Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore buddhist lent

buddhist lent

Published by lnwphasakorn, 2018-06-27 04:59:24

Description: buddhist lent

Search

Read the Text Version

เน่ืองในวนั อาสาฬหบชู า ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๖และวนั เขา้ พรรษาพระสงฆ์ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ขออนุโมทนาบญุ กบั ทา่ น ผ้บู รหิ าร คุณครแู ละนกั เรยี นทุก ทานพระครูสธุ ีวรสาร ดร.

เจาคณั ฑสี ถปู สถานทพี่ ระพุทธเจ้าพบปญั จวคั คยี ท์ ง้ั ๕อยูห่ ่างป่ าอสิ ิปตนะ ๑ กม.สงู ๗๔ ฟุตเตจอ่ ้ามหาะมาพย.ศนุ .๒๐๓๑ พระเจ้าอกั บารซ์ ่อมแซมเป็ นรปู ๖ เหลย่ี ม อนุสรณพ์ ระ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ธมั เมกขสถปู สถานทพ่ี ระพุทธเจ้าทรงแสดงธมั มจกั กปั ปวตั ตน สตู ร ไมค่ วรหมกมนุ่ ตดิ อยใู่ นกามคุณไมค่ วรทรมานตน จงิ จงั กบั ส่ิงทไ่ี มจ่ รี งั จนเกดิ ทกุ ขห์ า สุขไมไ่ ด้พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

วนั อาสาฬหบชู า ต ร ง กั บ วั น ขึ้ น ๑ ๕ คา่ เ ดื อ น ๘• วนั ขนึ้ ๑๕ คา่ เดอื น ๘ เป็ นวนั ทพ่ี ระ พทุ ธองคท์ รงแสดงธรรมหรอื หลกั ธรรมที่ ทรงตรสั รู้ เป็ นครง้ั แรกแกเ่ บญจวคั คยี ท์ ง้ั ๕ ณ มฤคทายวนั ตาบลอสิ ิปตนะ เมอื ง พาราณสี ในชมพทู วปี สมยั โบราณ• ธรรมเทศนาทท่ี รงแสดงครง้ั แรกจงึ ไดช้ อ่ื วา่ ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร แปลวา่ พระสตู ร แหง่ การหมนุ วงลอ้ ธรรม หรอื พระสตู รแหง่ การแผข่ ยายธรรมจกั รพระครูสธุ ีวรสารดร. กลา่ วคอื ดนิ แดน

ใจความ สาคญั ของปฐมเทศนาก. มชั ฌมิ าปฏปิ ทาหรอื ทางสายกลาง เป็ นข้อปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็ นกลาง ๆ ถกู ต้องและ เหมาะสมทจ่ี ะให้บรรลถุ งึ จุดหมายได้ มใิ ช่การ ดาเนนิ ชวี ติ ทเี่ อยี งสุด ๒ อยา่ ง หรอื อยา่ งหน่ึง อยา่ งใด คอื๑. การหมกมนุ่ ในความสขุ ทางกาย มวั เมาในรปู รส กลน่ิ เสียง เป็ นการหลงเพลดิ เพลนิ หมกมนุ่ ในกามสขุ หรอื กามสขุ ลั ลกิ านุโยค๒. การสรา้ งความลาบากแกต่ นดาเนินชวี ติ อยา่ ง เลอื่ นลอย เช่น บาเพ็ญตบะการทรมานตน คอยพง่ึ อานาจส่ิงศักดพระคสิร์ ูสธุ ีวิทรสารดธร. ิ์ เป็ นตน การดาเนิน

• เพอื่ ละเว้นห่างจากการปฏบิ ตั ทิ างสดุ เหลา่ นี้ ตอ้ งใช้ทางสายกลาง เป็ น การดาเนินชวี ติ ดว้ ยปญั ญา โดยมหี ลกั ๘ ประการ เรยี กวา่ อรยิ ฏั ฐงั คกิ มคั ค์ หรอื มรรคมอี งค์ ๘ ไดแ้ ก่๑. สัมมาทฏิ ฐิ เห็นชอบ คอื ร้เู ขา้ ใจ ถกู ตอ้ ง เห็นตามทเ่ี ป็ นจรงิ๒. สัมมาสังกปั ปะ ดารชิ อบ คอื คดิ สจุ รติ ตง้ั ใจทาส่ิงทด่ี งี าม๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบพระครูสธุ ีวรสารดร. คอื กลาว

๕. สัมมาอาชวี ะ อาชพี ชอบ คอื ประกอบ สัมมาชพี หรอื อาชพี ทส่ี จุ รติ๖. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คอื เพยี ร ละชว่ั บาเพ็ญดี๗. สัมมาสติ ระลกึ ชอบ คอื ทาการดว้ ย จติ สานึกเสมอ ไมเ่ ผลอพลาด๘. สัมมาสมาธิ ตง้ั จติ มน่ั ชอบ คอื คมุ จติ ให้แน่วแน่มน่ั คงไมฟ่ ้ งุ ซ่าน พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ข. อรยิ สัจ ๔ แปลวา่ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ ของอรยิ ะ ซง่ึ คอื บุคคลที่ ห่างไกลจากกเิ ลส ไดแ้ ก่๑. ทุกข์ ไดแ้ ก่ ปญั หาทง้ั หลายทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั มนุษย์ บคุ คลตอ้ งกาหนดรใู้ ห้ เทา่ ทนั ตามความเป็ นจรงิ วา่ มนั คอื อะไร ตอ้ งยอมรบั รกู้ ลา้ ส้ กู บั ปญั หา กลา้ เผชญิ ความจรงิ ตอ้ งเขา้ ใจใน สภาวะโลกวา่ ทกุ พสระครูส่ิธุงีวรสาไรดร.มเ่ ทย่ี ง มกี าร

๒. สมุทยั ไดแ้ ก่ เหตุเกดิ แห่งทกุ ข์ หรอื สาเหตุของปญั หา ตวั การสาคญั ของทกุ ข์ คอื ตณั หาหรอื เส้ นเชอื ก แห่งความอยากซง่ึ สัมพนั ธก์ บั ปจั จยั อน่ื ๆ๓. นโิ รธ ไดแ้ ก่ ความดบั ทกุ ข์ เรม่ิดว้ ยชวี ติ ทอ่ี สิ ระ อยอู่ ยา่ งร้เู ทา่ ทนัโลกและชวี ติ ดาเนินชวี ติ ดว้ ยการใช้ปญั ญา พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

แสดงป ฐ ม เท ศ น าป ร า ก ฏ ว่ า โ ก ณฑญั ญะได้เกิดเข้าใจธรรม เกดิ ดวงตาในธรรมจกั ษุ บรรลุเป็ นโสดาบนัจงึ ทูลขอบรรพชาและถอื เป็ นพระภกิ ษุสาวกรู ป แ ร ก ใ นพระพทุ ธศาสนามชี ื่อว่า อญั ญาโกณ พระครูสธุ ีวรสารดร.

ความหมายของอาสาฬหบชู า (อา-สาน-หะ-บ-ู ชา/อา-สาน-ละ-หะ-บ-ู ชา)• การบชู าเพอ่ื ระลกึ ถงึ เหตกุ ารณส์ าคญั ใน เดอื น ๘ หรอื เรยี กให้เต็มวา่ อาสาฬหบรู ณมบี ชู า• โดยสรปุ วนั อาสาฬหบชู า แปลวา่ การบชู าในวนั เพ็ญ เดอื น ๘ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

วนั เข้าพรรษาตรงกบั วนั แรม ๑ คา่ เดอื น ๘• \"เขา้ พรรษา\" แปลวา่ \"พกั ฝน\" หมายถงึ พระภกิ ษุสงฆต์ อ้ งอยปู่ ระจา ณ วดั ใดวดั หน่ึงระหวา่ งฤดฝู น• โดยทพี่ ระภกิ ษุในสมยั พุทธกาล มี หน้าทจี่ ะตอ้ งจารกิ โปรดสัตว์ และเผย แผพ่ ระธรรมคาส่ังสอนแกป่ ระชาชน ไปในทตี่ า่ ง ๆ ไมจ่ าเป็ นตอ้ งมที อี่ ยู่ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

• ชาวบา้ นจงึ ตาหนิวา่ ไปเหยยี บขา้ วกลา้ และพชื อนื่ ๆ จนเสียหาย• พระพุทธเจ้าจงึ ทรงวางระเบยี บการจา พรรษาให้พระภกิ ษุอยปู่ ระจาทต่ี ลอด ๓ เดอื น ในฤดฝู น คอื• เรม่ิ ตง้ั แตว่ นั แรม ๑ คา่ เดอื น ๘ ของทกุ ปี ถา้ ปีใดมเี ดอื น ๘ สอง ครง้ั ก็เลอ่ื นมาเป็ นวนั แรม ๑ คา่ เดอื นแปดหลงั และออกพรรษาในวนั พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ผ้านอกจากบรขิ ารแปด• \"ผ้าอาบน้าฝน\" คอื ผ้าสาหรบั อธษิ ฐาน ไวใ้ ช้นุ่งอาบน้าฝนตลอด ๔ เดอื น แห่งฤดฝู น เรยี กอกี อยา่ งวา่ \"ผ้าวสั สิกสาฏกิ า\"• \"ผ้าจานาพรรษา\" คอื ผ้าทที่ ายกถวาย แกพ่ ระสงฆผ์ ้อู ยจู่ าพรรษาครบแลว้ ใน วดั น้นั ภายในเขตจวี รกาลเรยี กอกี พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

การปฏบิ ตั ติ นของชาวพทุ ธ• การปฏบิ ตั ติ น ในวนั นี้หรอื กอ่ นวนั นี้หน่ึง วนั พุทธศาสนิกชนมกั จะจดั เครอื่ ง สักการะเช่น ดอกไม้ ธปู เทยี น เครอื่ งใช้ เช่น สบู่ ยาสีฟนั เป็ นตน้ มาถวายพระภกิ ษุ สามเณร ทต่ี นเคารพ นบั ถอื• ทส่ี าคญั คอื มปี ระเพณหี ลอ่ เทยี นขนาด ใหญเ่ พอ่ื ให้จดุ บชู าพระประธานในวดั อยู่ ไดต้ ลอด ๓ เดอื นพระครูสธุ ีวรสารดร.

กจิ กรรมตา่ งๆทคี่ วรปฏบิ ตั ใิ นวนั เข้าพรรษา๑. รว่ มกจิ กรรมทาเทยี นเพอื่ จดุ บชู าพระให้ แสงสวา่ งในพรรษา๒. รว่ มพธิ เี วยี นเทยี นเน่ืองในวนั อาสาฬหบชู า๓. รว่ มกจิ กรรมถวายผ้าอาบน้าฝน และ จตปุ จั จยั แกภ่ กิ ษุสามเณร๔. รว่ มทาบญุ ตกั บาตร ฟงั ธรรมเทศนา รกั ษาอโุ บสถศีล พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ขอความสุขสวสั ดี จงมแี ดท่ กุ ทา่ นตลอดกาลนาน พระครูสธุ ีวรสาร ดร.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook