Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR การประเมินคุณภาพ โรงเรียนสุขเจริญผลแพรกษา

SAR การประเมินคุณภาพ โรงเรียนสุขเจริญผลแพรกษา

Published by Nuengruethai Promnophat, 2021-08-24 04:11:35

Description: SAR การประเมินคุณภาพ โรงเรียนสุขเจริญผลแพรกษา

Search

Read the Text Version

บรหิ ารโรงเรยี น คณะกรรมการบรหิ ารงาน ๔ ฝาย คณะกรรมการสายชนั้ เรียน คณะกรรมการบริหารงานหลักสูตรและวชิ าการ จนสง ผลใหก ารประเมินภายนอกทกุ มาตรฐาน ไดระดับ ดีมาก  มีผลการประเมนิ อยูในระดับคุณภาพ ยอดเยย่ี ม                  ๒.๓ ดําเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นนคณุ ภาพผเู รยี นรอบดา นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทุกกลมุ เปาหมาย                       โรงเรียนสขุ เจรญิ ผลแพรกษา ไดม ีการพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาอยางตอ เนือ่ ง รองรบั ผเู รยี นใหไดเ รียนรเู ตม็ ตามศักยภาพ จัดการเรียนการสอนท่ีเนนผู เรยี นเปนสาํ คญั และใหผ ูเรยี นมที ักษะพ้ืนฐานในศตวรรษที่ ๒๑ ผานการจัดกระบวนการรใู น ๘ กลุมสาระการเรยี นรู นอกจากนี้ยังไดจดั กจิ กรรมเสริมทักษะทางวชิ าการ อยา งหลากหลาย เชน การทดลอง การเรียนรจู ากแหลง เรียนในทองถนิ่ สมทุ รปราการบานฉัน  การสอนใหผเู รียนมีทักษะกระบวนการคดิ และลงมอื ปฏบิ ัติจริง ดว ย แผนการจัดการเรยี นรู Five Step การสอนดวยโครงงาน STEM EDUCATION มกี ารดแู ลเอาใจใสน ักเรยี นในกลมุ ออ นดวยการสอนซอ มเสริม ผูเ รียนทอี่ านไมคอ ยไดด วย ๓ พ. ๑) พส่ี อนนอง ๒) เพื่อนสอนเพ่อื น ๓) พอสอนลกู และสงเสริมใหน ักเรยี นไดเขารว มการแขง ขันทักษะทางวิชาการและส่ิงประดิษฐข องโรงเรียนเอกชน สํานกั งาน ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั สมทุ รปราการ จนไดรบั รางวัลจากการแขงขันมากมาย มผี ลการประเมนิ อยใู นระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม                   ๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ                         โรงเรียนสุขเจรญิ ผลแพรกษา มีการพฒั นาครแู ละบุคลากรอยางหลากหลายรูปแบบและตอ เน่อื ง เชน การประชมุ ครแู ละบุคลากรเปน ประจําทุกเดอื น สาระการประชุมเนน ตอ การพฒั นาคุณภาพครูในการจดั กระบวนการเรียนรูที่เนนผเู รียนเปน สาํ คญั การนาํ คลปิ การสอนจาก Youtube นาํ เสนอใหคุณครูไดช ม เพ่อื ใหค รูนาํ ไปปรับประยกุ ตใ ชใหเ หมาะสมกับธรรมชาตขิ องรายวชิ าที่สอน สนบั สนนุ ใหครเู ขา รบั การประชมุ อบรม สัมมนากับหนว ยงานตนสังกัด หนวยงานตา ง ๆและสงเสรมิ ใหค รู เขา รับการประชมุ อบรมทาง On line เมื่อเสร็จสนิ้ การอบรมแตล ะครงั้ แตล ะเรอ่ื งจะใหค ุณครทู ี่เขาประชมุ อบรม นําเสนอใหค ุณครูทงั้ โรงเรียนไดรบั ทราบในวิธีการและ นําไปปรับประยกุ ตใชเดยี วกนั นอกจากน้ียงั มกี ารสง เสริมสนบั สนุนใหคุณครใู น ๕ กลุมสาระการเรียนรหู ลักจัดใหมชี มุ ชนการเรียนรูทางวิชาชีพ เพอื่ นํามาใชในการพฒั นา งานและการเรยี นรูใหเ กิดคุณภาพตอ ผูเรียน มีผลการประเมนิ อยูในระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ                   ๒.๕ จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมทเี่ อือ้ ตอ การจัดการเรียนรู                         โรงเรยี นสขุ เจริญผลแพรกษา สงเสรมิ ใหค รทู กุ ชั้นเรยี นมีการจัดสภาพแวดลอ มในหอ งเรียนหองปฏบิ ตั กิ ารอืน่ ๆ เชน หอ งวิทยาศาสตร หอ งปฏบิ ตั ิ คอมพวิ เตอร หอ งปฏบิ ัติการทางภาษา หอ งปฏบิ ตั กิ ารทางคณติ ศาสตร หองดนตรไี ทย หองดนตรี สากล และหองนาฏศิลป ใหม ีความเปน ระเบียบ เรียบรอย สวยงาม โดย เฉพาะการจัดหองเรยี นใหโ ตะ เกาอ้ี มรี ะยะหา งใหเ ปน ไปตามาตรการปองกันการแพรระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด – ๑๙) จดั ปายนเิ ทศในหองเรยี นใหเปน แหลง เรยี นรทู เ่ี ออ้ื ตอ การเรยี นรู มีการนําผลงานนกั เรยี นนําเสนอท่ปี า ยนิเทศหลังหองเรียน สภาพภูมทิ ศั นภ ายนอกก็มีการจดั ใหมีความสวยงาม มีความปลอดภัย เปน แหลง เรยี นรูทเ่ี ออ้ื ตอ การเรยี นรู ทําใหโรงเรียนนา อยู ผเู รยี นมคี วามสุขในการเรียนรู มผี ลการประเมินอยมู นระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม                   ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรยี นรู                          โรงเรยี นสขุ เจริญผลแพรกษาไดใหค วามสาํ คัญกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมกี ารตดิ ตัง้ ระบบWIFI ทุกอาคาร ทุกช้นั เรียน ซงึ่ ในปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ที่ ผาน คณุ ครสู ามารถนาํ ไปใชใ นการจดั ทําบทเรียน Online เพอื่ ใหการจัดการเรยี นการสอนระบบสือ่ ดจิ ติ ลั แบบOnline ชว ยแกไ ขปญ หาทางดานการจดั การเรยี นการ สอน       ในสถานการณก ารแพรร ะบาดโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(โควดิ – ๑๙) ไดเปนอยา งดีมาก นกั เรยี นยงั สามารถใชในการสืบคนหาขอมลู ประกอบการเรยี นรู แบบ Onsite ไดอ ยา งคลองตวั และรวดเร็ว สงผลใหผ ลการทดสอบการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานระดบั ชาติ (O-NET) ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ ทุกรายวชิ าสงู กวาระดบั ประเทศ สําหรบั การบรหิ ารจัดการฝา ยงบประมาณ(งานการเงิน) มคี ลองตวั ในการโอนเงินของผปู กครองจา ยคา เลาเรียน และคาหนังสือเรียน ทําใหผ ปู กครองมคี วามพงึ พอใจเปน อยา งมาก ในสถานการณก ารแพรระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(โควดิ – ๑๙) ฝายบรหิ ารยังไดนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการประชุม ตดิ ตอสือ่ สาร ผานระบบ Zoom เพือ่ ใหการบริการจดั การศึกษามีสะดวก คลอ งตวั มากข้ึน และในปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ยงั ไดร บั การประเมนิ ภายนอกรอบส่ี ดวย ระบบ Zoom เชน เดยี วกนั มีผลการประเมนิ อยใู นระดับคุรภาพ ยอดเย่ียม จากการวางแผนการดําเนนิ งานในรูปคณะกรรมการและดาํ เนนิ งานตามกระบวนการพฒั นาท่เี ปน ระบบในแตล ะประเดน็ ดงั ทกี่ ลา วมาแลว ขา งตน   เมือ่ เสร็จการดาํ นนิ งาน มีการประเมินผล สงผลมีรปู แบบการบริหารจดั การเปนโรงเรียน คือ PENSRI Model และมผี ลการประเมินมาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มีคุณภาพระดบั ยอดเยีย่ ม                                     Page 51 of 60

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนนผูเ รียนเปนสาํ คัญ จํานวนครทู ้ังหมด : 44 การปฏบิ ัตงิ าน เปา จํานวนครูท่ผี าน ผลการ ผลการ เกณฑท ่โี รงเรยี น ประเมิน ประเมนิ ประเดน็ พิจารณา ปฏบิ ัติ ไม หมาย/ กาํ หนด (คน) (รอยละ) คณุ ภาพที่ ปฏิบตั ิ รอยละ ได 1. จัดการเรยี นรผู า นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนําไปประยุกตใชในชวี ิตได 96.00 39 88.64 ดีเลศิ 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรูตามมาตรฐานการเรยี นรู ตัวชีว้ ดั ของหลกั สูตร √ - 43 สถานศกึ ษาทีเ่ นนใหผูเรยี นไดเรียนรู โดยผา นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิ จริง 1.2 มแี ผนการจดั การเรียนรูท่ีสามารถนาํ ไปจดั กจิ กรรมไดจริง √- 39 1.3 มรี ปู แบบการจัดการเรียนรเู ฉพาะสําหรับผูทม่ี คี วามจาํ เปน และ √- 29 ตองการความชวยเหลือพเิ ศษ 1.4 ฝกทักษะใหผ เู รยี นไดแ สดงออก แสดงความคดิ เห็น สรปุ องคความรู √ - 41 และนําเสนอผลงาน 1.5 สามารถจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ หผเู รียนสามารถนาํ ไปประยุกตใชใน √ - 41 ชวี ติ ประจาํ วนั ได 2. ใชส อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรียนรูท่ีเออ้ื ตอการเรียนรู 81.00 34 77.27 ดเี ลิศ 2.1 ใชส ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการเรยี นรู √- 37 2.2 ใชแ หลง เรยี นรู และภมู ปิ ญญาทองถิ่นในการจัดการเรียนรู √- 30 2.3 สรา งโอกาสใหผูเรยี นไดแสวงหาความรูดว ยตนเองจากส่ือที่หลาก √- 36 หลาย 3. มกี ารบริหารจดั การชั้นเรยี นเชิงบวก 92.00 42 95.45 ยอดเยยี่ ม 3.1 ผสู อนมีการบริหารจัดการช้นั เรยี น โดยเนน การมปี ฏสิ ัมพนั ธเ ชงิ บวก √ - 43 3.2 ผูสอนมกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียน ใหเด็กรักครู ครรู ักเด็ก และเด็ก √ - 41 รักเด็ก เดก็ รกั ทีจ่ ะเรียนรู สามารถเรยี นรรู วมกนั อยา งมีความสุข 4. ตรวจสอบและประเมินผเู รยี นอยางเปนระบบ และ นําผลมาพฒั นาผูเรียน 94.00 41 93.18 ยอดเยย่ี ม 4.1 มกี ารตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการจดั การเรียนรูอยา งเปน √- 42 ระบบ 4.2 มขี น้ั ตอนโดยใชเ คร่ืองมือและวิธีการวดั และประเมนิ ผลท่เี หมาะสม √ - 44 กบั เปาหมายในการจัดการเรียนรู 4.3 เปดโอกาสใหผูเรียนและผมู สี ว นเก่ียวของมีสว นรวมในการวดั และ √- 39 ประเมนิ ผล 4.4 ใหขอมลู ยอ นกลับแกผเู รยี นเพือ่ นําไปใชใ นการพฒั นาการเรียนรู √- 38 5. มีการแลกเปล่ียนเรียนรแู ละใหข อมูลสะทอนกลบั เพอ่ื พฒั นาปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู 90.00 41 93.18 ยอดเยี่ยม Page 52 of 60

การปฏิบตั ิงาน เปา จาํ นวนครทู ่ผี าน ผลการ ผลการ เกณฑท ีโ่ รงเรยี น ประเมิน ประเมนิ ประเด็นพจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม หมาย/ กาํ หนด (คน) (รอ ยละ) คุณภาพท่ี ปฏิบัติ รอยละ ได 5.1 และผูมีสว นเกย่ี วขอ งรว มกันแลกเปล่ียนความรแู ละประสบการณใน √ - 38 การจดั การเรียนรู 5.2 นําขอมูลปอนกลบั ไปใชในการปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู √ - 44 ของตนเอง สรุปผลการประเมิน 89.55 ดเี ลิศ   จดุ เนน และกระบวนการพัฒนาทสี่ งผลตอ ระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นนผูเ รยี นเปน สาํ คัญ กระบวนการพฒั นาทสี่ ง ผลตอระดับคณุ ภาพของมาตรฐานที่ ๓ โรงเรยี นสขุ เจรญิ ผลแพรกษามกี ระบวนการดําเนินงาน ในการพฒั นามาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นนผเู รียนเปน สาํ คัญ  ครูมกี ารศึกษาหลักสูตรใน รายวิชาท่ีครสู อน ดงั น้ี ๑) นําเนื้อหาหลกั สตู รมากําหนดหนวยการเรียนรู เปน รายภาคเรียน ๒) วเิ คราะหความสมั พนั ธร ะหวางหนวยการเรียนรูทีก่ าํ หนดกบั คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน และมาตรฐานการศกึ ษาในมาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเรยี น  ๓) จัดทาํ กาํ หนดการสอนตามโครงสรางเวลาเรียนตามท่กี าํ หนด ๔) จดั ทําแผนการจัดการเรยี นรู  ๕) จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนผานเรยี นรูดวยกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริง  บันทึกหลงั สอน มกี ารจัดเรยี นในเชิงบวก  และจัดการสอน ซอมเสริม ๖) มีการวัดและประเมินผลอยา งเปน ระบบ นําผลมาพัฒนาดว ยการสอนซอ มเสรมิ ทําวิจัยในชนั้ เรียน ๖.๑ วัดและประเมินผลสาระการเรียนรูต ามหนว ยการ เรียนรู ๖.๒ วัดและประเมนิ ผลคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ๖.๓ วดั และประเมนิ ผลสมรรถนะสําคัญของผเู รยี น ๖.๔ วัดและประเมินผลการอานคิดวิเคราะหเ ขียน ๖.๕ วัด และประเมินผลการเรียนรูดว ยการทดสอบกลางภาคเรียนและการทดสอบปลายภาคเรยี น ๗) นําผลการประเมินทกุ รายการประเมนิ มาวเิ คราะห หาจุดแขง็ จุดควรพฒั นา แจงใหผูเรียนทราบขอ มูลผลการเรยี นของตนเองในลกั ษณะดูแลนักเรยี นเปนอยางดี และมกี ารแลกเปลยี นเรยี นรใู หข อมลู สะทอนกลับกบั เพือ่ นครู นําไปพัฒนาปรบั ปรุงโดย การสรางชมุ ชนแหง การเรยี นรูภายในกลมุ สาระการเรียนรู(P L C) และกําหนดแนวทางในการพฒั นาปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔ตอ ไป ซ่ึงมคี วามสมั พันธก บั มาตรฐานท่ี ๑ มผี ลการ ประเมินรายประเด็น ดังน้ี               ๓.๑ จดั การเรียนรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง และสามารถนําไปประยกุ ตใชใ นชีวิตได          ครูมีการวเิ คราะหห ลักสูตรสถานศึกษา เรม่ิ ตนดวยจัดทาํ กาํ หนดหนวยการเรียนรู กาํ หนดการสอน การวิเคราะหค วามสัมพันธของหนว ยการเรยี นรูก ับคณุ ลกั ษณะที่ พงึ ประสงค สมรรถนะสาํ คญั ของผูเ รียน มาตรฐานศกึ ษาของสถานศึกษา เพ่อื ครจู ะจัดกจิ กรรมการเรยี นรใู หผูเรียนมีคณุ ภาพตามศกั ยภาพของผเู รยี นและเกณฑท่สี ถาน ศึกษากําหนด ครจู ัดทําแผนการจัดการเรยี นรใู หเ ปนตามกาํ หนดการสอน โครงสรา งเวลาเรยี นของหลกั สูตรสถานศึกษา และจดั การเรียนรใู หผเู รยี นไดเรยี นคิดและปฏบิ ัติ จริง จากโครงงาน STEM EDUCATION ช้นิ งาน(แผนผงั ความคดิ ) เรียนรตู ามหองปฏบิ ตั ิการตา ง ๆ และในปการศกึ ษา ๒๕๖๓ ผูเรยี นไดร บั รางวัล          เหรยี ญทอง โครง งานส่งิ ประดษิ ฐ (เครอื่ งกดเจลแอลกอฮอล) ในงานแขง ขนั ทกั ษะทางวชิ าการและส่ิงประดษิ ฐ โรงเรยี นเอกชน ทั้งระดบั สํานกั งานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการและระดบั ประเทศ ซง่ึ โครงงานท่มี าจากปญ หาในสถานการณก ารแพรร ะบาดโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(โควดิ – ๑๙)  ผลการประเมินมคี าเฉล่ียรอ ยละ ๘๗.๓๙       ๓.๒ ใชส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง เรียนรูทเี่ อือ้ ตอ การเรยี นรู            ครูมีการสรางส่ือและใชส อื่ ประกอบการเรียนการสอน  มีการบันทึกการยืมและการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศจากหองวชิ าการ มกี ารนาํ คอมพิวเตอร( โนตบุค) สวน ตวั มาใชป ระกอบการจัดการเรยี นการสอน และยงั มกี ารจดั ทาํ บทเรียนเปน คลปิ การสอนเพอื่ นําไปใชในการจดั การเรยี นการสอนแบบ On line ในชว งเดอื นกรกฎาคม ๖๓ มกราคม ๖๔ ซ่ึงเปนการแพรระบาดโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙(โควิด – ๑๙) ครงั้ แรกและระลอกใหม ครูยงั สง เสริมใหผ ูเรยี นไดม กี ารคนควา หาความรจู ากสือ่ เทคโนโลย(ี โทรศัพท) หอ งสมุดดจิ ิตลั  และมีการนาํ ผูเรียนไปศึกษาแหลงเรียนรูใ นจงั หวดั สมุทรปราการ ตามโครงการศึกษาแหลงเรยี นรใู นทองถ่ิน “สมทุ รปราการบานฉัน” ศนู ยศึกษาธรรมชาติกองทพั บก บางปู พิพธิ ภัณฑทหารเรือ สมทุ รปราการ อทุ ยานประวัตศิ าสตร ทหารเรอื ปอมยุทธนาวี พระสมทุ รเจดยี  ไดร บั ความรจู ากวทิ ยากรในทอ ง ถน่ิ สงผลใหผ ูเ รียนมีความรู ความเขาใจแหลง เรียนรูในทองถิ่นมากขึน้ และมีความรกั ในจังหวัดสมทุ รปราการซึ่งเปน ถ่นิ ท่ผี เู รียนอาศยั อยู ผลการประเมินมีคา เฉล่ยี รอ ยละ ๗๘.๕๗         ๓.๓ มกี ารบริหารจดั ชั้นเรยี นเชงิ บวก               ครูใชการสรางวนิ ยั ในเชิงบวก การพูดคยุ กับผูเ รียนในระดบั สายตา การใหคําชมเชย ผเู รียนมีทางเลอื กในเชิงบวก การดูแลผูเรียนในการเขาสอนทุกครงั้ โดยการ เนนการมปี ฏสิ ัมพนั ธด รี ะหวางครูกบั ผเู รยี น ผา นกระบวนการสรา งขอ ตกลงรว มกนั ระหวา งครกู ับผูเรยี น จะปฏบิ ัติตอ กันอยางไร เปนไปตามหลักประชาธิปไตย เปน ความ พงึ พอใจทัง้ สองฝาย ผเู รียนก็รักครู ครกู ร็ ักผูเรยี น เปนสงั คมการเรยี นรูท ่มี คี วามสขุ ครมู ีการเอาใจใสผเู รียนในทุกดา นอยา งตอ เนื่องและจริงใจ ผลการประเมินมค าเฉลยี่ รอย ละ ๙๕.๒๖         ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู รียนอยา งเปน ระบบ และนําผลมาพัฒนาผูเรยี น Page 53 of 60

              ครมู ีการตรวจงาน  การบา น   แบบฝก หดั   และช้นิ งาน  โครงงานของนักเรียน  อยา งเปน ระบบ โดยการประเมนิ ตามจุดประสงคการเรียนรู การประเมนิ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค สมรรถนะสําคัญของผเู รียน การประเมนิ อาน คดิ วเิ คราะหและเขยี น จากการจดั กิจกรรมการเรียนรู  มกี ารจดั ทําเคร่อื งมือในการประเมินผลงาน   มเี กณฑใ นการตรวจสอบ  และนาํ ผลการตรวจงาน  ชิ้นงาน  ไปพฒั นานักเรียน ทง้ั ในรปู แบบการวจิ ัยในช้ันเรยี น การสอนซอ มเสริม  ผลการประเมินมีคา เฉล่ยี รอ ยละ ๙๓.๓๐          ๓.๕ มีการแลกเปลย่ี นเรียนรแู ละใหข อ มลู ปอ นกลบั เพอื่ ปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นรู               ครใู นแตละสายชน้ั เรียน และกลุม สาระการเรียนรมู ีการประชมุ แลกเปล่ยี นเรียนรอู ยเู ปนประจาํ มีการสรา งชมุ ชนแหง การเรยี นร(ู Professional Learning Community) ใน ๗ กลุมสาระการเรยี นรู คอื ภาษาไทย คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ภาษาอังกฤษ ศิลปะ การงานอาชีพ โดยการเขา รวมประชุม หาแนวทางในการพฒั นาการเรยี นการสอนในกลมุ สาระน้ัน ๆ นําไปสูก ารปรับปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพของผูเ รยี น เปนการแลกเปลยี่ นเรียนรูรว มกนั อีกแนวทาง หนึง่ มีผลการประเมนิ มีคา เฉลีย่ รอยละ ๙๒.๒๓ จากการดําเนินงานและมีกระบวนการพฒั นาทีเ่ ปน ระบบ ดังท่กี ลาวมาแลวขางตน สง ผลใหก ารประเมินมาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี น การสอนทเ่ี นนผเู รียนเปน สาํ คญั มคี ุณภาพระดับ ดเี ลศิ             Page 54 of 60

2. สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั คุณภาพ ระดบั ปฐมวยั ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 1. มพี ัฒนาดานรางกาย แข็งแรง มสี ขุ นิสัยท่ดี ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนองได ยอดเยย่ี ม 2. มพี ัฒนาการดานอารมณ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ ด ยอดเยย่ี ม 3. มีพฒั นาการดานสงั คม ชวยเหลอื ตนเองและเปนสมาชกิ ทดี่ ีของสงั คม ยอดเยย่ี ม 4. มพี ัฒนาการดานสตปิ ญ ญา สอ่ื สารได มีทกั ษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความรไู ด ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยย่ี ม 1. มีหลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการทง้ั ส่ีดา น สอดคลอ งกับบริบทของทอ งถิ่น ยอดเยี่ยม 2. จดั ครูใหเ พยี งพอกับชนั้ เรยี น ยอดเยีย่ ม 3. สงเสริมใหค รูมีความเชย่ี วชาญดานการจัดประสบการณ ดเี ลศิ 4. จดั สภาพแวดลอ มและสอ่ื เพ่อื การเรยี นรูอ ยางปลอดภัยและเพยี งพอ ดีเลิศ 5. ใหบรกิ ารส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่อื การเรียนรเู พอื่ สนบั สนุน การจดั ประสบการณ ดเี ลิศ 6. มรี ะบบบริหารคุณภาพที่เปดโอกาสใหผูเกย่ี วของทุกฝา ยมีสวนรว ม ดีเลศิ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณทีเ่ นน เดก็ เปนสาํ คญั ดีเลศิ 1. จดั ประสบการณท ส่ี งเสรมิ ใหเ ด็กมีพัฒนาการทกุ ดาน อยางสมดุลเตม็ ศักยภาพ ยอดเยย่ี ม 2. สรางโอกาสใหเ ด็กไดรับประสบการณต รง เลนและปฏบิ ตั อิ ยางมีความสุข 3. จดั บรรยากาศทเ่ี อ้อื ตอ การเรียนรู ใชส ่ือและเทคโนโลยี ทเ่ี หมาะสมกับวัย 4. ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนาํ ผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณและพัฒนาเด็ก สรุปผลการประเมินระดบั ปฐมวยั Page 55 of 60

ระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รียน ดเี ลศิ ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู รยี น ดีเลิศ ดเี ลิศ 1. มีความสามารถในการอา น การเขยี น การสือ่ สาร และ การคิดคํานวณ ดเี ลศิ 2. มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห คิดอยางมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเห็นและแกป ญหา กําลงั พฒั นา 3. มคี วามสามารถในการสรางนวัตกรรม ยอดเยย่ี ม 4. มีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สาร 5. มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม 6. มคี วามรูท กั ษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ตี องานอาชพี ยอดเยี่ยม คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข องผูเรียน ยอดเยี่ยม 7. การมีคณุ ลักษณะและคา นิยมที่ดีตามทีส่ ถานศึกษากําหนด ยอดเยี่ยม 8. ความภมู ใิ จในทองถิ่นและความเปน ไทย ยอดเยี่ยม 9. การยอมรบั ที่จะอยรู วมกันบนความแตกตางและหลากหลาย ยอดเยี่ยม 10. สุขภาวะทางรา งกายและจติ สังคม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเยี่ยม 1. มเี ปา หมายวิสัยทศั นและพนั ธกจิ ท่ีสถานศกึ ษากาํ หนดชัดเจน ยอดเยี่ยม 2. มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยย่ี ม 3. ดาํ เนินงานพัฒนาวชิ าการทเี่ นน คุณภาพผูเรียนรอบดา นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทุกกลมุ เปา หมาย ยอดเยย่ี ม 4. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี 5. จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอ้อื ตอ การจัดการเรียนรู อยา งมคี ณุ ภาพ ดีเลศิ 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและ การจดั การเรยี นรู ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นนผูเรยี นเปนสําคญั ดเี ลิศ 1. จัดการเรยี นรูผ านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนําไปประยกุ ตใ ชในชีวิตได ยอดเยย่ี ม 2. ใชส ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรยี นรูที่เอ้ือ ตอการเรยี นรู ยอดเยี่ยม 3. มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนเชิงบวก ยอดเยี่ยม 4. ตรวจสอบและประเมนิ ผูเรยี นอยา งเปน ระบบ และ นําผลมาพัฒนาผูเรียน ยอดเยย่ี ม 5. มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู ละใหข อมลู สะทอนกลับ เพอื่ พฒั นาปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู สรปุ ผลการประเมินระดบั ขนั้ พนื้ ฐาน Page 56 of 60

3. จุดเดน ระดบั ปฐมวยั คณุ ภาพของเด็ก ๑.เด็กมพี ฒั นาการดา นอารมณ – จิตใจ ๒.เด็กรูจกั การแบง ปน และรอคอย ๓.เด็กมีทักษะในการสอื่ สารไดตามวัย กระบวนการบริหารและการจัดการ ๑.ผูบรหิ ารมีวสิ ัยทัศนใ นการบริหารจัดการการศกึ ษา ๒.ผบู ริหารสง เสรมิ และสนบั สนนุ บุคลากรในการพฒั นาตนเองอยา งตอ เนื่อง ๓.ผบู ริหารมีคณุ ธรรมและจริยธรรม มี ภาวะผูนาํ การจัดประสบการณที่เนน เด็กเปนสาํ คัญ ๑.ครมู ีความรคู วามสามารถในการจดั การเรยี นการสอน ๒.ครูมสี ือ่ การเรียนรูท ี่สอดคลองกบั การจดั ประสบการณ ระดับข้ันพ้นื ฐาน คณุ ภาพของผูเรียน ๑.การปฏบิ ตั ติ นในการเคารพรกั ในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย ๒.ความสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สาร ๓.ผลการประเมนิ คณุ ภาพการ ศึกษาขั้นพ้ืนฐาน O-NET ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ สงู กวา ระดบั สงั กัดสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนและระดบั ประเทศทุกรายวิชา ๔.ผลการสอบวดั ความสามารถ พ้ืนฐานของผูเรยี นระดบั ชาติ(National Test) NT ป.๓ สงู กวา ระดบั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนและสูงกวา ระดับประเทศ ทง้ั ๒ ดาน ๕.ผลการประเมนิ ความ สามารถดานการอานของผเู รียน ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๑ สงู กวาระดบั สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชนและสงู กวา ระดับประเทศ ทง้ั ๒ สมรรถนะ ๖.ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระวทิ ยาศาสตร สูงกวา เปา หมายทโ่ี รงเรยี นกาํ หนด กระบวนการบริหารและการจัดการ ๑.มเี ปาหมายวสิ ยั ทศั นแ ละพันธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากาํ หนดชดั เจน ๒.มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา ๓.จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมท่เี ออื้ ตอ การ จัดการเรียนรูอ ยา งมคี ุณภาพ ๔.จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นนผูเ รยี นเปนสาํ คญั ๑.ครมู คี วามมงุ ม่นั ตั้งใจในการจัดการเรียนการสอน ๒.ครมู กี ารใชเทคโนโลยีสารสนเทศมาประกอบการเรียนการสอนมากขนึ้ 4. จุดควรพัฒนา ระดบั ปฐมวัย คณุ ภาพของเดก็ ๑.ปลกู ฝงใหเด็กมรี ะเบยี บวนิ ยั ๒.การยืนตรงเม่ือไดยนิ เสียงเพลงชาติ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๑.แหลง เรียนรนู อกหอ งเรียน การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปน สําคญั ๑.ครูบางสวนยังขาดพัฒนาการดา นเทคโนโลยี ระดบั ขัน้ พื้นฐาน คณุ ภาพของผเู รยี น ๑.ความสามารถในการสรา งนวัตกรรม ๒.ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน O-NET ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ ตํา่ กวา เปา หมายที่โรงเรียนกาํ หนด ๓.ผลการสอบวดั ความสามารถพื้นฐานของผูเ รียนระดบั ชาติ(National Test) NT ป.๓ ต่ํากวาเปาหมายทีโ่ รงเรยี นกาํ หนด ทัง้ ๒ ดา น ๔.ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น จาํ นวน ๔ กลมุ สาระการ เรียนรู ตา่ํ กวา เปาหมายท่โี รงเรยี นกาํ หนด คอื ภาษาไทย คณิตศาสตร สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาองั กฤษ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๑.การนิเทศภายในไมตอเน่ือง อยา งเปน รปู ธรรม เชงิ ประจักษ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนนผเู รยี นเปนสาํ คัญ ๑.การออกแบบการจดั การเรียนการสอน ๒.การผลิต จดั หาสือ่ นวตั กรรม เทคโนโลยีมาใชประกอบการเรียนการสอนอยางเปน ขนั้ ตอน ๓.การใชเทคนิคเสรมิ การเรียนรูใหผู เรยี นเกิดพฤตกิ รรมการเรยี นรูท่ยี ัง่ ยนื 5. แนวทางการพัฒนา Page 57 of 60

  แนวทางการพัฒนา          ๑. พฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในใหม คี วามเขม แขง็ ตอเนอ่ื ง เชงิ ประจกั ษ          ๒. พัฒนาครูสูชมุ ชนการเรยี นรูทางวชิ าชพี ทเ่ี นน ผเู รยี นเปนสําคญั          ๓. สงเสรมิ การยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียนดว ยการนเิ ทศภายในแบบPIDRE+เทคนคิ การชี้แนะ(Coaching)          ๔. พัฒนาทักษะกระบวนการคิดแกผ ูเ รียนดวย Coding        6. ความตอ งการชวยเหลือ           ๑ จดั การอบรมใหค รูมีความรู ความเขา ใจและสามารถปฏบิ ัติงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร          ๒ จดั สรรเงนิ งบประมาณสนับสนุนใหครูเขารบั การพัฒนาทางวิชาชีพอยางตอเนอื่ ง          ๓ สงเสริมใหม ีครูเอกชนมีความกา วหนา ทางวิชาชพี 7. ความโดดเดน ของสถานศึกษา(ถา มี) Page 58 of 60

รายงานรวบรวมโดย (Prepared by) เพ็ญศรี สุขเจรญิ ผล   ผูอาํ นวยการ nuengruethai promnophat   เจา หนา ที่ Page 59 of 60

ภาคผนวก Page 60 of 60

ประกาศโรงเรยี น เรือ่ ง การกําหนดมาตรฐานการศกึ ษาและคาเปา หมายความสําเร็จของ โรงเรยี นระดับปฐมวยั และระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน (การกาํ หนดมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายความสําเร็จของโรงเรียนระดับปฐมวัย และระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน)























รายงานการประชมุ หรอื การใหความเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น (รายงานการประชุมหรอื การใหความเหน็ ชอบ SAR)











คาํ ส่ังแตงตงั้ คณะทํางานจดั ทาํ SAR (คาํ สั่งแตง ตั้งคณะทํางานจดั ทํา SAR)



หลกั ฐานการเผยแพร SAR ใหผมู ีสว นเก่ยี วของหรือสาธารณชนรับทราบ (หลักฐานการเผยแพร SAR ประถมวัย)



หลกั ฐานการเผยแพร SAR ใหผ ูมีสวนเก่ียวของหรอื สาธารณชนรบั ทราบ (หลกั ฐานการเผย แพร SAR ประถมศกึ ษา)





แผนผังอาคารสถานท่ี (แผนผังโรงเรยี น)

แผนผังโรงเรียน อาคารเรยี น ๑ ๑๐ ๙ ๑ ๕ โรง ๗ อาคาร เรยี น ๑ อา ๑๑ หาร สวนหย่อม ๖ ๔ ๓ ๒ ลานเวทีคนเกง่ ๘ อาคารเรยี น ๒ ๑ อาคารเรยี น ๑ ๗ ปอ้ มยาม เสาธงชาติ ประตทู างเขา้ เล็ก ๒ อาคารเรียน ๒ ๘ สระวา่ ยน้ำ/สโมสร นำ้ พุ ๓ หอประชุม/เนอสเซอรี ๙ โรงรถ ๔ อาคารบริหาร/ธรุ การ ๑๐ โรงเกบ็ ขยะ ๕ โรงอาหาร ๑๑ ศาลพระภมู ิ ๗ บา้ นพกั คนงาน

โครงสรางการบรหิ ารงานโรงเรียน (โครงสรา งการบรหิ ารของโรงเรียนสุขเจริญผลแพรกษา)

โครงสรา้ งการบรหิ ารของโร ผ้รู ับใบอ ผ้จู ดั การ ฝ่ายงบประมาณ ฝา่ ยบรหิ ารงานท่ัวไป  งานสารบรรณ งานอาคารสถานที่ งานสัมพนั ธช์ ุมชน งานกิจการน ทะเบยี น  งานพฒั นา  งาน  งานกจิ ก  งานการเงิน อาคารสถานท่ี ประชาสมั พนั ธ์ นกั เรยี น การบญั ชี  งานดแู ลรักษา  งานสัมพันธ์กบั  งานอนา  งานพัสดุ - ความสะอาด ชุมชน โรงเรยี น ครภุ ณั ฑ์  งานควบคมุ  งานบรกิ าร  งานปกค การใชอ้ าคาร

รงเรยี นสขุ เจรญิ ผลแพรกษา อนญุ าต คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ผอู้ ำนวยการ ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายวชิ าการ นกั เรียน  งานพฒั นา ระดับปฐมวัย ระดบั ประถมศกึ ษา บคุ ลากร กรรม งานจดั กิจกรรม  งานการเรียนการ น  งานสร้างขวญั เสรมิ สอน ามยั และกำลงั ใจ ประสบการณ์ น  งานสนบั สนนุ การ ครอง  งานสวัสดิการ งานประเมิน เรยี นการสอน บคุ ลากร พฒั นาการ  งานวัดผลและ งานสนบั สนุนการ ประเมินผล จัดกิจกรรมเสรมิ  ขอ้ มลู สารสนเทศ

โครงสรา งหลักสตู ร เวลาเรียน ของโรงเรียน (โครงสรางหลกั สตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั )

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัย โครงสร้างหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๑(สำหรับเดก็ อายุ ๓-๖ ปี) ช่วงอายุ อายุ ๓-๖ ปี สาระการเรยี นรู้ ประสบการณส์ ำคญั สาระที่ควรเรียนรู้ -ด้านร่างกาย -เร่อื งราวเกย่ี วกับตัวเดก็ -ดา้ นอารมณ์-จติ ใจ -เร่อื งราวเกีย่ วกบั บุคคลและ -ดา้ นสงั คม สถานที่ -ด้านสตปิ ญั ญา -เรอ่ื งราวเกี่ยวกับธรรมชาติ รอบตวั -เรอื่ งราวเกี่ยวกับสง่ิ ตา่ งๆรอบตวั เวลาเรียน ข้นึ อยกู่ บั อายุเด็กท่ีดูแลและความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของเด็ก

โครงสรา งหลักสตู ร เวลาเรยี น ของโรงเรยี น (โครงสรางหลกั สตู รสถานศกึ ษาประถมศกึ ษา)

โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา โครงสรา้ งเวลาเรยี น หลกั สูตรโรงเรียนสขุ เจริญผลแพรกษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับ ปรับปรงุ ) พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดโครงสรา้ งเวลาเรียน ดงั นี้ เวลาเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม ระดบั ประถมศกึ ษา หมายเหตุ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ • กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม (๔๐) (๔๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) - เศรษฐศาสตร์ - ภูมิศาสตร์ (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) - ประวัติศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาต่างประเทศ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ รวมเวลาเรยี น(พน้ื ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐  รายวิชาเพ่มิ เตมิ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - ภาษาจีน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - กิจกรรมแนะแนว (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) -- กิจกรรมนกั เรียน - ลูกเสือ เนตรนารี (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) - ชมุ นุม (๓๐) (๓๐) (๓๐) (๓๐) (๓๐) (๓๐) - กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและ (๑๐) (๑๐ (๑๐ (๑๐ (๑๐ (๑๐) สาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นท้ังหมด ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ หมายเหตุ เวลาเรยี นไมน่ ้อยกวา่ ๑,๐๐๐ ชั่วโมง/ปี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook