหลอมแรเหล็กในเตาหลอม มีธาตุเหล็กประมาณ 90–94 เปอรเ ซนต มีคารบอนประมาณ 3.75–4.5 เปอรเซน็ ต มีซิลคิ อน 0.25–3.5 เปอรเ ซน็ ต มีฟอสฟอรัส 0.03–1 เปอรเซ็นต และมีกํามะถันไมถึง 0.1 เปอรเซ็นต เหล็กชนิดนี้ใชสําหรับงานหลอในวงการ อตุ สาหกรรม โดยใชห ลอเหล็กทอ ใชห ลอ เหล็กเหนยี ว ใชหลอเหลก็ กลา วตั ถดุ ิบที่ใชหลอเปน เหลก็ พิกนั้น ใชแรเหล็กเปนเช้ือเพลิงซึ่งใหความรอน ฟลักซซึ่งทําใหเกิดตะกรันที่ละลายชวยในการแยกถานและสิ่ง สกปรกออกจากแรและอากาศ แรเ หลก็ ในวงการคา อาจแบง ออกไดเปน 4 ชนิด คอื เหล็กออกไซด ไอออน

คารบอเนต ไอออนซิลิเกต และไอออนซัลเฟต ส่ิงสกปรกท่ีปนอยูในแรเหล็กกอนถลุงอาจมีทราย ดิน เหนยี ว ฯลฯ 1.2 เหลก็ เหนยี ว (Wrought Iron) เปน เหล็กทไี่ ดม าจากสว นผสมของเหล็กบริสุทธิ์กับตะกรันเศษ โลหะ ท่ไี ดจากการถลงุ แร คอื ใชเหล็กบริสทุ ธป์ิ ระมาณ 96 เปอรเ ซน็ ต ตะกรัน 3 เปอรเซน็ ต และผสมวสั ดุ อน่ื อีกประมาณ ½ - ¾ เปอรเ ซ็นต เชน คารบอน ฟอสฟอรสั กํามะถนั แมงกานสี วธิ ที ําเหลก็ เหนียวน้ันมี อยูหลายวิธี วิธีที่ใชกันอยูในปจจุบันมีอยู 2 วิธี คือ วิธีพุดดลิ้ง และวิธีแอสตัน ซ่ึงวิธีหลังจะใชมากกวาวิธี แรก รูปเตาหลอมแบบพดุ ดล้งิ การถลุงแบบพุดดลิ้งนั้น ใชเหล็กพิกกับเศษเหล็กมาหลอมละลายรวมกันในเตาขนาดเล็กซึ่งมีความจุ ประมาณ 230 กิโลกรมั แลว เผาหลอมดว ยถานหนิ สว นประกอบอ่ืนๆ เชน น้าํ มัน กาซ แรธาตุตางๆ จะถูก กําจัดออกไปโดยการเติมออกซิเจนซ่ึงจะไปจับตัวอยูที่วัสดุทนไฟซ่ึงบุผนังโดยรอบ สวนการถลุงแบบแอ สตันนั้นใชหลอมละลายเหล็กพิกในเตาหลอม ลาเอาไปใสในเตาแบบเบสซเิ มอรเพอื่ ใหบริสุทธิ์ขึ้น จากนน้ั จึงเทโลหะที่ละลายแลวนี้ลงไปในท่ีตัดซ่ึงมีปริมาณตะกรันที่ตองการจะผสมเตรียมไวแลวตามสวน แลว นําไปหลอมในเตาขนาดเล็ก เมื่อตะกรันมีอุณหภูมิทีต่ ่ํากวาเหล็กจะแขง็ ตวั เร็ว และจะไลก าซซง่ึ ละลานอยู ในเน้ือออกมา กาซนี้มีแรงเพียงพอที่จะแบงใหเหล็กแยกออกเปนชิ้นเล็กๆ ชิ้นเหล็กเล็กๆ เหลานี้จะ ตกตะกอนลงไปท่ีสว นลางของทต่ี กั ละลายติดกนั เปนกอนเหล็ก การถลุงแบบพุดดล้ิงน้ัน ใชเหล็กพิกกับเศษเหล็กมาหลอมละลายรวมกันในเตาขนาดเล็กซึ่งมี ความจุประมาณ 230 กิโลกรัม แลวเผาหลอมดวยถานหิน สวนประกอบอื่นๆ เชน น้ํามัน กาซ แรธาตุ ตางๆ จะถูกกําจัดออกไปโดยการเติมออกซิเจนซึ่งจะไปจับตัวอยูที่วัสดุทนไฟซ่ึงบุผนังโดยรอบ สวนการ ถลงุ แบบแอสตันนั้นใชหลอมละลายเหลก็ พิกในเตาหลอม ลาเอาไปใสในเตาแบบเบสซิเมอรเ พ่ือใหบริสุทธ์ิ ขึ้น จากนั้นจึงเทโลหะท่ีละลายแลวน้ีลงไปในท่ีตัดซึ่งมปี ริมาณตะกรันท่ีตองการจะผสมเตรยี มไวแลวตาม สวน แลวนําไปหลอมในเตาขนาดเล็ก เม่ือตะกรันมอี ุณหภมู ิที่ต่ํากวาเหล็กจะแขง็ ตัวเร็ว และจะไลกา ซซง่ึ ละลานอยใู นเน้อื ออกมา กาซน้มี ีแรงเพียงพอท่จี ะแบง ใหเหล็กแยกออกเปนช้นิ เล็กๆ ช้นิ เหลก็ เลก็ ๆ เหลานี้ จะตกตะกอนลงไปที่สวนลา งของทต่ี กั ละลายติดกันเปนกอ นเหลก็

ลกั ษณะของเหลก็ เหนยี วท่ีปรากฏจะดูคลายเหลก็ กลา มาก แตจ ะสงั เกตความแตกตา งไดโ ดยทํารอยแหวง ที่ ผิวเหล็ก แลวงอเหล็กไปในทิศตรงกันขามกับรอยแหวง เหล็กจะปริออกและเห็นเน้ือเหล็กท่ีหยาบ เหล็ก เหนียวจะไมใชเปนเหล็กโครงสราง (เชน คาน เสา) สวนใหญจะใชทํานอต ทอนํ้าและวัสดุอื่นๆที่เปน สนิม ไดยาก คุณสมบัติท่ีดีของเหล็กเหนียวก็คือ ทนไดดีตอการเปนสนิม เชื่อมไดงาย ดัดงอไดงาย มีการยึด เกาะกับวสั ดุเคลอื บไดด ี 1.3 เหลก็ หลอ (cast iron) เหลก็ หลอ โดยทั่วไปใชกับเหล็กท่เี รยี กวา iron – carbon silicon alloy ผสมกบั สารอนื่ ๆหลายชนิด ซ่งึ สารเหลา นม้ี ีเปอรเซนตผสมเพยี งเล็กนอ ย เปน เหล็กซง่ึ มีธาตุคารบอนผสมมาก และ เหล็กชนิดนี้จะมีสารผสมอยูอ ยางนอ ย 6 ชนิดดวยกัน คือ เหล็ก คารบอน ซิลิกอน แมงกานีส ฟอสฟอรสั และกาํ มะถนั นอกจกน้ียงั มีสารอ่ืนผสมอยอู กี ดว ย ชนิดของเหลก็ หลอ มีดงั น้ี 1.3.1 เหล็กหลอแบบตรง (direct iron casting) ไดมาจากการหลอจากเตาถลุงเหล็กแบบใชลม เปา เหล็กชนิดนี้มักจะเรียกวาเหล็กพกิ ไมเหมาะท่ีจะใชในงานการคาจนกวาจะไดหลอมในเตาแบบอืน่ ๆ อกี คร้ัง 1.3.2 เหล็กเทา (gray iron) เปนเหลก็ ที่ผลติ จําหนาย ชอื่ ทเี่ รียกนไ้ี ดม าจากสีของเหลก็ ซึง่ มาจา สกคารบอนทมี่ อี ยเู ปนสวนใหญในเหลก็ ซึ่งอยูใ นลักษณะของ flake graphite เหลก็ ชนิดน้ีทําเปนเครอ่ื งจักรกล ไดดี มีกําลังรับความกดไดดีแตมีกําลังรับแรงดึงนอย เปราะ เปอรเซนตของสารตางๆในเหล็กอาจ เปลย่ี นแปลงตามความเหมาะสมหรอื ความประสงคในการใชง าน 1.3.3 เหล็กขาว (white iron) จะมีรอยแตกระแหงเล็กๆสีขาวซ่ึงมาจากคารไบดที่รูจักกันใน นามของซเี มนไทต (cementite) ซึง่ เปนสว นทแ่ี ขง็ มากของเหลก็ ชนดิ นี้ เหลก็ ขาวเหล็กกลาเปน แรเหลก็ ที่ผสม ดวยเหล็กกลาและคารบอน เหล็กกลามีคุณสมบตั ิทางฟสิกสต างจากเหล็กพกิ และเหล็กหลอ เหล็กกลาใช ในงานเครื่องประดับหรือเคร่ืองสุขภัณฑ อางลางชาม อุปกรณกอสราง เชน บานพับ กุญแจ เปนตน มี เปอรเซนตของคารไบดสงู เอาไปทาํ เครือ่ งจกั รกลไมได แตเ มอื่ นาํ ไปชบุ ใหแขง็ จะทําเคร่ืองมือท่ีผิวตอ งการ ใหแขง็ เปนพเิ ศษได เชน วงลอรถยนต ลูกกลิง้ บด เปนตน 1.3.4 เหล็กหลอ มอตเติล (mottled cast iron) กรรมวิธกี ารผลิตเหลก็ ชนิดน้ีจะอยูระหวางเหล็ก เทาและเหล็กขาว ชื่อของเหลก็ น้ไี ดม าจากปรากฏการณหรอื ลกั ษณะของเน้ือเหลก็ ใชท ําวสั ดุท่ีผิวทนทาน เปนพเิ ศษซงึ่ ตอ งชบุ อกี ครัง้ หนึ่งเมอื่ หลอออกมาแลว 1.3.5 เหล็กหลอมัลลีเอเบิล (malleable cast iron) มีคารบอนผสมอยูในลักษณะของคารไบด อาจผลิตดวยเตาไฟฟา เตาคูโปลา หรือแบบแอรเฟอรนซ มีบอยคร้ังที่ใชทั้งเตาท้ัง 2 ชนิดรวมกันในการ ผลิต เหล็กชนิดน้ีถาเปนเหล็กอยางดีจะใชทํารางรถไฟ ทําเครือ่ งจกั รกล ซึง่ มีสวนกันกระเทือน ทาํ รถยนต ขอตอ ทอตางๆ เครื่องมือกสิกรรม ฯลฯ

1.3.6 เหลก็ หลอ กอ นกลม (modular iron) เปน เหลก็ ชนดิ ที่มีความแขง็ มาก ไมเปราะ มคี ารบอน ผสมอยใู นลักษณะของกอนแกไฟตก ลมๆ ผลิตโดยใชเหล็กเทาผสมกับแมกนีเซยี ม นิกเกลิ หรอื แมกนีเซยี ม ทองแดง อัลลอย เฟอรโรซิลิคอน ปริมาณแมกนีเซียมที่ตองการทําใหเกิดซัลไฟตนั้นแลวแตจํานวนของ กํามะถันท่ีมีอยู วิธีทําเหล็กชนิดน้ีใชเวลาในการหลอมตัวนอยกวาเหล็กหลออีมัลเอเบิล เม่ือไดปรับปรุง คุณภาพทางฟสิกสใหดีแลว สามารถใชสําหรับเพลาขอเหวี่ยงของรถยนต และใชหลอสวนตางๆของ เครือ่ งจกั ร 1.4 เหล็กกลา (Steel) เปนเหล็กที่ผสมดวยแรเหล็ก คารบอนและธาตุอ่นื บางชนิด เชน แมงกานสี ฟอสฟอรัส กํามะถัน ซิลิคอย สารเหลาน้ีถูกหลอมละลายเขาดวยกันท่ีอุณหภูมิท่ีเหมาะสม แลวทิ้งไวให เย็น แข็งตัว เหล็กชนิดน้ีไมมีตะกรันปนและอาจหลอเปนรูปตางไดรีดออกมาเปนเสนได หรือจะตีเปนรูป ตางๆได คารบ อนเปนสารประกอบท่ีสําคญั ทําใหเพ่ิมความแขง็ และเพม่ิ น้ําหนัก เหลก็ กลามีคุณสมบัติทาง ฟสิกสตางกับเหล็กพกิ และมีคุณสมบัติตางกับเหล็กหลอดวย โดยเหล็กกลาสามารถรีดออกมาเปนเสนได ส่ิงท่ีแตกตางกันระหวางเหล็กกลากับเหล็กเหนียวน้ันคือกรรมวิธีการผลิตมากกวาคุณสมบัติทางฟสิกส เหล็กกลาตางกับเหล็กพิกและเหล็กหลอโดยที่มันมีปริมาณเปอรเซ็นตคารบอนตํ่า และมีแรแมงกานีส ซิลิคอน และฟอสฟอรัสปนอยูนอยกวา เหล็กเสนที่ใชเสริมคอนกรีตในการกอสรางนั้นมีเปอรเซ็นต คารบ อนตา่ํ จัดอยใู นประเภทเหลก็ กลาละมุน การใชง านเหลก็ กลา ที่ผลิตออกมาน้ันมีการใชง านตา งๆ กัน ดงั น้ี 1.4.1 เหล็กตะแกรงขนมเปยกปูน เปนเหล็กกลาสําหรับการใชงานหนัก ใชเปนเหล็กเสริม พ้ืนคอนกรีต ทําถนน ทาํ ทาง คศล. หอ งเก็บของใตด นิ เปน ตน 1.4.2 เหลก็ สําหรบั ฉาบฝาขัดแตะ ใชก รุโครงผนังแลว ฉาบปนู ทับ 1.4.3 เหล็กตะแกรงยึดแบบมีสัน เปนเหล็กตะแกรงเหล็กกลามีความลึก 10 มิลลิเมตร ใชสาํ หรบั เปนฝาเพดาน 1.4.4 เหล็กตะแกรงสําหรบั ฉาบปูน ใชเ ปน ฝา เพดานและฝาฉาบปูทบั 2. สารประกอบทางเคมใี นเหลก็ มหี ลายชนดิ แตล ะชนิดมีคณุ สมบัตแิ ตกตา งกัน ดังนี้ 2.1 คารบอน ปรมิ าณของคารบ อนทําใหเหล็กมีความแข็ง 2.2 ซิลิคอน ทําใหเหลก็ มีความทนทานตอกรด การสกึ กรอน และชวยใหก ารเกาะตัวของคารบอน ดขี ้นึ ดว ย 2.3 แมงกานสี ทาํ ใหเ หลก็ มีความแข็ง และไหลเขาแบบไดดี 2.4 กํามะถัน ทําใหเกิดการรวมตัวกันของคารบอนทําใหเหล็กแข็ง แตจะทําใหการไหลเขาแบบ ยากขน้ึ และเกดิ รพู รุนในเนอ้ื เหลก็ จงึ ตองใชแ มงกานีสเขา ไปควบคุมปริมาณของกาํ มะถัน 2.5 ฟอสฟอรัส ทาํ ใหก ารไหลเขา แบบไดดี จุดละลายตาํ่ ลง และกันกระเทือนไดด ี

3. เหลก็ ท่ีนาํ มาใชใ นงานกอสรา ง 3.1 เหล็กเสริมคอนกรีต เหล็กเสริมคอนกรีตมีผิวเรียบ หรือขรุขระ มีมาตรฐานการใชงานของ เหล็ก เหล็กท่ีนิยมใชในงานกอสรางมาก คือเหล็กขอออย เพราะมีผิวขรุขระสามารถใหคอนกรีตเคลือบ เกาะไดดี ดงั นนั้ เหลก็ ที่ใชในงานเหล็กเสริมคอนกรีตมี 2 ชนดิ ภาพเหลก็ เสน ท่ใี ชในการเสริมคอนกรตี ในงานกอสราง 3.1.1 เหล็กเสนกลม มีลักษณะผิวเรียบ นิยมใชในงานเหล็กเสริมกันราว แตเหล็กเสนกลม บางขนาดไมมีการผลติ แลวเนื่องจากไมม ีการใชงานเปนท่นี ยิ มกัน เหลก็ เสน กลมมี 3 มาตรฐาน ดังน้ี 1) เหลก็ เสน กลมผวิ เรียบตามมาตรฐาน มอก.20-2559 เปนเหลก็ เหนียวกลมผวิ เรียบ ตามมาตรฐาน มอก. 20-2559 ชั้น SR 24 ขนาดเสนผานศูนยก ลางตัง้ แต 6-28 มิลลิเมตร ความยาว 10- 12 เมตร นอกจากน้ียังมหี มายเลขขนาดทุกเสนดวย เหล็กชนิดนเ้ี หมาะสําหรับใชในงานกอสรางขนาดเล็ก และขนาดกลางภายในประเทศ เชน บานพักอาศัย ทาวนเฮาส โรงเรียน คุณสมบัติของทางกลของเหล็ก ชนดิ นี้มีดงั ตอ ไปน้ี 1. ชน้ั คณุ ภาพเรียกวา SR 24 2. ความตา นทานแรงดึงทจี่ ดุ ยืด ไมนอ ยกวา 24 กิโลกรัมตอตารางเซนตเิ มตร 3. ความตา นทานแรงดงึ ไมนอยกวา 24 กโิ ลกรมั ตอ ตารางเซนตเิ มตร 4. ความยืดไมนอ ยกวา 21 เปอรเซน็ ต 5. สามารถดัดโคง เย็นเปน มมุ 180 องศารอบหมุด ซ่งึ มเี สน ผานศูนยกลาง 1.5 เทา ของขนาดเสนผานศูนยก ลางของเหล็กนั้น 2) เหลก็ เสนกลมชนิดเหลก็ รีดซํ้าตามมาตรฐาน มอก. 211-2520 เหลก็ เสริมคอนกรีต ที่กําหนดตามมาตรฐาน มอก.211-2520 เรื่อง เหล็กเสริมคอนกรีตชนิดเหล็กรีดซ้ํา หมายถึง เหล็กรีดซ้ํา

ชนิดเหลก็ กลา ละมุนท่จี ัดอยูในจาํ พวกเหล็กกลาท่ีมคี ารบอนอยอู ยางธรรมดา เพอ่ื ใชเสรมิ คอนกรีตสําหรับ งานกอสราง เหล็กรีดซํ้าดังกลาวตองทําข้ึนจากเศษเหล็กเฉพาะที่ไดจากเข็มพืด เหล็กแผนตอเรือ เศษ เหล็กแผน หรือเหล็กรูปหนาตัดตางๆ ทีท่ าํ ขึ้นสาํ หรับใชในงานกอสรางมารีดเปนเสน กลมดวยการรีดขณะ รอ น เหล็กชนิดน้ีใชส ญั ลักษณว า SRR 24 เหลก็ ชนดิ นที้ ผี่ ลิตออกมาเปนตามมาตรฐานจะตองมีปายผูกติด อยูทุกมัด ที่ปายนั้นจะตองมีตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายแสดงช่ือบริษทั ผูผลิต คําวา “เหล็กรีดซํา้ ” คําวา “SRR 24” ชอื่ ขนาด ขนาดความยาวเปน เมตร วนั เดอื นปทผ่ี ลติ 3) เหล็กเสนกลมชนิดเหล็กรีดซ้ําตามมาตรฐาน มอก.211-2527 เหล็กชนิดน้ีผลิต ตามมาตรฐาน มอก. 211-2527 ชั้น SRR 24 มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 6,9,12,15 มิลลิเมตร คุณสมบัติ ทางกลของเหล็กรดี ซํ้ามดี งั ตอ ไปนี้ 1. ชัน้ คุณภาพเรยี กวา SRR 24 2. ความตา นทานแรงดงึ ที่จดุ ยืน ไมน อ ยกวา 24 กิโลกรัมตอตารางเมตร 3. ความตา นทานแรงดึง ไมน อยกวา 24 กิโลกรมั ตอตารางเมตร 4. ความยืดไมนอยกวา 21 เปอรเ ซ็นต 5. สามารถดัดโคงเย็นเปนมุม 180 องศารอบหมุด ซ่ึงมีเสนผานศูนยกลาง 1.5 เทา ของขนาดเสนผา นศูนยก ลางของเหล็กน้ัน เหล็กทกุ เสนจะมีหมายเลขขนาด ชอื่ ยอ บริษัท และตราหลอติด กบั เหล็ก 3.1.2 เหล็กขอออย มีลักษณะผิวขรุขระ คอนกรีตสามารถเกาะประสานไดดี มีขนาด มาตรฐานตางๆ กันตามขนาดและโรงงานท่ีผลิต กรรมวิธีการผลิต คุณเหล็กท่ีนํามาผลิต การตรวจสอบ มาตรฐาน ความเหนียวของเหล็ก และท่สี าํ คญั ที่สุดการเลอื กหรือออกแบบใชเหลก็ ไดตรงกับงานประหยัด และปลอดภัย คุณภาพของเหล็ก เหล็กขอออยตามมาตรฐาน มอก.24–2548 ลักษณะของเหล็กขอออย จะมีปุมสันที่ผิวเหล็กเปนระยะๆ เพ่ือใหจับตัวกับคอนกรีตไดดีย่ิงข้ึน เหล็กชนิดนี้มีแรงยึดกับคอนกรีตสงู ฉะนั้นเมื่อใชเหล็กชนดิ น้ีเสริคอนกรตี จึงไมจําเปนตองงอปลายรูปขออยางเหล็กผิวเรียบธรรมดา เหล็กขอ ออยของบริษัทเหล็กสยาม จํากัด ผลิตตามมาตรฐาน มอก.24–2548 มีช้ันคุณภาพตางๆ คือ SD 30, SD 40, และ SD 50 มีขนาดเสนผา นศนู ยกลางตง้ั แต 10-32 มลิ ลเิ มตร ขนาดความยาว 10-12 เมตร 3.2 เหล็กรูปพรรณ เนื่องจากในปจจุบัน ไมเน้ือแข็งซ่ึงมักใชเปนโครงสราง มีราคาสูงและหา คุณภาพดีนั้นไดยาก ในการทําโครงสรางหลังคาบานพักอาศัยจึงนิยมใชเหล็กรูปพรรณหนาตัดตัว C ซึ่ง เรียกกันวา เหล็กไลตเกจ (light gage) แทนไม เชน จันทัน แป แตเนื่องจากเหล็กไลตเกจดังกลาวมีความ หนาเพียง 2.3 มิลลิเมตร จึงมีจุดออนที่รอยเช่ือมระหวางจันทันกับแป หากฝมือเช่ือมไมดีอาจทะลุท่ีรอย เชื่อม ทําใหเกิดสนิมไดงายภายในหลังคาความแข็งแรงดวยลง ถาจะใหโครงหลังคามีความแข็งแรงควรใช จนั ทนั แบบเหล็กรูปรางนาํ้ หนา 4 มิลลเิ มตร

3.3 ลวดผูกเหล็ก เปน เหล็กทใ่ี ชในงานกอสรางคอนกรีตเสริมเหลก็ โดยใชสาํ หรบั ผูกเหล็กที่เสริม ในโครงสรางคอนกรตี เขา ดวยกนั เชน ปลอกเหล็กในคานหรือเสา เหลก็ เสรมิ พื้นคอนกรีตเสรมิ เหลก็ ขนาด ท่ีเรียกกันในสมยั กอนคอื เหล็กเบอร 18 ปจ จบุ ันเรียกตามขนาดวา ลวดเหล็กขนาดเสน ผานศูนยกลาง 1.24 มิลลเิ มตร ลวดเหลก็ ของบรษิ ัทเหล็กสยามจัดทาํ โดยเหล็กกลาริมด ซ่งึ ข้ันแรกจะรดี ใหเล็กลงเหลือเสน ผาน ศูนยก ลาง 12 มลิ ลเิ มตร ตอมาจึงดงึ เยน็ ใหยืดเปนลวดเหล็กตามท่ีตอ งการ โรงงานผผู ลติ จะดึงลวดดงั กลาว ใหเล็กลงจนถึงขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.24 มิลลิเมตร สําหรับใชผูกเหล็กเสริมคอนกรีต ทําเปนขดๆ จาํ หนายเปนราคาตอนา้ํ หนกั ของลวด ลวดผูกเหล็กมีคณุ สมบตั ิ ดังน้ี 3.3.1 ความเคนดึงประลัยไมค ํ่ากวา 150-170 กิโลกรัมตอตารางเมตร แลวแตวาลวดน้นั จะ ใชใ นงานคอนกรีตอดั แรงกอ นหรืออัดแรงทหี ลัง 3.3.2 จุดยืดไมต่ํากวา 130-150 กิโลกรัมตอตารางเมตร (เมื่อลวดถูกดึงจนถึงจุดยืด และ ปลดนํา้ หนกั บรรทกุ ออกทั้งหมดในภายหลงั เสนลวดจะตองแสดงความยดื ตวั ตายไมเ กิน 0.2 เปอรเ ซน็ ต 3.3.3 ความยืดเม่อื ดึงขด ไมควรนอยกวา 3 เปอรเ ซ็นต 3.3.4 ความเคนทีอ่ นุญาตใหใชเปน 70-75 เปอรเซนตข องแรงดึงประลยั 4. การเกบ็ รักษาเหล็ก 4.1 ควรมโี รงกองเก็บ มหี ลงั คากันแดดกันฝน หากไมม หี ลงั คาควรมพี ลาสตกิ คลุม 4.2 เหล็กควรวางสูงจากพ้นื 30 – 50 เซนตเิ มตร ใหพ นดนิ หรือเทพน้ื เพอ่ื ใชกองเก็บกไ็ ด 4.3 วางเหล็กใหเ ปนขนาดหมวดหมูเดยี วกนั 4.4 เก็บใหห า งจากความชน้ื 4.5 หากเหลก็ เปนสนิมเขยี วเน่ืองจากเหลก็ เองก็ยังสามารถใชง านไดหากไมเ ปน สนมิ ถงึ เนอื้ ใน 4.6 หากเหล็กเปนสนิมเนือ่ งจากความชื้น นํ้าฝน ตองพิจารณาความเสียหายจากการเกิดสนิมวา สามารถใชงานตอไปไดหรือไม หรือตองท้ิง เพราะหากนํามาใชงานกําลังท่ีเหล็กจะรับแรงดึงจะไม เหมอื นเดมิ หรอื ไมสามารถรับแรงดึงไดเ ลย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook