Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore biography-ajahn-mun-bhuridatto-mutothai-pathipatipujsha

biography-ajahn-mun-bhuridatto-mutothai-pathipatipujsha

Description: biography-ajahn-mun-bhuridatto-mutothai-pathipatipujsha

Search

Read the Text Version

กาตัพพธรรม เพราะฉะนนั้ จงึ ไดต า งกันกับฌาณทีเ่ ปนโลกยี  พระธรรมเจดยี  : นวิ รณแ ลสังโยชนน ั้น ขา พเจา ทำไมจงึ ไมรจู กั อาการ คงรูจักแตชอื่ ของ นวิ รณแ ลสงั โยชน ? พระอาจารยม ั่น : ตามแบบในมหาสติปฏฐานพระพุทธเจาสอนสาวก ใหรูจักนิวรณแล สังโยชนพ ระสาวกของทา นตงั้ ใจกำหนดสังเกต ก็ละนวิ รณแ ลสงั โยชนได หมดจนเปนพระอรหันตโดยมาก สวนทา นทอี่ ินทรยี ออ น ยังไมเปน พระ อรหันต ก็เปนพระเสขบคุ คล สว นเราไมต ัง้ ใจไมสังเกตเปน แตจ ำวา นวิ รณ หรือสังโยชน แลวก็ตั้งกองพูดแลคิดไปจึงไมพบตัวจริงของนิวรณและ สังโยชน เมื่ออาการของนิวรณแลสังโยชนอยางไรก็ไมรูจัก แลวจะละ อยา งไรได พระธรรมเจดยี  : ถาเชนนั้นผูปฏิบัติทุกวันนี้ ที่รูจักลักษณะแลอาการของนิวรณแล สงั โยชนจ ะมบี างไหม ? พระอาจารยม่นั : มถี มไปชนดิ ทเี่ ปน สาวกตง้ั ใจรบั คำสอนแลประพฤติปฏิบัตจิ ริงๆ พระธรรมเจดีย : 101

นิวรณ 5 เวลาทเ่ี กดิ ขนึ้ ในใจมีลกั ษณะอยางไร จงึ จะทราบไดว าอยางน้ี คือ กามฉนั ท อยา งนค้ี ือพยาบาท หรอื ถนี ะมิทธะ อทุ ธัจจะกุกุจจะ วิจิกิจฉา และมชี ือ่ เสียงเหมอื นกับสงั โยชน จะตางกนั กบั สงั โยชนห รือวา เหมือนกัน ขอทานจงอธิบายลักษณะของนิวรณแลสังโยชนใหขาพเจา เขา ใจจะไดส งั เกตถูก ? พระอาจารยม น่ั : กามฉันทนวิ รณ คือ ความพอใจในกาม สว นกามนั้นแยกเปน สอง คือ กเิ ลสกามหนง่ึ วัตถุกามอยางหนึ่ง เชน ความกำหนัดในเมถุนเปนตน ชื่อ วากิเลสกาม ความกำหนัดในทรัพยสมบัติเงินทองที่บานนาสวน และ เครอื่ งใชส อยหรือบุตรภรรยาพวกพอ ง และสตั วเลี้ยงของเลี้ยงท่เี รยี กวา วิญญาณกทรพั ย อวิญญานกทรัพย เหลา นี้ ชือ่ วา วตั ถกุ าม ความคิด กำหนัดพอใจในสวนทั้งหลายเหลานี้ ชื่อวากามฉันทนิวรณ สวน พยาบาทนิวรณค ือ ความโกรธเคอื ง หรอื คิดแชงสัตวใ หพนิ าศ ชือ่ วา พยาบาทนิวรณ ความงวงเหงาหาวนอน ชอื่ วา ถนี ะมิทธนิวรณ ความ ฟุง ซานรำคาญใจ ชือ่ วา อุธัจจกุกกจุ จนิวรณ ความสงสัย ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ แลสงสัยในกรรมที่สัตวทำเปน เปน บาป หรอื สงสัย ในผลกรรมเหลา น้ี เปน ตน ชอื่ วา วจิ ิกิจฉารวม 5 อยางน้ี ชื่อวานวิ รณ เปนเคร่ืองกนั้ กางหนทางดี พระธรรมเจดี ีย : กามฉันทนิวรณ อธิบายเกี่ยวไปตลอดกระทั่งวิญญาณกทรัพย อ วิญญาณกทรพั ย วา เปน วตั ถกุ าม ถาเชนนัน้ ผูทย่ี งั ครองเรอื น ซ่ึงตอง 102

เกยี่ วของกับทรพั ยสมบตั อิ ัฐฬสเงินทองพวกพอ ง ญาตมิ ติ ร กจ็ ำเปน จะ ตอ งนกึ ถึงส่งิ เหลา นัน้ เพราะเกี่ยวเน่อื งกับตน ก็มเิ ปนกามฉันทนิวรณไป หมดหรอื ? พระอาจารยม ั่น : ถานึกตามธรรมดาโดยจำเปนของผูที่ยังครองเรือนอยู โดยไมไดกำหนัด ยินดีกเ็ ปน อญั ญสมนา คอื เปนกลางๆ ไมใ ชบญุ ไมใชบ าป ถา คิดถงึ วัตถุ กามเหลา นนั้ เกิดความยนิ ดีพอใจรกั ใครเปนหวง ยดึ ถือหมกมุนพวั พนั อยู ในวัตถกุ ามเหลานนั้ จงึ จะเปน กามฉนั ทนิวรณ สมดวยพระพุทธภาษติ ที่ ตรสั ไววา น เต กามา ยานิ จติ ฺรานิ โลเก อารมณท ่ีวิจติ รงดงามเหลาใดในโลก อารมณเหลานัน้ มิไดเ ปนกาม สงฺกปฺปราโค ปุรสิ สฺส กาโม ความกำหนัดอันเกดิ จากความดำริ นีแ้ หละ เปนกามของคน ติฐ€ นฺติ จิตฺรานิ ตเถว โลเก อารมณที่วิจิตรงดงามในโลก กต็ ้ังอยูอยา ง น้นั เอง อเถตฺถธีรา วนิ ยนฺติ ฉนทฺ ํ เม่อื ความจริงเปน อยางนนี้ กั ปราชญท ้ังหลาย จงึ ทำลายเสียได 103

ซึ่งความพอใจในกามนั้น นี่ก็ทำใหเห็นชัดเจนไดวา ถาฟงตามคาถา พระพุทธภาษิตนี้ ถานึกคิดถึงวัตถุกามตามธรรมดาก็ไมเปนกามฉันท นิวรณ ถา คิดนกึ อะไรๆ กเ็ อาเปนนิวรณเสยี หมด กค็ งจะหลีกไมพนนรก เพราะนิวรณเ ปน อกศุ ล พระธรรมเจดีย : พยาบาทนวิ รณนน้ั หมายความโกรธเคอื ง ประทุษรา ยในคน ถาความ กำหนัดในคน กเ็ ปนกเิ ลสการถูกไหม ? พระอาจารยม ่นั : ถูกแลว พระธรรมเจดีย : ความงวงเหงาหาวนอน เปนถีนะมิทธินิวรณ ถาเชนนั้นเวลาที่เรา หาวนอนมเิ ปนนิวรณทกุ คราวไปหรือ ? พระอาจารยม่ัน : หาวนอนตามธรรมดา เปน อาการรา งกายท่จี ะตอ งพักผอน ไมเ ปน ถนี ะ มิทธนวิ รณ กามฉนั ทหรอื พยาบาททเ่ี กิดข้ึนแลวก็ออ นกำลังลงไป หรือ ดับไปในสมัยนั้นมีอาการมัวซัวแลงวงเหงาไมสามารถจะระลึกถึงกุศลได จึงเปนถีนะมิทธนิวรณ ถาหาวนอนตามธรรมดา เรายังดำรง สตสิ ัมปชัญญะอยไู ดจ นกวาจะหลบั ไป จงึ ไมใชน วิ รณ เพราะถนี ะมิทธนิว รณเปนอกุศล ถาจะเอาหาวนอนตามธรรมดาเปนถีนมิทธแลว เราก็ 104

คงจะพน จากถีนะมิทธนิวรณไมไ ด เพราะตอ งมีหาวนอนทกุ วนั ดว ยกนั ทุก คน พระธรรมเจดีย : ความฟงุ ซา นรำคาญใจ ทีว่ า เปอ ุทธจั จกกุ กจุ จนิวรณนน้ั หมายฟงุ ไปในท่ี ใดบา ง ? พระอาจารยม น่ั : ฟุงไปในกามฉนั ทบา ง พยาบาทบา ง แตในบาปธรรม 14 ทานแยกเปน สองอยาง อุทธจั จะความฟุงซา น กกุ กุจจ ความรำคาญใจ แตในนิวรณ 5 ทานรวมไวเปนอยา งเดียวกนั พระธรรมเจดยี  : นิวรณ 5 เปน จิตหรอื เจตสิก ? พระอาจารยม ่นั : เปนเจตสิกธรรมฝา ยอกุศลประกอบกับจิตทเ่ี ปนอกศุ ล พระธรรมเจดีย : ประกอบอยา งไร ? พระอาจารยม ่ัน : เชนกามฉันทนิวรณก็เกดิ ในจิต ท่เี ปน พวกโลภะมลู พยาบาทกกุ กุจจนวิ 105

รณ กเ็ กิดในจิตทเี่ ปนโทสะมลู ถนี ะมทิ ธอุทธจั จะ วิจกิ ิจฉา ก็เกิดในจติ ที่ เปน โมหะมลู พระพุทธเจา ทรงเปรียบนวิ รณทัง้ 5 มาในสามัญญผลสูตร ทีฆนิกายสีลกั ขันธวรรค หนา 93 วา กามฉนั ทนิวรณ เหมือนคนเปน หน,้ี พยาบาทนวิ รณ เหมือนคนไขห นัก, ถีนมิทธนิวรณเหมืนอนคนติดใน เรือนจำ, อุทธัจจกุกกุจจนิวรณเหมือนคนเปนทาส, วิจิกิจฉานิวรณ เหมือนคนเดนิ ทางกนั ดารมีภัยนา หวาดเสยี ว เพราะฉะนนั้ คนท่เี ขาพน หน้ี หรือหายเจ็บหนัก หรือออกจากเรอื นจำ หรือพนจากทาส หรอื ได เดินทางถึงที่ประสงคพน ภัยเกษมสำราญ เขายอ มถงึ ความยินดีฉนั ใด ผูที่ พนนิวรณทัง้ 5 กย็ อมถึงความยินดีฉนั นั้น แลในสงั คารวสตู ร ในปจ จก นิบาต อังคุตตรนิยาย หนา 257 พระพุทธเจา ทรงเปรยี บนวิ รณดว ยนำ้ 5 อยา ง วาบุคคลจะสอ งเงาหนาก็ไมเ หน็ ฉนั ใด นวิ รณท ั้ง 5 เมอื่ เกิดขนึ้ ก็ ไมเหน็ ธรรมความดคี วามชอบฉนั นั้น กามฉันทนวิ รณ เหมอื นน้ำที่ระคน ดว ยสตี างๆ เชน สีคร่งั สีชมพู เปน ตน พยาบาทนวิ รณ เหมือนน้ำที่มี จอกแหนปดเสียหมด อุทธัจจกุกกุจจนิวรณเหมือนน้ำที่คลื่นเปนระลอก วจิ กิ จิ ฉานิวรณ เหมือนน้ำที่ขุน ขนเปนโคลนตม เพราะฉะนั้นนำ้ 5 อยา ง นี้ บุคคลไมอ าจสงดเู งาหนาของตนไดฉ นั ใด นิวรณท ้งั 5 ทเ่ี กิดขึ้น ครอบงำใจของบุคคลไมใ หเห็นธรรมความดคี วามชอบไดก ็ฉันนนั้ พระธรรมเจดีย : ทำไมคนเราเวลาไขหนักใกลจะตาย ก็ทำบาปกรรมความชั่วอะไรไมได แลวจะกลาววจีทจุ รติ ปากก็พดู ไมไ ด จะลวงทำกายทจุ รติ มือแลเทาก็ ไหวไมไ ดแ ลว ยังเหลอื แตค วามคดิ นึกทางใจนิดเดยี วเทา น้นั ทำไมใจ ประกอบดวยนวิ รณ จึงไปทุคติได ดไู มน าจะเปน บาปกรรมโตใหญอ ะไร 106

เลย ขอนีน้ า อศั จรรยนกั ขอทา นจงอธบิ ายใหข า พเจา เขาใจ ? พระอาจารยม ่นั : กิเลสเปน เหตใุ หก อ กรรมๆ เปน เหตุใหกอวบิ าก ทเ่ี รยี กวา ไตรวฏั นนั้ เชน อนุสัย หรือสังโยชนที่เกิดขึ้นในเวลานั้นชื่อวากิเลสวัฏ ผูที่ไมเคย ประพฤติปฏบิ ตั ิกท็ ำในใจไมแ ยบคาย ทีเ่ รียกวา อโยนิโส คดิ ตอออกไป เปนนวิ รณ 5 หรืออปุ กิเลส 16 จึงเปน กรรมวัฏฝายบาป ถาดับจติ ไปใน สมัยนั้น จึงไดวิบากวัฏที่เปนสวนทุคติ เพราะกรรมวัฏฝายบาปสงให อปุ มาเหมอื นคนปลูกตนไม ไปนำพชื พนั ธุข องไมท เ่ี บ่อื เมามาปลกู ไว ตน แลใบทเ่ี กดิ ขึ้นนัน้ ก็เปน ของเบื่อเมา แมผลแลดอกทอ่ี อกมา กเ็ ปนของ เบื่อเมาตามพืชพันธุเดิมซึ่งนำมาปลูกไวนิดเดียว แตก็กลายเปนตนโต ใหญไปไดเหมือนกนั ขอ น้ฉี ันใด จิตทเ่ี ศราหมองเวลาตาย ก็ไปทุคตไิ ดฉ ัน นน้ั แลเหมือนพืชพันธุแ หงผลไมท ่ดี ี มีกล่นิ หอมมรี สหวาน บคุ คลไปนำ พืชพันธุมานิดเดียวปลูกไวแมตนแลใบก็เปนไมที่ดีทั้งผลแลดอกที่ออกมา ก็ใชแลรบั ประทานไดต ามความประสงค เพราะอาศัยพืชที่ดีซึ่งนำมานดิ เดยี วปลกู ไว ขอ นฉ้ี ันใด จิตทเ ปน กศุ ลผอ งใสแลวตายในเวลาน้นั จึงไปสู สคุ ตไิ ดส มดวยพระพุทธภาษติ ที่วา จติ เฺ ต สงฺกลิฏเฐ ทุคคฺ ติ ปาฏิกงฺขา เวลาตายจติ เศราหมอง แลว ทคุ ตเิ ปน หวังได จิตเฺ ต อสงฺกลิ ฎิ เฐ สุคตปิ าฏิกงฺขา จติ ผอ งใสไมเ ศราหมองเวลาตายสคุ ติ เปนหวังได 107

พระธรรมเจดีย : อโยนิโสมสสกิ าโร ความทำในใจไมแยบคาย โยนิโสมนสกิ ารโร ความทำ ในใจแยบคาย 2 อยา งนนั้ คอื ทำอยางไรชือ่ วาไมแยบคาย ทำอยา งไรจงึ ช่อื วาแยบคาย ? พระอาจารยมนั่ : ความทำสุภนิมิตไวในใจ กามฉันทนิวรณที่ยังไมเกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้น แลวก็งอกงาม ความทำปฏฆิ ะนมิ ิตไวใ นใจ พยาบาทนวิ รณท ่ยี ังไมเ กดิ ก็ เกดิ ขึ้น ท่เี กดิ ข้นึ แลวก็งอกงามอยางน้ี ชื่อวา ทำในใจไมแยบคาย การทำ อสุภสญั ญาไวในใจ กามฉนั ทนวิ รณท ย่ี งั ไมเกิดกไ็ มเ กดิ ขึน้ ท่เี กิดข้ึนแลว ก็ เสอ่ื มหายไป การทำเมตตาไวในใจ พยาบาทนิวรณท ยี่ ังไมเกดิ กไ็ มเกดิ ข้ึน ที่เกดิ ขน้ึ แลวกเ็ สือ่ มหายไป เชนน้ีเปนตวั อยาง หรือความทำในใจอยา งไร ก็ตาม อกศุ ลทย่ี ังไมเ กดิ ก็เกิดขน้ึ ทเี่ กดิ ขน้ึ แลวกง็ อกงาม ก็ชื่อวา ทำในใจ ไมแ ยบคาย หรอื จะคิดนกึ อยางไรก็ตามกุศลทย่ี งั ไมเ กิดกเ็ กิดขนึ้ ที่เกิดขนึ้ แลว ก็บริบรู ณ อยางน้ชี ่ือวาทำในใจแยบคาย สมดว ยสาวกภาษติ ท่พี ระ สารบี ุตรแสดงไวใ นพระทสุตตรสูตรหมวด 2 วา โย จ เหตุ โย จ ปจจฺ โย สตตฺ านํ สงกฺ ลิ สฺสาย ความไมท ำในใจโดยอบุ าย อนั แยบคายเปน เหตดุ ว ยเปน ปจ จยั ดวย เพื่อความเศราหมองแหงสตั วท งั้ หลาย 1 โย จ เหตุ โย จ ปจจฺ โย สตตฺ านํ วิสทุ ฺธยิ า ความทำในใจ โดยอบุ าย แยบคาย เปนเหตดุ วยเปนปจจยั ดวย เพ่อื จะไดบรสิ ุทธ์แิ หงสัตวทง้ั หลาย 108

พระธรรมเจดีย : ทีว่ า อนสุ ยั กับสังโยชนเ ปนกเิ ลสวฏั สว นนิวรณห รืออปุ กเิ ลส 16 วาเปน กรรมวัฏเวลาที่เกิดขึ้นนั้น มีอาการตางกันอยางไร จึงจะทราบไดวา ประเภทนี้เปน นิวรณ หรืออุปกิเลส 16 ? พระอาจารยมน่ั : เชน เวลาตาเห็นรปู หูไดย ินเสียง จมูกไดด มกล่ิน ลน้ิ ไดลิ้มรส กายถูก ตอ งโผฎฐัพพะ รธู มั มารมณดวยใจ 6 อยา งนี้ แบงเปน 2 สว น สวนท่ดี ี นนั้ เปน อิฎฐารมณ เปนทตี่ ั้งแหง ความกำหนัด ยินดีสว นอารมณ 6 ทไ่ี มด ี เปนอนฎิ ฐารมณ เปน ท่ตี ง้ั แหง ความยนิ ราย, ไมช อบ, โกรธเคือง ผูท่ยี ัง ไมรูความจรงิ หรือไมม ีสติเวลาทต่ี าเหน็ รูปท่ดี ี ยงั ไมท นั คิดวา กระไรกเ็ กิด ความยนิ ดีกำหนัดพอใจข้ึน แคนเ้ี ปนสงั โยชน ถาคิดตอมากออกไป ก็ เปน กามฉนั ทนิวรณ หรอื เรยี กวา กามวิตกก็ได หรือเกิดความโลภอยาก ไดท ผ่ี ดิ ธรรม ก็เปน อภชิ ฺฌาวสิ มโลโภท่ีอยใู นอปุ กิเลส 16 หรือใน มโนกรรม อกุศลกรรมบถ 10 ชนดิ นี้ ประกอบดวยเจตนา เปน กรรมวัฏ ฝายบาป เวลาตาเห็นรูปที่ไมดีมไมทันคิดวากระไร เกิดความไมชอบ หรือเปนโทมนัสปฏิฆะขึ้นไมประกอบดวยเจตนาแคนี้เปนปฏิฆะสังโยชน คือ กเิ ลสวฏั ถา คิดตอออกไปถงึ โกรธเคอื งประทุษรายกเ็ ปนพยาบาท นิวรณ หรอื ุปกเิ ลส หรืออกศุ ลกรรมบถ 10 ชนดิ นี้ ก็เปน กรรมวัฏฝา ย บาป เพราะประกอบดวยเจตนา นีช่ ีใ้ หฟง เปนตวั อยาง แมก ิเลสอน่ื ๆก็พงึ ตัดสนิ ใจอยางนีว้ า กเิ ลสทีไ่ มตั้งใจใหเกดิ กเ็ กดิ ขน้ึ ไดเ อง พวกน้ีเปนอนุสัย หรอื สังโยชน เปนกเิ ลสวฏั ถา ประกอบดวยเจตนา คอื ยืดยาวออกไปก็ กรรมวัฏ 109

พระธรรมเจดยี  : ถาเชนนั้นเราจะตัดกิเลสวัฏ จะตดั อยางไร ? พระอาจารยม ั่น : ตองตัดไดดวยอริยมรรค เพราะสังโยชนก็ไมมีเจตนา อริยมรรคก็ไมมี เจตนาเหมือนกนั จึงเปน คูปรับสำหรบั ละกัน พระธรรมเจดยี  : ถา การปฏบิ ัตขิ องผดู ำเนนิ ยงั ออ นอยู ไมสามารถจะตดั ได สงั โยชนก ย็ งั เกิดอยู แลวกเลยเปนกรรมวัฏฝายบาปตอออกไป มิตองไดวิบากวัฏที่ เปนสวนทคุ ตเิ สยี หรอื ? พระอาจารยมน่ั : เพราะอยางนนั้ นะซิ ผทู ี่ยงั ไมถ ึงโสดาบนั จงึ ปด อบายไมได พระธรรมเจดยี  : ถาเชน นัน้ ใครจะไปสวรรคไดบ างเลา ในชั้นผูปฏบิ ัตทิ ่ียังไมถ ึงโสดาบัน ? พระอาจารยม่นั : ไปไดเ พราะอาศัยเปลยี่ นกรรม สังโยชนย งั อยูก จ็ ริง ถาประพฤติทุจริต กาย วาจา ใจ เวลาตายใจเศรา หมองก็ตอ งไปทคุ ติ ถา มาต้งั ใจเวน ทุจรติ อยูในสุจริตทางกาย วาจา ใจ แลเวลาตายก็ไมเศราหมองก็มี 110

สตสิ มั ปชัญญะกไ็ ปสคุ ตไิ ด เพราะเจตนาเปนตวั กรรม กรรมมี 2 อยาง กณฺหํ เปน กรรมดำ คอื ทจุ ริต กาย วาจา ใจ สกุ กฺ ํ เปนกรรมขาว คอื สุจรติ กาย วาจา ใจ ยอมใหผ ลตา งกนั พระธรรมเจดีย : ผูท ย่ี ังมีชีวิตอยูไดประพฤติสจุ รติ กาย วาจา ใจ เวลาตายใจเศรา หมอง มิตอ งไปทคุ ตเิ สียหรอื หรือผทู ี่ประพฤติทจุ รติ กาย วาจา ใจ แตเ วลา ตายใจเปน กศุ ล มิไปสคุ ติไดหรอื ? พระอาจารยม่นั : ก็ไปไดนะ ซี ไดเ คยฟงหนังสือของสมเด็จพระวนั รตั (ทับ) วดั โสมนัสบาง หรือเปลา เวลาลงโบสถทา นเคยแสดงใหพ ระเณรฟง ภายหลังไดมาจดั พมิ พกันขึ้น รวมกับขออน่ื ๆทา นเคยแสดงวา ภกิ ษรุ ักษาศีลบรสิ ุทธิ์ เวลา จะตายหว งในจีวร ตายไปเกดิ เปน เลน็ แลภิกษุอกี องคห นึง่ เวลาใกลจ ะ ตายนกึ ขึ้นไดว า ทำใบตะไครน้ำขาด มองหาเพื่อนภิกษทุ ่จี ะแสดงอาบตั กิ ็ ไมม ใี คร ใจกก็ งั วลอยูอยา งนั้นแหละ ครั้นตายไปกเ็ กดิ เปน พญานาค แล อบุ าสกอีกคนหนึง่ เจริญกายคตาสติมาถงึ 30 ป กไ็ มไดบ รรลุคณุ วเิ ศษ อยางใด เกิดความสงสยั ในพระธรรม ตายไปเกดิ เปน จระเข ดวยโทษ วจิ กิ จิ ฉานิวรณ สวนโตเทยยะพราหมณนน้ั ไมใ ชผ ูปฏบิ ัติ หว งทรพั ยที่ฝง ไว ตายไปเกิดเปน ลูกสนุ ขั อยูในบานของตนเองดว ยโทษกามฉันทนิวรณ เหมอื นกัน แลนายพรานผหู นึ่งเคยฆาสตั วม ากเวลาใกลจะตายพระสารี บุตรไปสอนใหรับไตรสรณคมน จิตก็ตั้งอยูในกุศลยังไมทันจะใหศีลนาย พรานกต็ ายไปสสู ุคติ ดวยจิตทเี่ ปนกุศล ตง้ั อยูในไตรสรณคมน นีก่ เ็ ปน 111

ตัวอยางของผูที่ตายใจเศราหมองหรือบริสุทธิ์ กรรมของผูที่กระทำใน เมอ่ื เวลาใกลจ ะตายน้ัน ชอ่ื วา อาสันนกรรม ตองใหผลกอ นกรรมอ่นื ๆ ทานเปรียบวา เหมอื นโคอยใู กลป ระตูคอก แมจะแกก ำลังนอย กต็ อ ง ออกไดกอ น สว นโคอ่นื ถึงจะมีกำลังมาก ทอ่ี ยูขา งใน ตอ งออกทีหลงั ขอนี้ ฉันใด กรรมทบ่ี ุคคลทำเม่ือใกลจะตายจึงตอ งใหผลกอนฉนั นน้ั พระธรรมเจดีย : สว นอนุสยั แลสงั โยชนเปน กิเลสวัฏนวิ รณ หรืออุปกเิ ลส 16 หรือ อกศุ ล กรรมบถ 10 วา เปนกรรมวฏั ฝา ยบาป สวนกรรมวัฏฝายบญุ จะไดแก อะไร ? พระอาจารยมนั่ : กามาวจรกุศล รูปาวจรกศุ ล อรูปาวจรกุศล เหลานี้ เปนกรรมวัฏฝาย บญุ สง ใหวบิ ากวฏั คอื มนุษยสมบัติบาง สวรรคสมบตั บิ าง พรหมโลก บาง พอเหมาะแกกศุ ลกรรมทท่ี ำไว พระธรรมเจดีย : ถา เชน นน้ั กรรมท้ังหลาย ทสี่ ตั วทำเปน บุญก็ตาม เปนบาปกต็ าม ยอ มให ผลเหมอื นเงาทไ่ี มพรากไปจากตนฉะนั้นหรอื ? พระอาจารยม ัน่ : ถูกแลว สมดวยพระพุทธภาษิตท่ีตรัสไวในอภณิ หปจ จเวกขณวา กมมฺ สสฺ โกมหฺ ิ เราเปน ผมู ีกรรมเปนของๆตน กมฺมทาโย เปน ผูรับผลของกรรม 112

กมมฺ โยนิ เปน ผูม กี รรมเปนกำหนด กมมฺ พนฺธุ เปน ผูมกี รรมเปน เผาพนั ธุ กมฺมปฏิสรโณ เปนผูม ีกรรมเปนท่ีพง่ึ อาศยั ยํ กมฺมํ กริสฺสามิ เราจกั ทำกรรมอนั ใด กลยฺ าณํ ว ปาปกํ วา ดีหรอื ช่ัว ตสํสา ทายาโท ภวิสฺสามิ เราจักเปน ผรู บั ผลของกรรมนั้น พระธรรมเจดยี  : อนสุ ัยกับสังโยชน ใครจะละเอียดกวากัน ? พระอาจารยม ัน่ : อนสุ ยั ละเอยี ดกวา สงั โยชน เพราะสงั โยชนน้ัน เวลาทจี่ ะเกดิ ขนึ้ อาศัย อายตนะภายในอายตนะภายนอกกระทบกนั เขาแลวเกดิ วญิ ญาณ 6 ชือ่ วา ผสั สะ เมอื่ ผทู ่ีไมม สี ติ หรอื ไมร คู วามจรงิ เชนหูกบั เสยี งกระทบกันเขา เกดิ ความรูข้ึน เสยี งท่ีดีก็ชอบ เกิดความยินดพี อใจ เสยี งที่ไมด ี กไ็ มชอบ ไมถ ูกใจ ท่ีโลกเรียกกันวาพื้นเสยี เชนนแ้ี หละช่อื วา สงั โยชน จึงหยาบ กวาอนสุ ัย เพราะอนสุ ยั นน้ั ยอ มตามนอนในเวทนาทง้ั 3 เชน สขุ เวทนา เกิดขึ้น ผูที่ไมเคยรูความจริง หรือไมมีสติ ราคานุสัยจึงตามนอน ทกุ ขเวทนาเกดิ ขน้ึ ปฏิฆานุสยั ยอ มตามนอน อุทกขมสขุ เวทนาเกิดขึน้ อวิชชานุสยั ยอ มตามนอน เพราะฉะนั้นจึงละเอียดกวา สงั โยชน และมี พระพทุ ธภาษติ ตรัสไวใน มาลงุ โกฺย วาทสตู ร วาเด็กออนทน่ี อนหงายอยู ในผาออม เพียงจะรูจักวานี่ตานี่รูป ก็ไมมีในเด็กนั้น เพราะฉะนั้น สังโยชนจึงไมมีในเด็กที่นอนอยูในผาออม แตวาอนุสัยยอมตามนอนใน เดก็ นั้นได 113

พระธรรมเจดีย : อนสุ ยั นน้ั มปี ระจำอยูเสมอหรือ หรือมีมาเปนครั้งเปน คราว ? พระอาจารยม ัน่ : มมี าเปน ครั้งคราว ถามีประจำอยูเสมอแลวกค็ งจะละ ไมไ ด เชนราคานุสัยกเ็ พ่มิ มาตามนอนในสขุ เวทนา หรอื ปฏฆิ านสุ ยั กเ็ พิ่ง มาตามนอนในทุกขเวทนา หรืออวิชชานุสัยก็เพิ่งมาตามนนในอทุกขม สุขเวทนา ตามนอนไดแตผ ูท่ไี มรูความจริง หรอื มสี ตกิ ็ไมต ามนอนได เรือ่ ง นไ้ี ดอธิบายไวในเวทนาขนั ธแ ลว พระธรรมเจดยี  : แตเดิมขาพเจาเขาใจวาอนุสัยตามนอนอยูในสันดานเสมอทุกเมื่อไป เหมือนอยางขต้ี ะกอนทนี่ อนอยกู น โองน้ำ ถา ยงั ไมม ใี ครมาคน กย็ ังไมข ุน ขึน้ ถา มใี ครมาคนก็ขุนขน้ึ ได เวลาทไี่ ดรับอารมณทด่ี ี เกดิ ความกำหนดั ยินดีพอใจขึ้น หรือไดรับอารมณที่ไมดีก็เกิดปฏิฆะหรือความโกรธขึ้น เขา ใจวา น่ีแหละขนุ ขนึ้ มา ความเขา ใจเกา ของขาพเจามผิ ิดไปหรือ ? พระอาจารยม น่ั : ก็ผิดนะซี เพราะเอานามไปเปรยี บกับรูป คอื โองก็เปน รูปทไ่ี มมีวญิ ญาณ น้ำก็เปนรูปที่ไมมีวิญญาณ แลขี้ตะกอนกนโองก็เปนรูปไมมีวิญญาณ เหมอื นกนั จึงขังกนั อยไู ด สวนจิตเจตสกิ ของเรา เกดิ ข้ึนแลวดับไป จะขงั เอาอะไรไวไ ด เพราะกเิ ลสเชนอนุสัยหรือสงั โยชน ก็อาศยั จิตเจตสกิ เกดิ ขนึ้ ชวั่ คราวหนงึ่ เมื่อจิตเจตสกิ ในคราวน้นั ดับไปแลว อนุสัยหรือสงั โยชน จะตกคางอยูกับใคร ลองนึกดูเมื่อเรายังไมมีความรัก ความรักนั้นอยู 114

ที่ไหน ก็มีขน้ึ เม่อื เกดิ ความรักไมใชหรอื หรือเมือ่ ความรกั น้ันดับไปแลว ก็ ไมม ีความรักไมใชห รือ และความโกรธเม่อื ยงั ไมเกดิ ขนึ้ กไ็ มม เี หมอื นกัน มี ข้ึนเมือ่ เวลาทโ่ี กรธ เมอ่ื ความโกรธดับแลว กไ็ มม ีเหมือนกนั เรื่องน้เี ปน เร่ืองละเอียดเพราะไปติดสัญญาทจ่ี ำไวนานแลววา อนสุ ัยนอนอยเู หมือน ขี้ตะกอนทน่ี อนอยูกน โอง พระธรรมเจดีย : กอ็ นสุ ัยกับสงั โยชนไมมีแลว บางคราวทำไมจึงมีขนึ้ อกี ไดเ ลา ขา พเจา ฉงนนัก แลวยงั อาสวะอกี อยางหนึง่ ทีว่ า ดองสนั ดานน้นั เปน อยางไร ? พระอาจารยมน่ั : ถาพูดถงึ อนสุ ยั หรอื อาสวะแลว เราควรเอาความวา ความเคยตวั เคยใจ ทเ่ี รียกวากิเลสกับวาสนาท่พี ระสมั มาสมั พุทธเจา ละไดท ้ัง 2 อยา ง ท่พี ระ อรหนั ตสาวกละไดแ ตกิเลสอยา งเดยี ววาสนาละไมได เราควรจะเอาความ วาอาสวะหรืออนุสัยกิเลสเหลานี้เปนความเคยใจ เชนไดรับอารมณที่ดี เคยเกิดความกำหนัดพอใจ ไดรบั อารมณทีไ่ มดี เคยไมชอบไมถกู ใจ เชน น้ี เปนตน เหลานแี้ หละควรรูสกึ วาเปนเหลา อนสุ ัย หรืออาสวะเพราะความ คนุ เคยของใจ สว นวาสนาน้ัน คือความคุน เคยของ กาย วาจา ทตี่ ิดตอ มาจากเคยแหงอนสุ ยั เชน คนราคะจรติ มีมรรยาทเรยี บรอ ย หรือเปน คนโทสะจริตมีมรรยาทไมเรียบรอย สวนราคะแลโทสะนั้นเปนลักษณะ ของกิเลส กิริยามารยาทท่เี รยี บรอ ยแลไมเรียบรอ ย นน่ั เปน ลักษณะของ วาสนานก่ี ็ควรจะรไู ว 115

พระธรรมเจดีย : ถาเชน นน้ั เราจะละความคุน เคยของใจ ในเวลาทไี่ ดรบั อารมณทด่ี หี รือไม ดี จะควรประพฤตปิ ฎบิ ตั อิ ยา งไรดี ? พระอาจารยมัน่ : วิธีปฏบิ ัติทจี่ ะละความคนุ เคยอยางเกา คืออนุสัยแลสังโยชน กต็ อ งมา ฝกหัดใหคุนเคยในศีลแลสมถวิปสสนาขึ้นใหม จะไดถายถอนความคุน เคยเกา เชน เหลาอนสุ ยั หรือสงั โยชนใหหมดไปจากสันดาน พระธรรมเจดีย : สวนอนสุ ัยกับสงั โยชน ขาพเจา เขา ใจดแี ลว แตส วนอาสวะนัน้ คอื กามา สวะ ภวาสวะ อวชิ ชาสวะ 3 อยางน้ันเปนเครอ่ื งดองสนั ดาน ถาฟง ดตู าม ช่อื ก็ไมน าจะมีเวลาวา ง ดูเหมือนดองอยกู บั จติ เสมอไปหรอื ไมไดดองอยู เสมอ แตสวนตัวขาพเจาเขาใจไวแตเดิมสำคัญวาดองอยูเสมอขอนี้เปน อยางไร ขอทานจงอธิบายใหขาพเจาเขา ใจ ? พระอาจารยม ่ัน : ไมรูวาเอาอะไรมาซอกแซกถาม ไดตอบไวพรอมกับอนุสัยแลสังโยชน แลว จะใหต อบอีกกต็ อ งอธิบายกันใหญ คำท่วี าอาสวะเปน เครื่องดองน้ัน ก็ตองหมายความถึงรูปอีกนั่นแหละ เชนกับเขาดองฝกก็ตองมีภาชนะ เชนผกั อยา งหนงึ่ หรือชามอยางหน่ึงและน้ำอยา งหนึ่ง รวมกัน 3 อยาง สำหรับเชนกันหรือของที่เขาทำเปนแชอิ่มก็ตองมีขวดโหลหรือน้ำเชื่อม สำหรับแชข อง เพราะสิง่ เหลาน้ีเปน รูปจึงแชแลดองกันอยูได สว นอาสวะ 116

น้ันอาศยั นามธรรมเกดิ ขนึ้ นามธรรมกเ็ ปนสิ่งทไี่ มม ตี วั อาสวะก็เปน สิ่งท่ี ไมมีตวั จะแชแลดองกนั อยูอยางไรได นนั่ เปนพระอุปมาของพระสัมมา สัมพทุ ธเจา ทรงบัญญตั ขิ ึ้นไววา อาสวะเครอ่ื งดองสันดาน คอื กิเลสมี ประเภท 3 อยา ง เรากเ็ ลยเขาใจผดิ ถือม่ันเปนอภนิ ิเวส เห็นเปนแชแ ล ดองเปนของจรงิ ๆจังๆไปได ความจรงิ ก็ไมมอี ะไร นามและรูปเกดิ ขนึ้ แลว กด็ บั ไป อะไรจะมาแชแลดองกนั อยไู ด เพราะฉะนนั้ ขอใหเ ปล่ียนความ เหน็ เสยี ใหมทีว่ าเปนนนั่ เปน นี่ เปน จริงเปน จังเสียใหได ใหห มดทกุ ส่ิงที่ได เขาใจไวแ ตเ กา ๆแลว ก็ตง้ั ใจศกึ ษาเสียใหมใ หต รงกับความจริง ซงึ่ เปน สัมมาปฏิบตั ิ พระธรรมเจดยี  : จะทำความเหน็ อยางไรจงึ จะตรงกบั ความจริง ? พระอาจารยม ั่น : ทำความเหน็ วา ไมม ีอะไร มีแตส มมตแิ ลบัญญัติ ถาถอนสมมติแลบญั ญตั ิ ออกเสียแลวก็ไมมีอะไร หาคำพูดไมได เพราะฉะนั้นพระพุทธเจาทรง บญั ญัติ ขันธ 5 อายตนะ 6 ธาตุ 6 นามรูป เหลานกี้ เ็ พื่อจะใหรูเรื่องกนั เทา นน้ั สวนขนั ธแ ลอายตนะ ธาตุ นามรปู ผปู ฏบิ ตั ิควรกำหนดรูวาเปน ทกุ ข สวนอนสุ ัยหรือสังโยชน อาสวะ โยคะ โอฆะ นวิ รณ อุปกิเลสเปน สมทุ ยั อาศยั ขันธห รืออายตนะหรือนามรูปเกิดขน้ึ นนั้ เปนสมุทยั เปน สว น หนึ่งท่ีควรละ มรรคมีองค 8 ยนเขาคอื ศีล สมาธิ ปญญา เปน สวนทค่ี วร เจริญ ความส้ินไปแหงกิเลส คอื อนสุ ัยหรือสังโยชน ชื่อวานิโรธ เปน สวนควรทำใหแจงเหลานี้แหละเปนความจริง ความรูความเห็นใน 4 117

อริยสัจนแ้ี หละเปนความจรงิ ความรูความเหน็ ใน 4 อริยสัจนแ้ี หละคือ เหน็ ความจรงิ ละ พระธรรมเจดีย : สาธุ ขาพเจาเขา ใจแจมแจง ทีเดียว แตเมื่ออาสวะไมไ ดดองอยเู สมอ แลว ทำไมทา นจงึ กลาววา เวลาทพ่ี ระอรหันตส ำเรจ็ ข้ึนใหมๆ โดยมากแลวทไ่ี ด ฟงมาในแบบทานรูวาจิตของทานพนแลวจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ ขา พเจาจึงเขา ใจวา ผูท ยี่ งั ไมพน กต็ อ งมอี าสวะประจำอยูก ับ จิตเปน นิตยไ ป ไมมเี วลาวา ง กวาจะพนไดก็ตองเปนพระอรหนั ต ? พระอาจารยม่ัน : ถาขืนทำความเห็นอยูอยางนี้ ก็ไมมีเวลาพนจริงดวย เมื่ออาสวะอยู ประจำเปนพื้นเพของจิตแลวก็ใครจะละไดเลา พระอรหันตก็คงไมมีใน โลกไดเ หมือนกัน นค่ี วามจรงิ ไมใ ชเชน นี้ จิตนัน้ สว นหน่งึ เปน ประเภททุกข สจั อาสวะสวนหนงึ่ เปนประเภทสมทุ ัย อาศัยจติ เกิดข้นึ ช่ัวคราว เม่ือจติ คราวนนั้ ดับไปแลว อาสวะประกอบกับจิตในคราวนัน้ ก็ดบั ไปดว ย สว น อาสวะทเี่ กดิ ขน้ึ ไดบอยๆน้นั เพราะอาศยั การเพงโทษ ถา เราจักตั้งใจเพง โทษใครๆ อาสวะกจ็ ะเกิดไดด วยยากเหมอื นกนั สมดวยพระพทุ ธภาษติ ท่ี ตรสั ไววา ปรวชชฺ านุปสสฺ สํ สฺ เมอ่ื บุคคลตามมองดู ซ่ึงโทษของผอู ่นื นจิ จฺ ํ อชฺฌาน สฺญโิ น เปน บคุ คลมคี วามหมายจะยกโทษเปน นติ ย อาสวา ตสสฺ วฑฺฒนฺติ อาสวะทง้ั หลายยอ มเจริญขนึ้ แกบ คุ คลน้นั อารา โส อา สวกขฺ ยา บคุ คลนัน้ เปนผหู างไกลจากธรรมท่สี ิ้นอาสวะ ถาฟง ตามคาถา พระพุทธภาษิตนี้ก็จะทำใหเราเห็นชัดไดวาอาสวะนั้นมีมาในเวลาที่เพง 118

โทษ เรายังไมเพงโทษอาสวะก็ยังไมมีมาหรือเมื่อจิตที่ประกอบดวยอา สวะคราวนน้ั ดบั ไปแลวอาสวะก็ดบั ไปดว ย ก็เปนอันไมเ หมือนกัน การท่ี เห็นวาอาสวะมีอยูเสมอจงึ เปนความเห็นผิด พระธรรมเจดีย : อาสวะ 3 น้นั กามาสวะเปน กเิ ลสประเภทรัก อวิชชาสวะเปน กเิ ลส ประเภทไมรู แตภวาสวะนน้ั ไมไดความวาเปนกเิ ลสประเภทไหน เคยไดฟง ตามแบบทา นวา เปน ภพๆอยางไรขาพเจาไมเขาใจ ? พระอาจารยม น่ั : ความไมรูความจริงเปนอวิชชาสวะ จึงไดเขาไปชอบไวในอารมณที่ดีมี กามเปนตนเปนกามสวะ เมื่อไมชอบไวในท่ใี ด ก็เขาไปยึดถอื ต้งั อยใู นที่ นน้ั จึงเปน ภวาสวะน่ีแหละ เขา ใจวาเปน ภวาสวะ พระธรรมเจดีย : ภวะทานหมายวา ภพ คือ กามภพ รปู ภพ อรปู ภพไมใ ชห รอื ทำไมภพถึง จะมาอยูในใจของเราไดเ ลา ? พระอาจารยม ั่น : ภพทใ่ี นใจน่ลี ะซสี ำคัญนกั จงึ ไดต อใหไ ปเกิดในภพขา งนอก กล็ องสังเกต ดู ตามแบบท่เี ราไดเคยฟง มาวา พระอรหันตท งั้ หลายไมม ีกเิ ลสประเภท รัก และไมมีอวิชชาภวะตัณหาเขาไปเปนอยูในที่ใด แลไมมีอุปาทาน ความชอบความยินดียดึ ถือในส่งิ ทงั้ ปวง ภพขางนอก คอื กามภพ รปู ภพ 119

อรูปภพ ตลอดจนกระทง่ั ภพ คอื สทุ ธาวาสของทานน้นั จงึ ไมมี พระธรรมเจดีย : อาสวะ 3 ไมเหนมีกเิ ลสประเภทโกรธ แตทำไมการเพงโทษนนั้ เปน กเิ ลส เกลียดชังขาดเมตตา กรณุ า เพราะอะไรจงึ ไดม าทำใหอาสวะเกิดข้ึน ? พระอาจารยม่ัน : เพราะความเขา ไปชอบไปเปน อยใู นสงิ่ ใดที่ถกู ใจของตน ครน้ั เขามาทำที่ ไมชอบไมถูกใจจึงไดเขาไปเพงโทษ เพราะสาเหตุที่เขาไปชอบไปถูกใจ เปนอยูในสิ่งใดไวซึ่งเปนสายชนวนเดียวกัน อาสวะทั้งหลายจึงไดเจริญ แกบ ุคคลนนั้ พระธรรมเจดยี  : ความรนู ัน้ มหี ลายอยา ง เชน กบั วญิ ญาณ 6 คือ ความรทู าง หู ตา จมกู ล้นิ กาย ใจ หรือ ความรูในเรื่อง โลภ โกรธ หลง รษิ ยา พยาบาท หรอื รู ไปในเรื่องความอยากความตองการ หรือคนที่หยิบเล็กหยิบนอยนิด หนอ ยก็โกรธ เขากว็ าเขารูทั้งนัน้ สวนความรูใ นรปู ฌาณหรอื อรปู ฌาณ ก็เปนความรูชนิดหนึ่ง สวนปญญาที่รูเห็นไตรลักษณแลอริยสัจก็เปน ความรเู หมอื นกัน สว นวชิ ชา 3 หรือวชิ ชา 8 กเ็ ปนความรพู เิ ศษอยา งย่ิง เม่อื เปน เชนน้ี ควรจะแบงความรูเหลานเ้ี ปนประเภทไหนบา ง ขอทานจง อธิบายใหข า พเจาจะไดไ มปนกัน ? พระอาจารยมน่ั : 120

ควรแบง ความรูท าง ตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ วา เปน ประเภททกุ ขสัจ เปน สวนทคี่ วรกำหนดรูวาเปน ทุกข สวนความโลภ ความโกรธ ความหลง ริษยา พยาบาท ความอยากความตองการเปนสมทุ ยั เปนสว นควรละ ความรูในรปู ฌาณแลอรปู ฌาณ แลความรใู นไตรลักษณ หรืออริยสัจเปน มรรค เปนสวนทคี่ วรเจริญ วชิ ชา 3 หรอื วชิ ชา 8 น้นั เปน นโิ รธ เปน สวนทค่ี วรทำใหแ จง พระธรรมเจดีย : อะไรๆกเ็ อาเปน อริยสัจ 4 เกือบจะไมม ีเร่ืองอืน่ พดู กัน ? พระอาจารยม่ัน : เพราะไมรอู ริยสัจทัง้ 4 แลไมทำหนาทก่ี ำหนดทุกข ละสมุทยั แลทำนิโรธ ใหแจงแลเจริญมรรค จึงไดรอนใจกันไปทั่วโลก ทานผูทำกิจถูกตาม หนา ท่ขี องอริยสัจ 4 ทา นจงึ ไมมีความรอ นใจ ท่พี วกเราตอ งกราบไหวท ุก วนั ขา พเจาจงึ ชอบพดู ถึงอรยิ สจั พระธรรมเจดีย : ตามทข่ี า พเจาไดฟ งมาวา สอุปาทเิ สสนิพพานนนั้ ไดแกพ ระอรหนั ตท ย่ี งั มชี ีวติ อยู อนุปาทิเสสนพิ พานนัน้ ไดแ กพระอรหันตท ่ีนพิ พานแลว ถา เชน นน้ั ทา นคงหมายความถึงเศษนามรูป เนื้อแลกระดูกท่เี หลืออยนู ีเ่ อง ? พระอาจารยม่ัน : ไมใ ช ถา เศษเนือ้ เศษกระดูกท่ีหมดแลววา เปน อนุปาทิเสสนพิ พาน เชน 121

น้นั ใครๆตายกค็ งเปนอนุปาทเิ สสนิพพานไดเหมือนกนั เพราะเนอ้ื แลกระ ดกู ชวี ิตจติ ใจกต็ อ งหมดไปเหมอื นกัน พระธรรมเจดีย : ถาเชนน้ันนิพพานท้ัง 2 อยางนจ้ี ะเอาอยางไหนเลา ? พระอาจารยมั่น : เร่อื งนม้ี พี ระพุทธภาษิตตรัส สอุปาทิเสสสตู รแกพ ระสารบี ตุ ร ในอังคตุ ต รนิกาย นวกนิบาตหนา 31 ความสงั เขปวา วันหนึ่งเปน เวลาเชาพระสา รีบุตรไปเที่ยวบิณฑบาตร มีพวกปริพพาชกพูดกันวา ผูที่ไดบรรลุสอุ ปาทเิ สส ตายแลว ไมพนนรก กำเนดิ ดิรจั ฉาน เปรตวสิ ยั อบายทคุ ติ วินิบาต ครนั้ พระสารบี ุตรกลับจากบณิ ฑบาตรแลวจึงไปเฝา พระผมู พี ระ ภาคกราบทูลตามเนื้อความที่พวกปริพาชกเขาพูดกันอยางนั้น พระผูมี พระภาคตรัสวา สอปุ าทิเสสบคุ คล 9 จำพวกคือ พระอนาคามี 5 จำพวก พระสกทิ าคามี จำพวกหนึง่ พระโสดาบัน 3 จำพวก ตายแลว พนจากนรก กำเนิดดริ ัจฉาน เปรตวสิ ัย อบายทุคติวินบิ าต ธรรมปรยิ าย นี้ยังไมแจมแจง แกภิกษุ ภกิ ษุณี อุบาสก อุบาสิกาเลย เพราะไดฟง ธรรม ปริยายนีแ้ ลวจะประมาท แลธรรมปริยายนเ้ี ราแสดงดวยความประสงค จะตอบปญหาท่ีถามในสอุปาทิเสสสตู รน้ี ไมไดต รสั ถึงอนปุ าทิเสส แตก็ พอสนั นษิ ฐานไดว า อนุปาทิเสสคงเปนสว นของพระอรหนั ต พระธรรมเจดีย : ถาเชนนั้นทานก็หมายความถึงสังโยชน คือกิเลสที่ยังมีเศษเหลืออยูวา 122

เปน สอปุ าทิเสนิพพาน สวนสังโยชนทหี่ มดแลว ไมม ีสวนเหลอื อยู คือพระ อรหตั ผล วาเปนอนปุ าทเิ สสนิพพาน ? พระอาจารยมน่ั : ถูกแลว พระธรรมเจดีย : ถาเราพูดอยางนี้ คงไมมีใครเห็นดวย คงวาเราเขาใจผิดไมตรงกับเขา เพราะเปนแบบสั่งสอนกันอยูโดยมากวา สอุปาทิเสสนิพพานของพระ อรหันตที่ยังมีชีวิตอยู อนุปาทิเสสนิพพานของพระอรหันตที่นิพพาน แลว ? พระอาจารยม น่ั : ขาพเจาเหน็ วา จะเปนอรรถกาท่ีขบ พระพทุ ธภาษติ ไมแตกแลว กเ็ ลยถอื ตามกันมา จึงมีทางคัดคานไดไมคมคายชัดเจน เหมือนที่ทรงแสดงแก พระสารีบตุ ร ซง่ึ จะไมม ีทางคดั คา นได หมายกิเลส นพิ พานโดยตรง พระธรรมเจดีย : สอุปาทิเสสสูตรนี้ ทำไมจึงไดตรัสหลายอยางนัก มีทั้งนรก กำเนิด ดิรัจฉาน เปรตวิสยั อบายทุคตวิ ินิบาต สวนในพระสตู รอืน่ ๆ ถาตรสั ถึง อบายก็ไมตองกลาวถึงนรก กำเนิดดิรัจฉาน เปรตวิสัย อบายทุคติ วนิ ิบาต ? 123

พระอาจารยมน่ั : เห็นจะเปนดวยพระสารีบุตรมากราบทูลถามหลายอยาง ตามถอยคำ ของพวกปรพิ พาชกทีไ่ ดย ินมา จงึ ตรสั ตอบไปหลายอยา ง เพอ่ื ใหตรงกับ คำถาม พระธรรมเจดีย : ขา งทา ยพระสตู รน้ี ทำไมจึงมีพทุ ธภาษติ ตรัสวา ธรรมปริยายนี้ ยงั ไม แจมแจง แกภ ิกษุ ภิกษณุ ี อุบาสก อบุ าสกิ าเลย เพราะไดฟง ธรรมปริยาย นี้แลวจะประมาท แลธรรมปริยายน้ีเราแสดงดว ยความประสงคจะตอบ ปญ หาทถี่ าม ? พระอาจารยมน่ั : ตามความเขา ใจของขา พเจา เหน็ จะเปนดวยพระพุทธประสงค คงมงุ ถึง พระเสขบคุ คล ถา ไดฟ ง ธรรมปรยิ ายน้ีแลว จะไดค วามอบอุนใจ ทไี่ มตอง ไปทคุ ตแิ ลความเพยี รเพอ่ื พระอรหันตจะหยอ นไป ทา นจงึ ไดตรัสอยางน้ี พระธรมเจดยี  : เห็นจะเปนเชนนี้เอง ทานจึงตรัสวาถาไดฟงธรรมปริยายนี้แลวจะ ประมาท? พระอาจารยม ั่น : ตามแบบที่ไดฟ งมาโดยมาก พระพุทธประสงค ทรงเรงพระสาวก ผยู งั ไม พน อาสวะ ใหร บี ทำความเพียรใหถึงท่สี ดุ คือพระอรหันต 124

125


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook