Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 สารเคมีในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ

หน่วยที่ 2 สารเคมีในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ

Published by k.katae446, 2021-11-01 02:27:33

Description: หน่วยที่ 2 สารเคมีในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ

Search

Read the Text Version

สารเคมี (Chemical Substance) คือธาตุหรือสารประกอบท่ีมีสูตรทางเคมี สมบัติทาง กายภาพ และทางเคมีที่สามารถระบุองค์ประกอบทางเคมีที่แน่นอนได้ เช่น น้าบริสุทธิ์ (H2O) ประกอบดว้ ยธาตุ ไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม และออกซิเจน (O) 1 อะตอมรวมตวั กนั หรอื เกลือโซเดียมคลอ ไรด์ (NaCl) ก็ประกอบดว้ ยธาตุ Na และ Cl อยา่ งละ 1 อะตอม

2.2.1 ความหมายของสารปรุงแตง่ อาหาร สารปรุงแตง่ อาหาร หมายถึง สารปรุงรสอาหารใชใ้ ส่ในอาหารเพื่อทาใหอ้ าหารมีรสดีขึน้ เช่น นา้ ตาล นา้ ปลา นา้ สม้ สายชู นา้ มะนาว ซอสมะเขือเทศ และใหร้ สชาติต่าง ๆ เชน่ นา้ ตาล ใหร้ สหวาน เกลือ นา้ ปลา ใหร้ สเค็ม เป็นตน้ 2.2.2 ประเภทของสารปรุงแตง่ อาหาร ประเภทของสารปรุงแตง่ อาหารแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ไดจ้ ากการสงั เคราะห์ เชน่ นา้ ปลา นา้ สม้ สายชู ซอี วิ๊ และซอสมะเขือเทศ เป็นตน้ และไดจ้ ากธรรมชาติ เชน่ เกลือ นา้ มะนาว นา้ มะขามเปียก และอญั ชนั เป็นตน้

2.3.1 ความหมายของเครอื่ งดื่ม เครอ่ื งดืม่ หมายถึง สง่ิ ที่มนษุ ยจ์ ดั เตรยี มสาหรบั ด่ืม และมกั จะมีนา้ เป็นสว่ นประกอบหลกั บาง ประเภทไดค้ ณุ ค่าทางโภชนาการ บางประเภทดื่มแลว้ กระตนุ้ ระบบประสาท และบางประเภทด่ืมเพ่ือ ดบั กระหาย 2.3.2 ประเภทของเคร่อื งดืม่ เครอ่ื งด่ืม แบง่ ออกเป็น 7 ประเภท ไดแ้ ก่ นา้ ดื่มสะอาด นา้ ผลไม้ นม นา้ อดั ลม เครอื่ งดื่มบารุง กาลงั กาแฟและชา และเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์

1. นา้ ดม่ื สะอาด (Water) เป็นเครอื่ งด่มื ท่ีไมม่ สี ง่ิ อน่ื เจอื ปน เป็นประโยชนต์ อ่ กระบวนการ ตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย ปัจจบุ นั นา้ ด่มื สะอาดไดร้ บั ความนิยมมาก 2. นา้ ผลไม้ (Fruit Juice) เป็นเครอื่ งด่ืมที่มีประโยชนม์ ากอยา่ งหน่ึงและตอ้ งเป็นนา้ ผลไมท้ ่ี สด จงึ จะไดค้ ณุ คา่ มาก ผผู้ ลิตมกั นาผลไมท้ ม่ี ีมากในฤดกู าลมาคนั้ เอาแตน่ า้ นามาเคี่ยวกบั นา้ ตาล หรือ นาผลไมส้ ดมาป่ันผสมกบั นา้ แข็ง นา้ เชอื่ มเพอ่ื เพิ่มรสหวาน

3. นม (Milk) หมายถึง ของเหลวสีขาวท่ีประกอบดว้ ยสารอาหารหลกั ที่จาเป็นสาหรบั เด็ก หรอื สตั วเ์ กิดใหม่ และสามารถนาไปสรา้ งผลติ ภณั ฑอ์ ืน่ ๆ ได้ เชน่ ครมี เนย โยเกิรต์ ไอศกรมี ชสี เป็นตน้ 4. น้าอัดลม (Sparkling Water) เป็นเคร่ืองด่ืมที่ไม่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ มีสีสัน แตกต่างกัน สามารถซือ้ ไดท้ ่ัวไปในรา้ นขายเคร่ืองด่ืม นิยมบรรจุในกระป๋ อง ขวดแก้ว ขวดพลาสติก เป็นตน้

5. เครื่องดื่มบารุงกาลัง (Energy Drink) เป็นเครอ่ื งด่ืมที่มีส่วนผสมของสารคาเฟอีนใน ปรมิ าณไมเ่ กิน 50 มลิ ลิกรมั ตอ่ 1 ขวด (100–150 มิลลลิ ิตร) สว่ นใหญ่เนน้ ดา้ นพลงั งาน 6. ชาและกาแฟ (Tea and Coffee) เป็นเคร่ืองดื่มท่ีรูจ้ กั และนิยมดื่มกันท่วั โลก ชาและ กาแฟมีส่งิ ทเ่ี หมอื นกนั คือ คาเฟอนี (คาเฟอีนไมไ่ ดพ้ บเฉพาะชาและกาแฟเทา่ นนั้ เครอื่ งดืม่ หลายชนิดก็มี คาเฟอีนผสมอย)ู่ คาเฟอีนเป็นยากระตนุ้ ระบบประสาท

7. เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ (Drink Tuned Mutual Hall) หมายถึง เคร่ืองด่ืมที่ผลิตจาก วตั ถดุ ิบที่มีส่วนประกอบของนา้ ตาลและยีสตล์ งไปเพ่ือใหย้ ีสตก์ ินนา้ ตาลท่ีอยู่ในวตั ถดุ ิบใหก้ ลายเป็น แอลกอฮอล์

2.4.1 ความหมายของสารทาความสะอาด สารทาความสะอาด หมายถงึ สารทมี่ คี ณุ สมบตั ิในการกาจดั ความสกปรกตา่ ง ๆ ตลอดจน ฆ่าเชอื้ โรค 2.4.2 ประเภทของสารทาความสะอาด 1. แบง่ ตามการเกดิ ได้ 2 ประเภท คือ (1) ไดจ้ ากการสงั เคราะห์ เชน่ นา้ ยาลา้ งจาน สบกู่ อ้ น สบู่เหลว แชมพสู ระผม ผงซักฟอก สาร ทาความสะอาดพนื้ เป็นตน้ (2) ไดจ้ ากธรรมชาติ เชน่ นา้ มะกรูด มะขามเปียก เกลอื เป็นตน้

2. แบ่งตามวตั ถุประสงคใ์ นการใชง้ าน แบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท คอื (1) สารประเภททาความสะอาดรา่ งกาย ไดแ้ ก่ สบู่ แชมพสู ระผม เป็นตน้ (2) สารประเภททาความสะอาดเสือ้ ผา้ ไดแ้ ก่ สารซกั ฟอกชนิดตา่ ง ๆ (3) สารประเภททาความสะอาดภาชนะ ไดแ้ ก่ นา้ ยาลา้ งจาน เป็นตน้ (4) สารประเภททาความสะอาดหอ้ งนา้ ไดแ้ ก่ สารทาความสะอาดหอ้ งนา้ ทงั้ ชนิดผงและชนิดเหลว

2.4.3 สมบตั ขิ องสารทาความสะอาด สมบัติของสารทาความสะอาด เช่น สบู่ แชมพูสระผม สารลา้ งจาน สารทาความสะอาด หอ้ งนา้ สารซกั ฟอก บางชนิดมสี มบตั ิเป็นกรด บางชนิดมสี มบตั เิ ป็นเบส และบางชนิดเป็นกรด

2.5.1 สารกาจดั แมลงและสารกาจดั ศตั รูพชื สารกาจดั แมลงและสารกาจัดศตั รูพืช หมายถึง สารเคมีท่ีผลิตขึน้ เพื่อใชป้ ้องกันการกาจัด และควบคมุ แมลงตา่ ง ๆ ไมใ่ หม้ ารบกวนมีทงั้ ชนิดผง ชนิดเมด็ และชนิดนา้ 2.5.2 ประเภทของสารกาจัดแมลงและสารกาจดั ศตั รูพชื แบง่ เป็น 2 ประเภท คือ 1. ได้จากการสงั เคราะห์ เชน่ สารฆ่ายงุ และสารกาจดั แมลง เป็นตน้ 2. ได้จากธรรมชาติ เชน่ เปลือกมะนาว เปลือกมะกรูด และเปลอื กสม้ เป็นตน้

การปนเปื้ อนของสารเคมกี าจดั ศตั รูพชื

2.6.1 เครอื่ งสาอาง เครื่องสาอาง หมายถึง ผลิตภณั ฑท์ ่ีใชท้ า ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบร่างกาย เพื่อใชท้ า ความสะอาดเพอื่ ใหเ้ กิดความสดช่ืน ความสวยงาม และเพม่ิ ความม่นั ใจ 2.6.2 ประเภทของเครอ่ื งสาอาง แบง่ เป็น 5 ประเภท คอื 1. สาหรบั ผม เชน่ แชมพู ครมี นวด และเจลแตง่ ผม เป็นตน้ 2. สาหรบั รา่ งกาย เชน่ สบู่ ครมี และโลช่นั ทาผิว ยาทาเลบ็ เป็นตน้ 3. สาหรบั ใบหนา้ เชน่ ครมี โฟมลา้ งหนา้ แป้งผดั หนา้ ดนิ สอเขียนขอบตา เป็นตน้ 4. นา้ หอม 5. เบด็ เตล็ด เชน่ ครมี โกนหนวด ผา้ อนามยั และยาสีฟัน เป็นตน้

ปัจจบุ นั สารเคมไี ดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในชีวิตประจาวนั ของมนษุ ยม์ ากขึน้ โดยนาสารเคมีเขา้ มา ใชป้ ระโยชนใ์ นด้านต่าง ๆ ทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตร และภาคการบริการ ตลอดจนใน การศกึ ษาวิจยั ตา่ ง ๆ ซง่ึ มีทงั้ สารเคมีท่ีเป็นสารตงั้ ตน้ ตวั กลาง ตวั ทาละลาย ผลิตภณั ฑ์ และของเสียที่ ปนเปื้อน อันตรายจากสารเคมี สารเคมีต่าง ๆ ก่อให้เกิดอันตรายหรือผลเสียต่อสุขภาพไดห้ ลายรูปแบบ ซึ่งมีทั้งแบบ เฉียบพลันและแบบเรือ้ รงั ส่งผลต่อสขุ ภาพแบบเฉียบพลัน เช่น ระคายเคืองผิวหนัง ระคายเคืองตา ระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ หรือการเกิดพิษตอ่ ระบบต่าง ๆ ของรา่ งกาย บางครงั้ อาจก่อให้เกิด อนั ตรายถึงชีวติ ได้

สารเคมที ใี่ ช้ในงานอาชพี ต่าง ๆ 2.7.1 เฟอรน์ ิเจอร์ เครอื่ งใชใ้ นบา้ นและสานักงานจาพวกเฟอรน์ ิเจอรไ์ มม้ ักตรวจพบสารฟอรม์ าลดีไฮดต์ กคา้ ง และสารเคลอื บเงา เชน่ โทลอู ีน ไซลนี และเอธิลเบนซิน รวมถึงสีที่มีสารตะก่วั เป็นส่วนประกอบหลดุ ลอก จากเฟอรน์ ิเจอรห์ รอื ผนงั อาคารปะปนกบั ฝ่นุ ผงในอากาศ อาการ : สารฟอรม์ าลดีไฮด์ โทลอู นี ไซลีน เมื่อสดู ดมเขา้ ไปบ่อย ๆ จะมีอาการระคายเคืองจมกู และ ลาคอ ปวดศรี ษะ คล่นื ไส้ อาเจยี น ระคายเคอื งตอ่ ผิวหนงั หรอื ระบบทางเดนิ หายใจ วธิ ีป้องกัน : ทาความสะอาดหอ้ งทางานอยเู่ สมอ และจดั ใหม้ ีการระบายอากาศท่ดี ี

2.7.2 นา้ ยาลบคาผดิ และกาว นา้ ยาลบคาผิดและกาวมีสว่ นผสมของสารระเหยท่ีเป็นอนั ตรายตอ่ รา่ งกาย เพราะมที ินเนอร์ และสารประกอบอินทรียเ์ คมีชนิดต่าง ๆ ประกอบอยู่ ไดแ้ ก่ สารโทลอู ีน เบนซิน และสไตลีน ซ่ึงมีกลิ่น พเิ ศษ เฉพาะและระเหยปะปนในอากาศไดง้ า่ ย อาการ : หากสูดดมในระยะสัน้ จะทาใหเ้ กิดการระคายเคืองต่อตา ผิวหนัง และระบบทางเดิน หายใจ วิงเวียน หนา้ มืด มีผลกระทบตอ่ ประสาทสว่ นกลาง และเสียการทรงตวั ได้ หากสดู ดมติดต่อกัน เป็นระยะเวลานาน วิธีป้องกนั : หลีกเลย่ี งการสดู ดมและจดั ใหม้ ีการระบายอากาศท่ดี ี

2.7.3 ฝ่ ุนละอองในงานอาชีพ ฝ่ ุนละอองในสานักงานเกิดจากผงหมึกท่ีกระจายออกมาจากเครื่องถ่ายเอกสาร ฝ่ ุนเย่ือ กระดาษท่อี าจพบตามเอกสารตา่ ง ๆ บนโต๊ะทางาน หรอื กระดาษปิดผนงั หรือวอลเปเปอร์ โดยฝ่ นุ เหลา่ นี้ สามารถเขา้ ไปสะสมในปอดได้ อาการ : จะมีอาการไอ จาม และระคายเคืองต่อตา จมกู และคันผิวหนัง หากไดร้ บั บอ่ ย ๆ อาจ กอ่ ใหเ้ กิดโรคปอดอดุ กนั้ เรอื้ รงั หรอื โรคหอบหดื ได้ วธิ ีป้องกนั : ควรจดั วางโตะ๊ ทางานไมใ่ หห้ นาแนน่ ทาความสะอาดหอ้ ง และโต๊ะทางานเป็นประจา แบง่ โซนเครอื่ งถา่ ยเอกสารหรอื หนงั สอื ใหอ้ ยใู่ นมมุ ที่หา่ งไกลจากผปู้ ฏบิ ตั ิทางาน

2.7.4 สารเคมจี ากคอมพวิ เตอร์ สารเคมีจากจอคอมพิวเตอรก์ ่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ โดยสารเคมีท่ีชื่อ ไตรฟี นิลฟอสเฟต (Triphenyl Phosphate) ที่ใชอ้ ย่างแพรห่ ลายทงั้ ในจอวิดีโอหรือปากกาเคมี ตลอดจนสเปรยป์ รับอากาศ ซงึ่ มีกลน่ิ จากสารเคมี อาการ : ระคายเคอื งตอ่ เยื่อบจุ มกู และตาได้ วิธีป้องกัน : ทาความสะอาดหอ้ งทางานอยเู่ สมอ และจดั ใหม้ ีการระบายอากาศที่ดี

วัตถุอันตรายนั้น สามารถจาแนกตามประโยชนก์ ารใช้ของวัตถุอันตรายเป็ นกลุ่ม ผลติ ภัณฑต์ า่ ง ๆ ดงั นี้ 1. ผลติ ภณั ฑป์ ้องกนั และกาจดั แมลงตา่ ง ๆ เชน่ ยงุ แมลงสาบ ผลติ ภณั ฑก์ าจัดเหบ็ หมดั 2. ผลิตภณั ฑก์ าจดั หนู 3. ผลติ ภณั ฑท์ าไลย่ งุ 4. ผลติ ภณั ฑก์ าจดั ลกู นา้ ยงุ 5. ผลติ ภณั ฑด์ บั กลิ่น ไลแ่ มลง 6. ผลติ ภณั ฑซ์ กั ผา้ ขาว ผลติ ภณั ฑซ์ กั แหง้ หรอื สิง่ ทออื่น ๆ 7. ผลติ ภณั ฑท์ าความสะอาดพนื้ ฝาผนงั และเครอ่ื งสขุ ภณั ฑ์ และวสั ดอุ น่ื ๆ 8. ผลิตภณั ฑท์ ใ่ี ชแ้ กไ้ ขการอดุ ตนั ของทอ่ หรอื ทางระบายสง่ิ ปฏิกลู 9. ผลิตภณั ฑฆ์ า่ เชอื้ โรคหรอื กาจดั กลน่ิ ในสระวา่ ยนา้ 10. ผลิตภณั ฑล์ บคาผิด สารละลายทีใ่ ชเ้ จอื จางผลติ ภณั ฑล์ บคาผิด

ผลิตภณั ฑท์ งั้ 10 ท่ีกล่าวมา เมื่อไดร้ บั อนญุ าตใหข้ ึน้ ทะเบียนวตั ถอุ นั ตรายจากสานักงาน คณะกรรมการอาหารและยาแลว้ จะไดร้ บั เลขทะเบยี นวตั ถอุ นั ตราย ยกเวน้ 1. Naphthalene หรอื ลกู เหมน็ 2. o–Dichlorobenzene 3. p–Dichlorobenzene หรอื กอ้ นดบั กล่ิน 4. ผลิตภัณฑล์ บหรือแก้คาผิดท่ีมีนา้ เป็นตวั ทาละลายหรือที่มีรูปแบบเป็นแผ่นหรือแถบท่ีมี ลกั ษณะการใชโ้ ดยไมต่ อ้ งใชต้ วั ทาละลายใด ๆ สารเคมีทั้ง 4 ชนิด กฎหมายยกเว้นให้ไม่ต้องขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายจึงไม่ จาเป็ นต้องมีเครื่องหมาย อย. แต่ยังต้องแสดงฉลากซ่ึงมีข้อความหรือรายละเอียดตามท่ี กฎหมายกาหนด

สารเคมอี นั ตราย (Dangerous Chemical) 1. สารเคมีท่ีมขี อ้ มลู บง่ ชอี้ ยา่ งชดั เจนวา่ เป็นสารอนั ตราย 2. มลี กั ษณะเฉพาะท่ีเป็นสาเหตทุ าใหเ้ กิดการบาดเจ็บ ทาใหท้ รพั ยส์ นิ เสยี หาย 3. เน่ืองมาจากปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ ความไม่เสถียรของตวั สารเคมีนนั้ เม่ือมีการสลายตัวมีการ ระเบดิ ลกุ ไหม้ หรอื คณุ สมบตั ิทรี่ ะเหยได้ 4. จาเป็นตอ้ งพจิ ารณา * ชนิดของสารประกอบ สารผสมเคมี * การสมั ผสั สารเคมี * วิธีท่ีสารเคมีเขา้ สรู่ า่ งกาย

คาแนะนาในการใช้วัตถุอนั ตราย 1. ก่อนใชต้ อ้ งอา่ นฉลากใหเ้ ขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตามวธิ ีใชแ้ ละคาเตือนในฉลากโดยเครง่ ครดั 2. เวลาใชอ้ ยา่ ใหว้ ตั ถอุ นั ตรายสมั ผสั ผิวหนงั และอยา่ หายใจหรอื สดู ดมกลน่ิ หรือละอองเขา้ ไป 3. การใชผ้ ลิตภณั ฑก์ าจดั แมลงชนิดพน่ ใหค้ นและสตั วเ์ ลีย้ งออกจากหอ้ งก่อนแลว้ จงึ ฉีดขึน้ ไป ในอากาศนานประมาณ 15 วินาที ทิง้ ไวน้ าน 15 นาที หลังจากนนั้ เปิดหอ้ งเพ่ือระบายอากาศแลว้ ทา ความสะอาดพนื้ 4. หากใชฉ้ ีดนอกหอ้ งใหฉ้ ีดขณะท่ีลมสงบ 5. หา้ มฉีดหรอื ใชใ้ นบรเิ วณท่ีมอี าหารหรอื บรเิ วณทม่ี ีการประกอบอาหารอยู่ 6. หลงั จากใชเ้ สรจ็ แลว้ ผใู้ ชว้ ตั ถอุ นั ตรายตอ้ งลา้ งมือใหส้ ะอาดทกุ ครงั้

การเกบ็ รักษาวตั ถุอนั ตรายมีขอ้ ปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. เก็บใหม้ ิดชิดปลอดภยั ใหห้ า่ งจากมือของเด็ก 2. ไมว่ างกระจดั กระจายไมเ่ ป็นท่ี หากเก็บใสต่ คู้ วรมกี ญุ แจลอ็ ก 3. ไมเ่ ก็บวางรวมไวก้ บั อาหารหรอื ของใชอ้ ่ืน ๆ 4. เก็บใหพ้ น้ จากความรอ้ น เปลวไฟ หรอื วตั ถไุ วไฟ 5. ภาชนะบรรจเุ มอื่ ใชห้ มดแลว้ ควรทิง้ หรอื ทาลาย หา้ มนามาใสอ่ าหารหรือของใชอ้ ่นื

1. การซอื้ อาหารรบั ประทานควรเลือกอาหารที่มีคณุ ภาพ มีประโยชน์ ถกู สขุ ลกั ษณะ อาหารท่ี ปรุงสกุ สะอาด และมภี าชนะปิดเรยี บรอ้ ย 2. เลือกใชเ้ คร่อื งสาอางท่ีไม่ผสมสารปรอท ผลิตภณั ฑท์ ่ีผ่าน อย. อา่ นสลากก่อนใช้ อายกุ าร ใชง้ าน วนั หมดอายุ เลอื กผลติ ภณั ฑท์ ี่ไมผ่ สมสี อปุ กรณเ์ กี่ยวกบั การรบั ประทานควรเลือกใชใ้ หถ้ กู ประเภท เชน่ อนุ่ อาหารโดยใชผ้ ลิตภณั ฑท์ ่ีระบวุ า่ ใชก้ บั เครอื่ งไมโครเวฟได้ เป็นตน้ 3. เลอื กใชผ้ ลิตภณั ฑท์ ่ีมาจากธรรมชาตเิ นื่องจากผลติ ภณั ฑป์ ระเภทนีม้ คี วามปลอดภยั และไม่ มีอนั ตราย 4. หลีกเล่ียงการใชข้ วดนา้ พลาสติกใสซา้ ๆ กันหลายครงั้ เพราะพลาสติกประเภทนี้มีอายกุ าร ใชง้ านสนั้ อาจทาใหเ้ กิดสารปนเปื้อนได้

5. หลีกเล่ียงการรบั ประทานอาหารกระป๋ องใหพ้ ยายามรบั ประทานอาหารสดหรอื อาหารที่ ปรุงเอง 6. พิถีพิถนั ในการเลือกผักและผลไมเ้ น่ืองจากปัจจบุ นั ผกั และผลไมม้ ีการใชย้ าฆ่าแมลงและ สารเคมีเพื่อใหผ้ กั ผลไมส้ ด มีการใชแ้ วกซเ์ พ่ือใหผ้ ลไมเ้ งาซ่งึ เม่ือรบั ประทานควรลา้ งใหส้ ะอาดและปอก เปลอื ก 7. เลือกสินค้าเกษตรและอาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัย โดยเลือกสินค้าท่ีได้รับ เครอื่ งหมาย Q 8. ไมใ่ ชป้ ๋ ยุ เคมีในสวนไมป้ ระดบั ทบี่ า้ นใหเ้ ลอื กใชป้ ๋ ยุ หมกั จากธรรมชาตแิ ทน

สารเคมี (Chemical Substance) เป็นสสารวสั ดทุ ี่ใชใ้ นหรือไดจ้ ากกระบวนการเคมี อาทิ ธาตเุ คมี โมเลกลุ ไอออน สารประกอบเคมี และปฏิกิรยิ าเคมี สารปรุงแต่งอาหาร หมายถึง สารปรุงรสอาหารใชใ้ ส่ในอาหารเพ่ือทาใหอ้ าหารมีรสดีขึน้ เช่น นา้ ตาล นา้ ปลา นา้ สม้ สายชู นา้ มะนาว ซอสมะเขือเทศ และใหร้ สชาติต่าง ๆ เช่น นา้ ตาล ใหร้ ส หวาน เกลอื นา้ ปลา ใหร้ สเค็ม นา้ สม้ สายชู นา้ มะนาว ซอสมะเขือเทศ ใหร้ สเปรยี้ ว เป็นตน้ สารเคมีท่พี บในชีวิตประจาวันและสานกั งานแบ่งไดห้ ลายกล่มุ เชน่ สารทาความสะอาด ยารักษาโรค เคร่ืองสาอาง แต่ส่วนใหญ่เป็นสารทาความสะอาดตั้งแต่ร่างกาย เสือ้ ผา้ และเครื่อง สขุ ภณั ฑ์ นอกจากนีย้ ังมีสารเคมีอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น สารเคมีในอาหาร เช่น ผัก ผลไม้ อาหาร สาเร็จรูป และท่ีเป็นอนั ตรายท่ีรา้ ยแรง เช่น สารเคมีกาจดั แมลง สารเคมีกาจดั ยงุ สารเคมีกาจดั ปลวก สารเคมีกาจดั มด ทมี่ ใี ชโ้ ดยท่วั ไปซง่ึ เป็นอนั ตรายเพราะเป็นพษิ ตอ่ รา่ งกายและสตั วเ์ ลยี้ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook