พื้นทางปรัชญาการ ศึกษา
สมาชิกกลุ่ม 1 นางสาวเกษราภรณ์ รสจันทร์ รหัส 002 รหัส 003 นางสาวมนัสนันท์ สมประสงค์ รหัส 006 รหัส 012 นายจักรี ทองศิริ นายปัญญา โกตูม
ปรัชญาการศึกษา ปรัชญาการศึกษา หมายถึง เป็นสาขาหนึ่งของ ปรัชญา ศึกษาศาสตร์ และจิตวิทยาประยุกต์ ที่ใช้ใน การพิจารณาวัตถุประสงค์ รูปแบบ วิธีการและผล ทางการศึกษา โดยได้รับอิทธิพลจาก 2 ด้านที่สำคัญ ด้านแรกคือทางด้านปรัชญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ส่วนของจริยธรรมและญาณวิทยา อีกด้านหนึ่งคือ ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอน การเรียนการ สอนทางด้านปรัชญาการศึกษานั้นจัดการเรียนในคณะ ทางด้านศึกษาศาสตร์ มากกว่าที่จะจัดการเรียนการ สอนในคณะจิตวิทยา
ลักษณะปรัชญาการศึกษา ลักษณะปรัชญาการศึกษา ปรัชญาการศึกษาจะต้องมี โครงสร้างที่เป็นระบบที่แน่นอนพอสมควร โดยทั่วไป ประกอบด้วยประเด็นดังนี้ 1. คำจำกัดความของการศึกษา 2. ความมุ่งหมายของการศึกษา 3. นโยบายหรือแนวทางเพื่อการปฏิบัติในการจัดการศึกษา 4. เรื่องอื่นๆ เช่น วิธีการสอนที่จะให้เกิดการเรียนรู้
ลักษณะปรัชญาการศึกษา 1. ปรัชญาการศึกษาที่ยึดเนื้อหาทางปรัชญาทั่วไปเป็นแม่บท ปรัชญาการศึกษาแบบนี้ เป็นแบบเก่า เป็นความพยายามในการนํา หลักการต่าง ๆ จากปรัชญาแม่บทมาประยุกต์ใช้กับ การศึกษา ซึ่ง ต้องศึกษาปรัชญาทั่วไปให้เข้าใจก่อน แล้ววิเคราะห์การศึกษาตาม แนวของปรัชญา แต่ละสาขา เป็นการสร้างปรัชญาการศึกษาตาม ปรัชญาทั่วไป 2. ปรัชญาการศึกษาที่มาจากความคิดของนักปรัชญาแต่ละคน ปรัชญาการศึกษาใน แนวนี้ใช้ระบบปรัชญาของนักปรัชญาแต่ละคน เป็นฐานในการประยุกต์ใช้กับการศึกษา แต่ถ้านัก ปรัชญาคนใดได้ วิเคราะห์การศึกษาไว้แล้วก็ศึกษาจากระบบความคิดเหล่านั้นได้ ปรัชญาการ ศึกษาในแนวนี้ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจระบบความคิดและข้อ เสนอแนะของนักปรัชญาแต่ละคนอย่าง ลึกซึ้ง
ลักษณะปรัชญาการศึกษา 3. ปรัชญาการศึกษาที่ยึดตัวการศึกษาเป็นแกนกลาง แนวทางนี้เป็น แนวทางที่ศึกษาถึง เป้าหมายและวิธีการทางการศึกษาโดยเฉพาะ ปรัชญาการศึกษาในแนวนี้ไม่อิงอยู่กับปรัชญาใด เป็นการวิเคราะห์ องค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาแล้วจึงกําหนดเป้า หมาย วิธีการ ทางการศึกษาหรือกระบวนการต่าง ๆ ของการศึกษา 4. ปรัชญาการศึกษาที่มุ่งหาความกระจ่างในแนวคิดและกิจกรรมการ ศึกษาปรัชญาการ ศึกษาในแนวนี้ ปรัชญามีลักษณะเป็นกิจกรรม ของการวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ หรือการหาความกระจ่างให้กับ ความคิดต่าง ๆ ข้อดีของปรัชญา การศึกษาในแนวนี้ เป็นการเสนอ ความคิดที่ท้าทายและบางครั้งก็เป็นความคิดใหม่ๆ ข้อเสียก็คือ การ วิเคราะห์เชิงปรัชญานั้นอาจทําได้ยากสําหรับผู้ที่ ไม่มีพื้นฐานทาง ปรัชญามาก่อน
ลักษณะปรัชญาการศึกษา 5. ปรัชญาการศึกษาที่ยึดตัวการศึกษาเป็นแกนกลาง แนวทางนี้เป็น แนวทางที่ศึกษาถึง เป้าหมายและวิธีการทางการศึกษาโดยเฉพาะ ปรัชญาการศึกษาในแนวนี้ไม่อิงอยู่กับปรัชญาใด เป็นการวิเคราะห์ องค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาแล้วจึงกําหนดเป้า หมาย วิธีการ ทางการศึกษาหรือกระบวนการต่าง ๆ ของการศึกษา
หน้าที่ของปรัชญาการศึกษา 1.เป็นแกนกลางในการจัดดําเนินการศึกษา ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยไม่มีปรัชญา การศึกษาเป็นของตนเอง ที่จัด ๆ มาก็เพียงแต่อาศัยนโยบาย ความมุ่งหมายที่มักจะสร้างขึ้น ตาม สามัญสํานึกและประสบการณ์ของผู้มีอํานาจ ตลอดจน สถานการณ์ของผู้มีอํานาจที่ต้องแก้ ปัญหาเฉพาะหน้า มากกว่าอย่างอื่น 2. ทําหน้าที่กําหนดบทบาทของบุคคลและสังคม พร้อมทั้ง วางแนวทางปฏิบัติตามวิถี ทางของระบบการศึกษาที่มี ปรัชญา ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาทุกคนจะได้คิด พูดและกระ ทําใน ทิศทางอันเดียวกัน
หน้าที่ของปรัชญาการศึกษา 3. ทําหน้าที่ให้ระบบต่างๆ ของสังคมเป็นที่ยอมรับของ สมาชิก และจะทําให้ผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาเกิดความจงรัก ภักดีต่อระบบการศึกษา และเกิดอิทธิบาทสี่ต่อการดําเนิน งานการ ศึกษาด้วย 4. ทําหน้าที่ระดมสรรพกําลังเพื่อจุดหมายทางการศึกษา และ การพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน
แนวคิดนักปรัชญาการศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาของเพลโต เพลโตมีแนวความคิดเกี่ยวกับสังคมปรัชญาว่า สัญชาตญาณใต้ศึกษาของมนุษยชาติ เป็นพื้นฐาน ขั้นแรกของระบบสังคมที่มีแบบแผนของมนุษย์ มนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ สามารถสั่งสอน อบรมและ สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม ให้ดีขึ้นได้
แนวคิดนักปรัชญาการศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาของออกัสติน ออกัสตินไม่เห็นด้วยกับการจัดการศึกษาแบบ โรมันและกรีก เขากล่าวโต้แย้งว่า “ไม่มีใคร สามารถ สอนคนอื่นได้ พระเจ้าเท่านั้น คือ ครู”
จบการนำเสนอ
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: